fbpx
วิกิพีเดีย

พระเจ้าเซโจ

พระเจ้าเซโจ (เกาหลี: 세조 世祖) (ค.ศ. 1417 ถึง ค.ศ. 1468) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์โชซ็อน (ค.ศ. 1455 ถึง ค.ศ. 1468) ถือเป็นกษัตริย์ที่ถูกประณามมากที่สุดพระองค์หนึ่งเพราะแย่งราชบัลลังก์มาอย่างไม่เป็นธรรมจากพระเจ้าทันจง พระนัดดาที่ยังทรงพระเยาว์

พระเจ้าเซโจ
กษัตริย์แห่งโชซ็อน
ครองราชย์18 กันยายน พ.ศ. 1998 - 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2011 (12 ปี 303 วัน)
ก่อนหน้าพระเจ้าดันจง
ถัดไปพระเจ้าเยจง
มเหสีพระนางจองฮี
พระราชบุตรพระเจ้าเยจง
ราชวงศ์โชซ็อน
พระราชบิดาพระเจ้าเซจง
พระราชมารดาพระนางโซฮ็อน
พระราชสมภพ6 พฤษภาคม พ.ศ. 1960
ลี ยู
สวรรคต18 พฤษภาคม พ.ศ. 2011 (51 ปี 12 วัน)
พระเจ้าเซโจ
ฮันกึล세조
ฮันจา世祖
RRSejo
MRSejo
ชื่อเกิด
ฮันกึล이유
ฮันจา李瑈
RRI Yu
MRI Yu

หนทางสู่ราชบัลลังก์

พระเจ้าเซโจพระราชสมภพเมื่อ ค.ศ. 1417 เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองของ พระเจ้าเซจงมหาราช (세종대왕, 世宗大王) และ พระนางโซฮ็อน (소헌왕후, 昭憲王后) ได้รับพระนามว่า เจ้าชายซูยาง (수양대군, 首陽大君) เมื่อค.ศ. 1428 เจ้าชายซูยางมีพระเชษฐาเป็นรัชทายาท ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้ามุนจง (문종, 文宗) ต่อจากพระเจ้าเซจงใน ค.ศ. 1450 แต่อยู่ในราชสมบัติได้เพียงสองปีก็สวรรคตเมื่อค.ศ. 1452 รัชทายาทพระโอรสของพระเจ้ามุนจงขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา ก่อนที่พระเจ้ามุนจงจะสวรรคต ได้จัดตั้งคณะผู้สำเร็จราชการแทนสำหรับกษัตริย์พระองค์ใหม่ที่ยังทรงพระเยาว์ ประกอบด้วย ฮวางโบอิน (황보인, 皇甫仁) อัครเสนาบดี และ คิมจงซอ (김종서, 金宗瑞) เป็นผู้นำคณะผู้สำเร็จราชการซึ่งประกอบไปด้วยขุนนางจากชี-พย็อนจ็อน (집현전, 集賢殿) สำนักปราชญ์ที่พระเจ้าเซจงมหาราชทรงตั้งขึ้น

เมื่อกษัตริย์พระองค์ใหม่ขึ้นครองราชย์แล้ว ปรากฏว่าทรงเป็นเพียงแค่กษัตริย์หุ่นเชิด อำนาจทั้งหมดตกอยู่แก่ฮวางโบอินและคิมจงซอ ทำให้เจ้าชายที่อาวุโสที่สุดสองพระองค์คือเจ้าชายซูยาง และเจ้าชายอันพย็อง (안평대군, 安平大君) ต้องหาทางฟืนฟูอำนาจให้แก่พระราชวงศ์ กล่าวกันว่าเจ้าชายทั้งสองมีความถนัดกันคนละด้าน คือเจ้าชายอันพยองทรงพระปรีชาด้านการเขียนพู่กัน จึงเป็นที่นิยมชมชอบของปราชญ์ขงจื้อทั่วไป ขณะที่เจ้าชายซูยางทรงสนพระทัยด้านการทหาร โดยทรงวางแผนการยึดอำนาจอย่างมียุทธวิธี ด้วยการสนับสนุนและความช่วยเหลือของควอนนัม (권람, 權擥) และฮันมยองฮี (한명회, 韓明澮)

ฮวางโบอินและคิมจงซอหันเข้าหาเจ้าชายอันพยองเพื่อคานอำนาจกับองค์ชายซูยาง ในวันที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1453 เจ้าชายซูยางทรงนำทัพเข้าบุกยึดพระราชวังคยองบก สังหารฮวางโบอินและคิมจงซอ เรียกว่า รัฐประหารปีคเยยู (계유정난, 癸酉靖難) เนรเทศเจ้าชายอันพยองไปเกาะเจจูและประทานยาพิษ เจ้าชายซูยางทรงตั้งพระองค์เองเป็นอัครเสนาบดี กุมการบริหารประเทศไว้ทุกอย่าง ทรงให้มีการปูนบำเหน็จแก่ผู้มีความดีความชอบ (공신, 功臣) ช่วยเหลือพระองค์ในการทำรัฐประหาร

ในที่สุด เมื่อค.ศ. 1455 เจ้าชายซูยางก็ได้บังคับให้พระนัดดาทรงสละราชบัลลังก์ เป็นแทซังวัง ส่วนเจ้าชายเองก็ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเซโจ

รัชสมัย

พระเจ้าเซโจทรงเห็นกษัตริย์พระองค์ก่อนเป็นตัวอย่างของการที่กษัตริย์ตกอยู๋ใต้อำนาจของขุนนาง พระเจ้าเซโจเชื่อว่ากษัตริย์ได้รับอาณัติจากสวรรค์ให้มาปกครองประชาชน จึงทรงพยายามขยายอำนาจของกษัตริย์มิให้ถูกจำกัดโดยพวกขุนนาง ทันทีหลังจากขึ้นครองราชสมบัติ ทรงยุบสภาอีจอง หรือสภาองคมนตรี (의정부, 議政府) อันเป็นสภาสูงสุดรองจากกษัตริย์ และทรงนำเอาหกกระทรวง (육조, 六曹) เข้ามาควบคุมโดยตรง

พระเจ้าเซโจทรงกักขังแทซังวังเอาไว้ในพระราชวังเพื่อจับตาดูอย่างใกล้ชิด ขณะที่ขุนนางทั้งหลายในจีพยอนจอนต่างพากันเห็นพ้องต้องกันว่าการยึดอำนาจของพระเจ้าเซโจนั้นเป็นไปโดยขาดความชอบธรรมโดยสิ้นเชิง และวางแผนก่อการกบฏเพื่อยึดอำนาจคืนให้กับแทซังวัง คณะผู้ก่อการประกอบด้วยขุนนางหกคน ในค.ศ. 1456 ราชทูตราชวงศ์หมิงมาเยือนขุนนางทั้งหกจึงพยายามจะใช้โอกาสนี้ในการยึดอำนาจแต่ไม่สำเร็จถูกพระเจ้าเซโจทรงจับได้ พระเจ้าเซโจทรงให้ประหารขุนนางทั้งหก ซึ่งต่อมาได้รับการยกย่องเป็น ขุนนางผู้พลีชีพทั้งหก (사육신, 死六臣) รวมทั้งครอบครัวและผู้เกี่ยวข้องเป็นการสังหารหมู่ที่โหดร้าย และทำให้พระเจ้าเซโจทรงตัดสินพระทัยยุบจีพยอนจอน อันเป็นที่ซ่องสุมของขุนนางที่ต่อต้านพระองค์ไปเสีย และต่อมาในค.ศ. 1457 ทรงให้ลดพระเกียรติยศของแทซังวังลงเป็นเจ้าชายโนซาน (노산군, 魯山君) และเนรเทศไปมณฑลคังวอน รวมทั้งปลดพระราชมารดาของเจ้าชายโนซานที่สิ้นพระชนม์ไปแล้วคือพระนางฮย็อนดอก (현덕왕후, 顯德王后) ออกจาตำแหน่ง เพราะวิญญาณของนางตามหลอกหลอนองค์รัชทายาทพระโอรสของพระเจ้าเซโจ จนประชวรและสิ้นพระชนม์ ได้รับพระนามว่ารัชทายาทอีกยอง (의경세자, 懿敬世子)

เหตุการณ์การกบฏของหกขุนนางทำให้เกิดกลุ่มนักปราชญ์ขึ้นมาใหม่ คือ นักปราชญ์กลุ่มซาริม (사림파, 士林派) คือ กลุ่มขุนนางที่ถูกเนรเทศและกีดกันจากวงราชการด้วยภัยทางการเมือง หรือเลือกที่จะจงรักภักดีต่อกษัตริย์พระองค์เดียว อาศัยอยู่ตามป่าเขาอันห่างไกลตำหนิราชสำนักเรื่องการบริหารบ้านเมืองต่างๆ เช่น กลุ่มขุนนางผู้รอดชีวิตทั้งหก (생육신, 生六臣) ซึ่งยึดหลักไม่รับใช้สองเจ้า (불사이군, 不事二君) ขณะที่ในราชสำนักขุนนางที่สนับสนุนพระเจ้าเซโจในการขึ้นครองบัลลังก์เช่น ฮันมยองฮี และ ชินซุกจู (신숙주, 申淑舟) เรืองอำนาจ เรียกว่า กลุ่มขุนนางเก่า หรือฮุนกู (훈구파, 勳舊派) และในอนาคตขุนนางกลุ่มซาริมจะพยายามกลับคืนเข้าสู่ราชสำนักอีกครั้ง ทำให้ประวัติศาสตร์เกาหลีในอีกหนึ่งร้อยปีข้างหน้าเป็นเรื่องของการพยายามกลับคืนสู่ราชการของขุนนางซาริมและการต่อต้านจากกลุ่มขุนนางเก่า

ในค.ศ. 1457 พระเจ้าเซโจโปรดให้พิมพ์หนังสือเรื่อง กระจกสะท้อนอาณาจักรตะวันออก (동국통감, 東國通鑑) เกี่ยวกับประวัติศาสตร์เกาหลีตั้งแต่สมัยของทันกุนจนถึงราชวงศ์โครยอ พระอนุชาของพระเจ้าเซโจอีกองค์ คือ เจ้าชายคึมซอง (금성대군, 錦城大君) วางแผนก่อการกบฏยึดราชบัลลังก์คืนให้เจ้าชายโนซาน แต่ก็อีกครั้งที่พระเจ้าเซโจทรงจับได้ ทรงประทานยาพิษแก่เจ้าชายคึมซองและทำให้พระองค์ตัดสินพระทัยกำจัดเสี้นหนามสุดท้าย คือ เจ้าชายโนซาน ดื่มยาพิษพระราชทานสิ้นพระชนม์ไปด้วยพระชนมายุเพียงสิบเจ็ดชันษา

หลังจากที่ถูกกดขี่มาตั้งแต่รัชสมัยของพระเจ้าแทจง ศาสนาพุทธในเกาหลีก็ได้รับการฟื้นฟูอีกครั้งในรัชสมัยของพระเจ้าเซโจ พระเจ้าเซโจทรงเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา ทรงจัดตั้งสำนักจัดพิมพ์พระไตรปิฎก (간경도감, 刊經都監) ขึ้นในค.ศ. 1460 เพื่อรวบรวมและพิมพ์พระไตรปิฎกภาษาเกาหลี (ไตรปิฏก โคเรียนะ) และยังทรงสร้างวัดวอนกัก (원각사, 圓覺寺) อันเป็นที่อยู่ของคิมชีซึบ (김시습, 金時習) นักปรัชญาพระพุทธศาสนาคนสำคัญในรัชสมัยของพระเจ้าเซโจและเป็นหนึ่งในกลุ่มขุนนางผู้รอดชีวิตทั้งหก

พระกรณียกิจที่สำคัญที่สุดของพระเจ้าเซโจคือ การชำระกฎหมายใหม่ประจำอาณาจักร เรียกว่า คยองกุงแดจอน (경국대전, 經國大典) โดยเริ่มชำระเมื่อค.ศ. 1460 เสร็จสิ้นในรัชสมัยของพระเจ้าซองจง

เมื่อค.ศ. 1467 การรวมรวบอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางทำให้เกิดความไม่พอใจแก่ขุนนาง เกิดกบฏของลีชีแอ (이시애, 李施愛) ขึ้นที่มณฑลฮัมกยองเพื่อยกเจ้าชายควีซอง (구성군, 龜城君 พระโอรสของเจ้าชายอิมยอง พระอนุชาอีกพระองค์ของพระเจ้าเซโจ) ขึ้นบัลลังก์แทน แต่พระเจ้าเซโจก็ทรงสามารถส่งทัพเข้าปราบได้ ปีต่อมาค.ศ. 1468 พระเจ้าเซโจประชวรสวรรคต เจ้าชายแฮยาง (해양대군, 海陽大君) ซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าชายรัชทายาทแทนเจ้าชายอีคยอง ขึ้นครองราชสมบัติต่อเป็นพระเจ้าเยจง (예종, 睿宗) พระเจ้าเซโจมีพระสุสานชื่อว่า ควางนึง (광릉, 光陵) และได้รับพระนามว่า พระเจ้าชินจง (신종, 神宗) แต่ภายหลังในรัชสมัยของพระเจ้าเยจงได้รับพระนามใหม่เป็น พระเจ้าเซโจ

พระนามเต็ม

พระเจ้าเซโจ ฮเยจาง ซุงชอน เชโด ยอลมุน ยองมู จิด็อก ยองคง ซองซิน มยอนคเย ฮุมซุก อินฮโย แห่งเกาหลี

พระบรมวงศานุวงศ์

พระมเหสี พระสนม พระราชโอรส พระธิดา

พระราชธิดาอีกสองพระองค์มีหลักฐานบันทึกไว้ในพงศาวดารน้อยมากและไม่เป็นที่แน่ใจว่าจะมีตัวตน

    • ลี เซฮุย,เจ้าหญิงอึยรยอง
    • ลี เซจอง,เจ้าหญิงอึยฮวา
  • พระสนมเอกกึนบิน สกุลปาร์ค แห่งซอนซาน (근빈 박씨 ,謹嬪 朴氏)
    • ลี ซอ,เจ้าชายด็อกวอน
    • ลี ซอง,เจ้าชายชางวอน
    • เจ้าชายไม่ทราบพระนาม
  • พระสนมโซยอง สกุลปาร์ค (폐소용 박씨 ,昭容朴氏) ภายหลังถูกถอดจากตำแหน่งพระสนม
    • เจ้าชายไม่ทราบพระนาม
  • พระสนมซุกวอน สกุลชิน (숙원 신씨 ,淑媛 辛氏)
ก่อนหน้า พระเจ้าเซโจ ถัดไป
พระเจ้าทันจง   กษัตริย์แห่งโชซ็อน
(11 มิถุนายน ค.ศ. 1455 – 23 กันยายน ค.ศ. 1468)
  พระเจ้าเยจง


อ้างอิง

  1. Jae Un-Kang, Jae Eun-Kang. The land of scholars: two thousand years of Korean Confucianism.
  2. http://www.koreaaward.com/kor/history/131
  3. http://www.koreanhistoryproject.org/Ket/C09/E0902.htm

พระเจ, าเซโจ, เกาหล, 세조, 世祖, 1417, 1468, เป, นพระมหากษ, ตร, พระองค, แห, งราชวงศ, โชซ, อน, 1455, 1468, อเป, นกษ, ตร, กประณามมากท, ดพระองค, หน, งเพราะแย, งราชบ, ลล, งก, มาอย, างไม, เป, นธรรมจากพระเจ, าท, นจง, พระน, ดดาท, งทรงพระเยาว, กษ, ตร, แห, งโชซ, อนครองราชย. phraecaesoc ekahli 세조 世祖 kh s 1417 thung kh s 1468 epnphramhakstriyphraxngkhthi 7 aehngrachwngsochsxn kh s 1455 thung kh s 1468 thuxepnkstriythithukpranammakthisudphraxngkhhnungephraaaeyngrachbllngkmaxyangimepnthrrmcakphraecathncng phranddathiyngthrngphraeyawphraecaesockstriyaehngochsxnkhrxngrachy18 knyayn ph s 1998 18 krkdakhm ph s 2011 12 pi 303 wn kxnhnaphraecadncngthdipphraecaeycngmehsiphranangcxnghiphrarachbutrphraecaeycngrachwngsochsxnphrarachbidaphraecaescngphrarachmardaphranangoshxnphrarachsmphph6 phvsphakhm ph s 1960li yuswrrkht18 phvsphakhm ph s 2011 51 pi 12 wn phraecaesochnkul세조hnca世祖RRSejoMRSejochuxekidhnkul이유hnca李瑈RRI YuMRI Yu enuxha 1 hnthangsurachbllngk 2 rchsmy 3 phranametm 4 phrabrmwngsanuwngs 5 xangxinghnthangsurachbllngkphraecaesocphrarachsmphphemux kh s 1417 epnphrarachoxrsphraxngkhthisxngkhxng phraecaescngmharach 세종대왕 世宗大王 aela phranangoshxn 소헌왕후 昭憲王后 idrbphranamwa ecachaysuyang 수양대군 首陽大君 emuxkh s 1428 ecachaysuyangmiphraechsthaepnrchthayath khunkhrxngrachyepnphraecamuncng 문종 文宗 txcakphraecaescngin kh s 1450 aetxyuinrachsmbtiidephiyngsxngpikswrrkhtemuxkh s 1452 rchthayathphraoxrskhxngphraecamuncngkhunkhrxngrachytxcakphrarachbida kxnthiphraecamuncngcaswrrkht idcdtngkhnaphusaercrachkaraethnsahrbkstriyphraxngkhihmthiyngthrngphraeyaw prakxbdwy hwangobxin 황보인 皇甫仁 xkhresnabdi aela khimcngsx 김종서 金宗瑞 epnphunakhnaphusaercrachkarsungprakxbipdwykhunnangcakchi phyxncxn 집현전 集賢殿 sankprachythiphraecaescngmharachthrngtngkhunemuxkstriyphraxngkhihmkhunkhrxngrachyaelw praktwathrngepnephiyngaekhkstriyhunechid xanacthnghmdtkxyuaekhwangobxinaelakhimcngsx thaihecachaythixawuosthisudsxngphraxngkhkhuxecachaysuyang aelaecachayxnphyxng 안평대군 安平大君 txnghathangfunfuxanacihaekphrarachwngs klawknwaecachaythngsxngmikhwamthndknkhnladan khuxecachayxnphyxngthrngphraprichadankarekhiynphukn cungepnthiniymchmchxbkhxngprachykhngcuxthwip khnathiecachaysuyangthrngsnphrathydankarthhar 1 odythrngwangaephnkaryudxanacxyangmiyuththwithi dwykarsnbsnunaelakhwamchwyehluxkhxngkhwxnnm 권람 權擥 aelahnmyxnghi 한명회 韓明澮 hwangobxinaelakhimcngsxhnekhahaecachayxnphyxngephuxkhanxanackbxngkhchaysuyang inwnthi 10 phvscikayn kh s 1453 ecachaysuyangthrngnathphekhabukyudphrarachwngkhyxngbk sngharhwangobxinaelakhimcngsx eriykwa rthpraharpikheyyu 계유정난 癸酉靖難 enrethsecachayxnphyxngipekaaeccuaelaprathanyaphis ecachaysuyangthrngtngphraxngkhexngepnxkhresnabdi kumkarbriharpraethsiwthukxyang thrngihmikarpunbaehncaekphumikhwamdikhwamchxb 공신 功臣 chwyehluxphraxngkhinkartharthpraharinthisud emuxkh s 1455 ecachaysuyangkidbngkhbihphranddathrngslarachbllngk epnaethsngwng swnecachayexngkkhunkhrxngrachyepnphraecaesocrchsmyphraecaesocthrngehnkstriyphraxngkhkxnepntwxyangkhxngkarthikstriytkxyuitxanackhxngkhunnang phraecaesocechuxwakstriyidrbxanticakswrrkhihmapkkhrxngprachachn 2 cungthrngphyayamkhyayxanackhxngkstriymiihthukcakdodyphwkkhunnang thnthihlngcakkhunkhrxngrachsmbti thrngyubsphaxicxng hruxsphaxngkhmntri 의정부 議政府 xnepnsphasungsudrxngcakkstriy aelathrngnaexahkkrathrwng 육조 六曹 ekhamakhwbkhumodytrngphraecaesocthrngkkkhngaethsngwngexaiwinphrarachwngephuxcbtaduxyangiklchid khnathikhunnangthnghlayinciphyxncxntangphaknehnphxngtxngknwakaryudxanackhxngphraecaesocnnepnipodykhadkhwamchxbthrrmodysineching aelawangaephnkxkarkbtephuxyudxanackhunihkbaethsngwng khnaphukxkarprakxbdwykhunnanghkkhn inkh s 1456 rachthutrachwngshmingmaeyuxnkhunnangthnghkcungphyayamcaichoxkasniinkaryudxanac 3 aetimsaercthukphraecaesocthrngcbid phraecaesocthrngihpraharkhunnangthnghk sungtxmaidrbkarykyxngepn khunnangphuphlichiphthnghk 사육신 死六臣 rwmthngkhrxbkhrwaelaphuekiywkhxngepnkarsngharhmuthiohdray aelathaihphraecaesocthrngtdsinphrathyyubciphyxncxn xnepnthisxngsumkhxngkhunnangthitxtanphraxngkhipesiy aelatxmainkh s 1457 thrngihldphraekiyrtiyskhxngaethsngwnglngepnecachayonsan 노산군 魯山君 aelaenrethsipmnthlkhngwxn rwmthngpldphrarachmardakhxngecachayonsanthisinphrachnmipaelwkhuxphrananghyxndxk 현덕왕후 顯德王后 xxkcataaehnng ephraawiyyankhxngnangtamhlxkhlxnxngkhrchthayathphraoxrskhxngphraecaesoc cnprachwraelasinphrachnm idrbphranamwarchthayathxikyxng 의경세자 懿敬世子 ehtukarnkarkbtkhxnghkkhunnangthaihekidklumnkprachykhunmaihm khux nkprachyklumsarim 사림파 士林派 khux klumkhunnangthithukenrethsaelakidkncakwngrachkardwyphythangkaremuxng hruxeluxkthicacngrkphkditxkstriyphraxngkhediyw xasyxyutampaekhaxnhangikltahnirachsankeruxngkarbriharbanemuxngtang echn klumkhunnangphurxdchiwitthnghk 생육신 生六臣 sungyudhlkimrbichsxngeca 불사이군 不事二君 khnathiinrachsankkhunnangthisnbsnunphraecaesocinkarkhunkhrxngbllngkechn hnmyxnghi aela chinsukcu 신숙주 申淑舟 eruxngxanac eriykwa klumkhunnangeka hruxhunku 훈구파 勳舊派 aelainxnakhtkhunnangklumsarimcaphyayamklbkhunekhasurachsankxikkhrng thaihprawtisastrekahliinxikhnungrxypikhanghnaepneruxngkhxngkarphyayamklbkhunsurachkarkhxngkhunnangsarimaelakartxtancakklumkhunnangekainkh s 1457 phraecaesocoprdihphimphhnngsuxeruxng kracksathxnxanackrtawnxxk 동국통감 東國通鑑 ekiywkbprawtisastrekahlitngaetsmykhxngthnkuncnthungrachwngsokhryx phraxnuchakhxngphraecaesocxikxngkh khux ecachaykhumsxng 금성대군 錦城大君 wangaephnkxkarkbtyudrachbllngkkhunihecachayonsan aetkxikkhrngthiphraecaesocthrngcbid thrngprathanyaphisaekecachaykhumsxngaelathaihphraxngkhtdsinphrathykacdesinhnamsudthay khux ecachayonsan dumyaphisphrarachthansinphrachnmipdwyphrachnmayuephiyngsibecdchnsahlngcakthithukkdkhimatngaetrchsmykhxngphraecaaethcng sasnaphuththinekahlikidrbkarfunfuxikkhrnginrchsmykhxngphraecaesoc phraecaesocthrngeluxmissrththainphraphuththsasna thrngcdtngsankcdphimphphraitrpidk 간경도감 刊經都監 khuninkh s 1460 ephuxrwbrwmaelaphimphphraitrpidkphasaekahli itrpitk okheriyna aelayngthrngsrangwdwxnkk 원각사 圓覺寺 xnepnthixyukhxngkhimchisub 김시습 金時習 nkprchyaphraphuththsasnakhnsakhyinrchsmykhxngphraecaesocaelaepnhnunginklumkhunnangphurxdchiwitthnghkphrakrniykicthisakhythisudkhxngphraecaesockhux karcharakdhmayihmpracaxanackr eriykwa khyxngkungaedcxn 경국대전 經國大典 odyerimcharaemuxkh s 1460 esrcsininrchsmykhxngphraecasxngcngemuxkh s 1467 karrwmrwbxanacekhasusunyklangthaihekidkhwamimphxicaekkhunnang ekidkbtkhxnglichiaex 이시애 李施愛 khunthimnthlhmkyxngephuxykecachaykhwisxng 구성군 龜城君 phraoxrskhxngecachayximyxng phraxnuchaxikphraxngkhkhxngphraecaesoc khunbllngkaethn aetphraecaesockthrngsamarthsngthphekhaprabid pitxmakh s 1468 phraecaesocprachwrswrrkht ecachayaehyang 해양대군 海陽大君 sungidrbaetngtngepnecachayrchthayathaethnecachayxikhyxng khunkhrxngrachsmbtitxepnphraecaeycng 예종 睿宗 phraecaesocmiphrasusanchuxwa khwangnung 광릉 光陵 aelaidrbphranamwa phraecachincng 신종 神宗 aetphayhlnginrchsmykhxngphraecaeycngidrbphranamihmepn phraecaesocphranametmphraecaesoc heycang sungchxn echod yxlmun yxngmu cidxk yxngkhng sxngsin myxnkhey humsuk xinhoy aehngekahliphrabrmwngsanuwngsphrarachbida phraecaescngmharach 세종 世宗 September 18 1418 May 18 1450 phrarachmarda phranangoshxn skulsim aehngchxngsng 소헌왕후 심씨 昭憲王后 沈氏 September 28 1395 March 24 1446 phramehsi phrasnm phrarachoxrs phrathidaphranangchxnghi skulyun aehngphaphyxng 정희왕후 윤씨 貞熹王后尹氏 November 11 1418 March 30 1483 ecachayrchthayathxuykyxng phraecaeycngaehngochsxn li essxn ecahyingxuysuk 懿淑公主 kh s 1441 kh s 1477 phrarachthidaxiksxngphraxngkhmihlkthanbnthukiwinphngsawdarnxymakaelaimepnthiaenicwacamitwtn li eshuy ecahyingxuyryxng li escxng ecahyingxuyhwa phrasnmexkkunbin skulparkh aehngsxnsan 근빈 박씨 謹嬪 朴氏 li sx ecachaydxkwxn li sxng ecachaychangwxn ecachayimthrabphranam phrasnmosyxng skulparkh 폐소용 박씨 昭容朴氏 phayhlngthukthxdcaktaaehnngphrasnm ecachayimthrabphranam phrasnmsukwxn skulchin 숙원 신씨 淑媛 辛氏 kxnhna phraecaesoc thdipphraecathncng kstriyaehngochsxn 11 mithunayn kh s 1455 23 knyayn kh s 1468 phraecaeycngxangxing Jae Un Kang Jae Eun Kang The land of scholars two thousand years of Korean Confucianism http www koreaaward com kor history 131 http www koreanhistoryproject org Ket C09 E0902 htmekhathungcak https th wikipedia org w index php title phraecaesoc amp oldid 9233249, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม