fbpx
วิกิพีเดีย

ชาวพม่า

พม่า (พม่า: ဗမာလူမျိုး, เอ็มแอลซีทีเอส: ba. ma lu myui:; สัทอักษรสากล: [bəmà lùmjó] บะหม่า หลุ มฺโย้, คำเมือง: ม่าน) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ส่วนใหญ่ในประเทศพม่า ชาวพม่าส่วนใหญ่อาศัยอยู่แถบลุ่มแม่น้ำอิรวดี ชาวพม่าส่วนใหญ่ใช้ภาษาพม่าเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน

ชาวพม่า
ဗမာလူမျိုး
สตรีชาวพม่าในชุดแบบดั้งเดิม
ประชากรทั้งหมด
ประมาณ 32 ล้านคน
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
 พม่า      30,110,000
 ไทย~890,000
 ออสเตรเลีย107,112
 สิงคโปร์72,368
 สหรัฐ96,420
 ญี่ปุ่น15,800
 เกาหลีใต้22,000
 มาเลเซีย66,500
 สหราชอาณาจักร9,800
 เยอรมนี7,300
 ฮ่องกง5,400
 กัมพูชา4,700
ภาษา
พม่า
ศาสนา
พุทธเถรวาท
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
ยะไข่, Marma, Chakma, Yi, น่าซี, ทิเบต, Meitei และชาติพันธ์ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต

ถิ่นกำเนิด

การศึกษาทางพันธุกรรมแสดงให้เห็นว่าชาวพม่ามีพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับชาวเอเชียตะวันออกและอินเดีย พูดภาษาในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต เวลาหลายสหัสวรรษต่อมาชาวพม่าได้แผ่ขยายครอบคลุมเขตพม่าตอนกลางและพม่าตอนล่างทั้งหมด พวกเขาได้เข้ามาแทนที่และดูดกลืนกลุ่มชนชาติมอญและชาวปยูซึ่งอาศัยอยู่ก่อนหน้านี้

ภาษา

ภาษาพม่า เป็นภาษาหลักของประเทศพม่า เป็นภาษาทางการใช้กันในหมู่ชาวพม่า และได้ใช้เป็นภาษากลางในการติดต่อระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆด้วย คำศัพท์หลักในภาษาพม่าประกอบด้วย คำศัพท์ที่มีรากศัพท์มาจากภาษาตระกูลภาษาจีน-ทิเบต แต่คำศัพท์หลายคำที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาและศิลปะนั้นได้มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต ส่วนคำศัทพ์ที่มีรากศัพท์มาจากภาษาอังกฤษจะเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยการใช้คำทับศัพท์

การแผ่กระจาย

ชาวพม่าส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศพม่า ชาวพม่าบางส่วนแผ่กระจายไปตั้งถิ่นฐานในทวีปยุโรปโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสหราชอาณาจักร ชาวพม่าพลัดถิ่นเป็นปรากฏการณ์มากสุดในประวัติศาสตร์คือช่วงเริ่มต้นสงครามโลกครั้งที่สองที่ส่วนใหญ่มีความขัดแย้งจากการปกครองทางทหารและความหลากหลายของชาติพันธุ์ในพม่า

ช่วงต้นพม่าของสหราชอาณาจักรจนได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1948 ชาวพม่าเริ่มย้ายไปอยู่ที่สหราชอาณาจักร, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, ทวีปอเมริกาเหนือ, มาเลเซีย, สิงค์โปร์, ฮ่องกง,ไต้หวัน, เกาหลี, ญี่ปุ่นและไทย[ต้องการอ้างอิง]

สังคมและวัฒนธรรม

 
ผู้หญิงชาวพม่าในช่วงปี ค.ศ. 1920

วัฒนธรรมของพม่าได้รับอิทธิพลจากประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะ ด้านภาษา อาหาร ดนตรี การเต้นรำ และศิลปะการแสดง ในด้านศิลปะและวรรณกรรมได้รับอิทธิพลจากศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ในชีวิตประจำวัน วัดเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวพม่า โดยมีพระสงฆ์เป็นที่สักการะบูชาและได้รับการสนับสนุนจากฆราวาส ชาวพม่าให้ความสำคัญกับพิธีกรรมทางศาสนามาก เช่นพิธี ชินบยู (ရှင်ပြု)

การแต่งกาย

ดูบทความหลักที่: การแต่งกายของพม่า

ชาวพม่าจะนิยมนุ่งโสร่ง ชายชาวพม่าจะนุ่งโสร่งที่เรียกกันว่า โลนจี (လုံချည်) ส่วนผู้หญิงจะนิยมนุ่งโสร่งแบบ ทะบี (ထဘီ) และทาแป้งทานาคา (သနပ်ခါး) ทั้งชายและหญิงจะใส่รองเท้าแตะแบบพม่า ญะพะนะ (ကတ္တီပါဖိနပ်‌)

ในโอกาสที่เป็นทางการหรืองานพิธีการ ชายชาวพม่าจะใส่เสื้อคอจีนสีขาว ที่เรียกว่า ไตปอน (တိုက်ပုံ) นุ่งโสร่งแบบโลนจีสีโทนเข้มและใช้ผ้าโพกหัว ที่เรียกว่า กองบอง (ခေါင်းပေါင်း) ส่วนหญิงชาวพม่าจะใส่ผ้าซิ่นและนุ่งโสร่งแบบทะบี

อาหาร

ดูบทความหลักที่: อาหารพม่า

อาหารพม่ามีหลากหลายแตกต่างกันไปตามภูมิภาค ซึ่งส่วนใหญ่อาหารพม่าได้รับอิทธิพลจากอาหารจีนและอาหารอินเดีย การปรุงอาหารของพม่านั้นจะใช้การผัดแบบจีน การแกงแบบอินเดีย ซึ่งใช้ความร้อนแต่อาจจะปรุงเผ็ดเล็กน้อย ส่วนใหญ่มักจะใช้กะปิในการปรุง รวมทั้ง หัวหอม กระเทียม ขิง พริกแห้งและขมิ้น ส่วนข้าว (ထမင်း ทมีน) เป็นวัตถุดิบหลัก ชาวพม่านิยมใช้ชาในการต้มเพื่อดื่มและนำมาทำสลัดหรือกินเป็นเมี่ยง ละแพะ (လက်ဖက်သုပ်) จัดเป็นอาหารประจำชาติพม่า ส่วน ก๋วยเตี๋ยว (ခေါက်ဆွဲ ฮกุ๊ก ซเว) ได้รับอิทธิพลจากประเทศจีน โมนฮีนกา (မုန့်ဟင်းခါး) เป็นอีกหนึ่งอาหารประจำชาติของพม่า ส่วนโรตี จปาตี ก็ได้รับความนิยมในพม่าด้วย ซึ่งได้รับอิทธิพลจากอินเดีย

ดนตรี

ดนตรีของพม่าแบบดั้งเดิมส่วนใหญ่ประกอบด้วยเครื่องตีและเครื่องเป่าลมเป็นหลัก แต่ ซองเกาะ (စောင်းကောက်) เป็นพิณลักษณะรูปร่างคล้ายเรือ เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของชาวพม่า เครื่องดนตรีแบบอื่น ๆ ได้แก่ ปัตตะลา (ระนาดพม่า) วาลัตก๊อก แล๊กวิน และ ปัตเหวี่ยง เพลงพม่าสมัยใหม่มักได้รับอิทธิพลแบบตะวันตก โดยเฉพาะอย่างยิ่งดนตรีคันทรีจากสหรัฐ อย่างไรก็ตามแร็พและฮิปฮอปก็ยังได้รับความนิยม

เทศกาล

ดูบทความหลักที่: ตะจาน

เทศกาลทางศาสนาพุทธและวันหยุดจะมีการเฉลิมฉลองกันอย่างแพร่หลายในหมู่ชาวพม่า ตะจาน (သင်္ကြန်) หรือเทศกาลน้ำซึ่งนับเป็นจุดเริ่มต้นปีใหม่ของพม่าในเดือนเมษายน ตัวอย่างหนึ่งเช่น ตะดิงยุต ซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดของวันเข้าพรรษา จะมีการเฉลิมฉลองกับเทศกาลแห่งแสงในเดือนตุลาคม กะตีนา (ကထိန်) หรือ กฐิน พิธีถวายผ้าไตรจีวรบูชาพระสงฆ์จะจัดขึ้นเมื่อต้นเดือนกรกฎาคมและอีกครั้งในเดือนพฤศจิกายน

ศาสนาและความเชื่อ

ดูบทความหลักที่: นะ (วิญญาณ)
 
ศาลนะในพม่า

ชาวพม่าส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท ผู้คนนิยมถือศีลห้า ให้ทาน และ วิปัสสนา ส่วนเด็กชายชาวพม่าก็จะเข้าร่วมพิธีชินบยู ในขณะเดียวกันชาวพม่าก็นับถือบูชานะ ซึ่งเป็นศาสนาพื้นบ้านเคียงคู่ศาสนาพุทธไปด้วย นะที่ชาวพม่านับถือเป็นผีหรือวิญญาณที่สิงสถิตตามธรรมชาติหรือตามสถานที่ต่างๆ โดยศาสนาพื้นบ้านนี้มีลักษณะคล้ายคลึงกับศาสนาชินโตของญี่ปุ่น การบูชานะของชาวพม่านั้นจะนับถือนะทั้งหมด 37 ตน ในแต่ละบ้านของชาวพม่าจะมีศาลเทพนะเล็กๆไว้บูชาเพื่อความเป็นมงคลและช่วยคุ้มครองจากสิ่งชั่วร้าย

การตั้งชื่อ

ในอดีต ชาวพม่ามักนิยมใช้ชื่อสั้นๆ มักจำกัดเพียงหนึ่งหรือสองพยางค์เท่านั้น อย่างไรก็ตามการตั้งชื่อตามเทรนด์จะนิยมตั้งชื่อให้ยาว (4 หรือ 5 พยางค์ สำหรับเพศหญิงและ 3 พยางค์ สำหรับผู้ชาย) ได้รับความนิยมมากขึ้น ชื่อแบบพม่ามักใช้คำยืมมาจากภาษาบาลี ชาวพม่ามักใช้วันเกิด (ปฏิทิน 8 วันแบบดั้งเดิมซึ่งรวมถึง ยาฮู, บ่ายวันพุธ) เป็นพื้นฐานสำหรับการตั้งชื่อ แม้ว่าการปฏิบัตินี้ไม่ได้เป็นสากล ตัวอักษรชื่อมักจะมาจากกลุ่มที่อยู่ในตัวอักษรพม่า

ชาวพม่ามักจะตั้งชื่อดังตัวอย่างต่อไปนี้:

วัน เขียน
วันจันทร์ (တနင်္လာ) က (กะ), (ขะ), (ะ ค/ก), (ฆะ), (งะ)
วันอังคาร (အင်္ဂါ) (ซา), (ฮา), (ซ่า), (ซ่า), (ย่าห์)
วันพุธ (ဗုဒ္ဓဟူး) (รา), (วา)
ยาฮู (บ่ายวันพุธ) (ရာဟု) (ยา), (ยา, ลา)
วันพฤหัสบดี (ကြာသပတေး) (พา), (ฮพา), (บา), (บา), (มา)
วันศุกร์ (သောကြာ) (ต่ะห์), (ฮา)
วันเสาร์ (စနေ) (ตะ), (ฮตะ), (ดะ), (ดะ), (นะ)
วันอาทิตย์ (တနင်္ဂနွေ) (อะ)

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

  • The Silken East – A Record of Life and Travel in Burma by V. C. Scott O'Connor 1904
  • Wai, Kyi (2007-06-15). . The Irrawaddy. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2007-11-11.

ชาวพม, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออกพม, พม, ဗမ, เอ, มแอลซ, เอส, myui, ทอ, กษรสากล, bəmà, lùmjó, บะหม, หล, โย, คำเม, อง, าน, เ. bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxkphma phma ဗမ လ မ exmaexlsithiexs ba ma lu myui sthxksrsakl bema lumjo bahma hlu m oy khaemuxng man epnklumchatiphnthuswnihyinpraethsphma chawphmaswnihyxasyxyuaethblumaemnaxirwdi chawphmaswnihyichphasaphmaepnphasathiphudkninchiwitpracawnchawphmaဗမ လ မ strichawphmainchudaebbdngedimprachakrthnghmdpraman 32 lankhnphumiphakhthimiprachakrxyangminysakhy phma 30 110 000 ithy 890 000 1 xxsetreliy107 112 singkhopr72 368 shrth96 420 yipun15 800 ekahliit22 000 maelesiy66 500 shrachxanackr9 800 eyxrmni7 300 hxngkng5 400 kmphucha4 700phasaphmasasnaphuththethrwathklumchatiphnthuthiekiywkhxngyaikh Marma Chakma Yi nasi thiebt Meitei aelachatiphnthtrakulphasacin thiebtbthkhwamnimixksrphma hakimmikarsnbsnunkarernedxrthiehmaasm khunxacehnekhruxnghmaykhatham klxnghruxsylksnxunaethnxksrphma enuxha 1 thinkaenid 2 phasa 3 karaephkracay 4 sngkhmaelawthnthrrm 5 karaetngkay 5 1 xahar 5 2 dntri 5 3 ethskal 5 4 sasnaaelakhwamechux 5 5 kartngchux 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunthinkaenid aekikhkarsuksathangphnthukrrmaesdngihehnwachawphmamiphnthukrrmthiekiywkhxngkbchawexechiytawnxxkaelaxinediy 2 3 phudphasaintrakulphasacin thiebt ewlahlayshswrrstxmachawphmaidaephkhyaykhrxbkhlumekhtphmatxnklangaelaphmatxnlangthnghmd phwkekhaidekhamaaethnthiaeladudklunklumchnchatimxyaelachawpyusungxasyxyukxnhnani 4 phasa aekikhphasaphma epnphasahlkkhxngpraethsphma epnphasathangkarichkninhmuchawphma aelaidichepnphasaklanginkartidtxrahwangklumchatiphnthuxundwy khasphthhlkinphasaphmaprakxbdwy khasphththimiraksphthmacakphasatrakulphasacin thiebt aetkhasphthhlaykhathiekiywkhxngkbphuththsasnaaelasilpannidmacakphasabaliaelaphasasnskvt swnkhasthphthimiraksphthmacakphasaxngkvscaekiywkbwithyasastraelaethkhonolyi odykarichkhathbsphthkaraephkracay aekikhchawphmaswnihyxasyxyuinpraethsphma chawphmabangswnaephkracayiptngthinthaninthwipyuorpodyechphaaxyangyinginshrachxanackr chawphmaphldthinepnpraktkarnmaksudinprawtisastrkhuxchwngerimtnsngkhramolkkhrngthisxngthiswnihymikhwamkhdaeyngcakkarpkkhrxngthangthharaelakhwamhlakhlaykhxngchatiphnthuinphmachwngtnphmakhxngshrachxanackrcnidrbexkrachinpi kh s 1948 chawphmaerimyayipxyuthishrachxanackr xxsetreliy niwsiaelnd thwipxemrikaehnux maelesiy singkhopr hxngkng ithwn ekahli yipunaelaithy txngkarxangxing sngkhmaelawthnthrrm aekikh phuhyingchawphmainchwngpi kh s 1920 wthnthrrmkhxngphmaidrbxiththiphlcakpraethsephuxnban odyechphaa danphasa xahar dntri karetnra aelasilpakaraesdng indansilpaaelawrrnkrrmidrbxiththiphlcaksasnaphuththnikayethrwath inchiwitpracawn wdepnthiyudehniywcitickhxngchawphma odymiphrasngkhepnthiskkarabuchaaelaidrbkarsnbsnuncakkhrawas chawphmaihkhwamsakhykbphithikrrmthangsasnamak echnphithi chinbyu ရ င ပ karaetngkay aekikhdubthkhwamhlkthi karaetngkaykhxngphma chawphmacaniymnungosrng chaychawphmacanungosrngthieriykknwa olnci လ ခ ည swnphuhyingcaniymnungosrngaebb thabi ထဘ aelathaaepngthanakha သနပ ခ thngchayaelahyingcaisrxngethaaetaaebbphma yaphana ကတ တ ပ ဖ နပ inoxkasthiepnthangkarhruxnganphithikar chaychawphmacaisesuxkhxcinsikhaw thieriykwa itpxn တ က ပ nungosrngaebbolncisiothnekhmaelaichphaophkhw thieriykwa kxngbxng ခ င ပ င swnhyingchawphmacaisphasinaelanungosrngaebbthabi xahar aekikh dubthkhwamhlkthi xaharphma xaharphmamihlakhlayaetktangkniptamphumiphakh sungswnihyxaharphmaidrbxiththiphlcakxaharcinaelaxaharxinediy karprungxaharkhxngphmanncaichkarphdaebbcin karaekngaebbxinediy sungichkhwamrxnaetxaccaprungephdelknxy swnihymkcaichkapiinkarprung rwmthng hwhxm kraethiym khing phrikaehngaelakhmin swnkhaw ထမင thmin epnwtthudibhlk chawphmaniymichchainkartmephuxdumaelanamathasldhruxkinepnemiyng laaepha လက ဖက သ ပ cdepnxaharpracachatiphma swn kwyetiyw ခ က ဆ hkuk sew idrbxiththiphlcakpraethscin omnhinka မ န ဟင ခ epnxikhnungxaharpracachatikhxngphma swnorti cpati kidrbkhwamniyminphmadwy sungidrbxiththiphlcakxinediy dntri aekikh dntrikhxngphmaaebbdngedimswnihyprakxbdwyekhruxngtiaelaekhruxngepalmepnhlk aet sxngekaa စ င က က epnphinlksnaruprangkhlayerux epnsylksnxyanghnungkhxngchawphma ekhruxngdntriaebbxun idaek pttala ranadphma waltkxk aelkwin aela ptehwiyng ephlngphmasmyihmmkidrbxiththiphlaebbtawntk odyechphaaxyangyingdntrikhnthricakshrth xyangirktamaerphaelahiphxpkyngidrbkhwamniym ethskal aekikh dubthkhwamhlkthi tacan ethskalthangsasnaphuththaelawnhyudcamikarechlimchlxngknxyangaephrhlayinhmuchawphma tacan သင က န hruxethskalnasungnbepncuderimtnpiihmkhxngphmaineduxnemsayn twxyanghnungechn tadingyut sungepncudsinsudkhxngwnekhaphrrsa camikarechlimchlxngkbethskalaehngaesngineduxntulakhm katina ကထ န hrux kthin phithithwayphaitrciwrbuchaphrasngkhcacdkhunemuxtneduxnkrkdakhmaelaxikkhrngineduxnphvscikayn sasnaaelakhwamechux aekikh dubthkhwamhlkthi na wiyyan salnainphma chawphmaswnihynbthuxsasnaphuthth nikayethrwath phukhnniymthuxsilha ihthan aela wipssna swnedkchaychawphmakcaekharwmphithichinbyu inkhnaediywknchawphmaknbthuxbuchana sungepnsasnaphunbanekhiyngkhusasnaphuththipdwy nathichawphmanbthuxepnphihruxwiyyanthisingsthittamthrrmchatihruxtamsthanthitang odysasnaphunbannimilksnakhlaykhlungkbsasnachinotkhxngyipun karbuchanakhxngchawphmanncanbthuxnathnghmd 37 tn inaetlabankhxngchawphmacamisalethphnaelkiwbuchaephuxkhwamepnmngkhlaelachwykhumkhrxngcaksingchwray kartngchux aekikh inxdit chawphmamkniymichchuxsn mkcakdephiynghnunghruxsxngphyangkhethann xyangirktamkartngchuxtamethrndcaniymtngchuxihyaw 4 hrux 5 phyangkh sahrbephshyingaela 3 phyangkh sahrbphuchay idrbkhwamniymmakkhun chuxaebbphmamkichkhayummacakphasabali chawphmamkichwnekid ptithin 8 wnaebbdngedimsungrwmthung yahu baywnphuth epnphunthansahrbkartngchux aemwakarptibtiniimidepnsakl 5 twxksrchuxmkcamacakklumthixyuintwxksrphma 6 chawphmamkcatngchuxdngtwxyangtxipni wn ekhiynwncnthr တနင လ က ka ခ kha ဂ a kh k ဃ kha င nga wnxngkhar အင ဂ စ sa ဆ ha ဇ sa ဈ sa ည yah wnphuth ဗ ဒ ဓဟ လ ra ဝ wa yahu baywnphuth ရ ဟ ယ ya ရ ya la wnphvhsbdi က သပတ ပ pha ဖ hpha ဗ ba ဘ ba မ ma wnsukr သ က သ tah ဟ ha wnesar စန တ ta ထ hta ဒ da ဓ da န na wnxathity တနင ဂန အ xa xangxing aekikh CIA World Factbook Thiland 1 3 of the estimated 68 41 million people in July 2017 https www researchgate net publication 259954928 Large scale mitochondrial DNA analysis in Southeast Asia reveals evolutionary effects of cultural isolation in the multi ethnic population of Myanmar http journals plos org plosone article id 10 1371 journal pone 0076748 Myint U 2006 pp 51 52 Scott 1882 p 4 Scott 1882 p 4 6 aehlngkhxmulxun aekikhThe Silken East A Record of Life and Travel in Burma by V C Scott O Connor 1904 Wai Kyi 2007 06 15 Burmese Women s Hair in Big Demand The Irrawaddy khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2007 11 11 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title chawphma amp oldid 7745350, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม