fbpx
วิกิพีเดีย

พินอิน

พินอิน หรือ ฮั่นยฺหวี่พินอิน (จีนตัวย่อ: 汉语拼音; จีนตัวเต็ม: 漢語拼音; พินอิน: Hànyǔ Pīnyīn; จู้อิน : ㄏㄢˋ ㄩˇ ㄆㄧㄣ ㄧㄣ แปลว่า สะกดเสียงภาษาจีน) คือระบบในการถอดเสียงภาษาจีนมาตรฐาน ด้วยตัวอักษรละติน ความหมายของพินอินคือ "การรวมเสียงเข้าด้วยกัน" (โดยนัยก็คือ การเขียนแบบสัทศาสตร์ การสะกด การถอดเสียง หรือการทับศัพท์)

พินอิน
ภาษาจีน拼音
ตัวเขียนสำหรับสัทตัวอักษรจีน
อักษรจีนตัวย่อ汉语拼音方案
อักษรจีนตัวเต็ม漢語拼音方案

พินอินเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2501 และเริ่มใช้กันในปี พ.ศ. 2522 โดย รัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยใช้แทนที่ระบบการถอดเสียงแบบเก่า เช่น ระบบเวดและไจลส์ และระบบจู้อิน นอกจากนี้ ยังมีการออกแบบระบบอื่น ๆ สำหรับนำไปใช้กับภาษาพูดของจีนในถิ่นต่าง ๆ และภาษาของชนกลุ่มน้อยที่ไม่ใช้ภาษาฮั่น ในสาธารณรัฐประชาชนจีนด้วย

นับแต่นั้นมา พินอินก็เป็นที่ยอมรับจากสถาบันนานาชาติหลายแห่ง รวมทั้งรัฐบาลสิงคโปร์ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และสมาคมหอสมุดอเมริกัน โดยถือว่าเป็นระบบการถอดเสียงที่เหมาะสมสำหรับภาษาจีนกลาง ครั้นปี พ.ศ. 2522 องค์การมาตรฐานนานาชาติ (ISO) ก็ได้รับเอาพินอินเป็นระบบมาตรฐาน (ISO 7098) ในการถ่ายทอดเสียงภาษาจีนปัจจุบันด้วยอักษรโรมัน (the standard romanization for modern Chinese)

สิ่งสำคัญที่ต้องระลึกไว้ก็คือ พินอินนั้น เป็นการทับศัพท์ด้วยอักษรโรมัน (Romanization) มิใช่การถอดเสียงแบบภาษาอังกฤษ (Anglicization) นั่นคือ การกำหนดให้ใช้ตัวอักษรตัวหนึ่ง สำหรับแทนเสียงหนึ่ง ๆ ในภาษาจีนไว้อย่างตายตัว เช่น b และ d ในระบบพินอิน เป็นเสียง "ป" และ "ต" ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างจากระบบการออกเสียงส่วนใหญ่ ไม่ว่าอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือภาษาอื่นในยุโรป ขณะที่อักษร j หรือ q นั้นมีเสียงไม่ตรงกับในภาษาอังกฤษเลย กล่าวสั้น ๆ ก็คือ พินอินมุ่งที่จะใช้อักษรโรมัน เพื่อแทนเสียงใดเสียงหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการเขียน มิได้ยืมเสียงจากระบบของอักษรโรมันมาใช้ การใช้ระบบนี้นอกจากทำให้ชาวต่างชาติเขียนอ่านภาษาจีนได้สะดวกแล้ว ยังสามารถใช้กับคอมพิวเตอร์ได้สะดวกอย่างยิ่งด้วย

ต่อไปนี้เป็นการถอดเสียงภาษาจีน (ที่เขียนด้วยอักษรโรมันในระบบพินอิน) ด้วยอักษรไทย โปรดสังเกตว่า บางหน่วยเสียงในภาษาจีนไม่มีหน่วยเสียงที่ตรงกันในภาษาไทย จึงต้องอนุโลมใช้อักษรที่ใกล้เคียง ในที่นี้จึงมีอักษรไทยบางตัว ที่ต้องใช้แทนหน่วยเสียงในภาษาจีนมากกว่าหนึ่งหน่วยเสียง ทั้งนี้เพื่อเป็น "เกณฑ์อย่างคร่าว ๆ" สำหรับการเขียนคำทับศัพท์ภาษาจีน

ต้นพยางค์ (เสียงพยัญชนะต้น)

อักษรพินอินจะปรากฏเป็นตัวหนา และมีอักษรจู้อินกำกับ อักษรไทยที่กำกับไว้หมายถึงเสียงพยัญชนะไทยที่ใกล้เคียง มิใช่การทับศัพท์

ริมฝีปาก ริมฝีปากกับฟัน ปุ่มเหงือก ปลายลิ้นม้วน ปุ่มเหงือกกับ
เพดานแข็ง
เพดานแข็ง เพดานอ่อน
เสียงกัก b
[p] (ปㄅ)
p
[pʰ] (พㄆ)
d
[t] (ตㄉ)
t
[tʰ] (ทㄊ)
g
[k] (กㄍ)
k
[kʰ] (คㄎ)
เสียงนาสิก m
[m] (มㄇ)
n
[n] (นㄋ)
เสียงข้างลิ้น l
[l] (ลㄌ)
r¹
[ɻ~ʐ] (ร(ล) ม้วนลิ้น ㄖ)
เสียงกึ่งเสียดแทรก z
[ts] (ตซ คล้าย จ ㄗ)
c
[tsʰ] (ทซ คล้าย ช ㄘ)
zh
[ʈʂ] (ตซ(จ) ม้วนลิ้น ㄓ)
ch
[ʈʂʰ] (ทซ(ช) ม้วนลิ้น ㄔ)
j
[tɕ] (จㄐ)
q
[tɕʰ] (ชㄑ)
เสียงเสียดแทรก   f
[f] (ฟㄈ)
s
[s] (ซㄙ)
sh
[ʂ] (ซ ม้วนลิ้น ㄕ)
x
[ɕ] (ทร คล้าย ซฺ ㄒ)
h
[x] (คฺฮ คล้าย ฮ ㄏ)
เสียงกึ่งสระ         y²
[j]/[ɥ]³ (ยㄧ/ㄩ)
w²
[w] (วㄨ)
¹ /ɻ/ อาจออกเสียงคล้ายกับ /ʐ/ (เสียงเสียดแทรก ปลายลิ้นม้วน ก้อง) ซึ่งเปลี่ยนแปรไปตามผู้พูด แต่ก็ถือว่าเป็นหน่วยเสียงเดียวกัน
² อักษร y และ w นั้นไม่ได้บรรจุอยู่ในตารางเสียงพยัญชนะของระบบพินอินอย่างเป็นทางการ แต่ใช้สำหรับแทนที่อักษรสระ i, u, ü เมื่อไม่มีเสียงพยัญชนะต้น ซึ่งจะเปลี่ยนรูปเป็น yi, wu, yu ตามลำดับ
³ อักษร y จะออกเสียงเป็น [ɥ] เมื่อตามด้วย u (ซึ่งลดรูปมาจาก ü)

การเรียงลำดับเสียงพินอิน (ไม่รวม w และ y) ได้รับการสืบทอดมาจากระบบจู้อิน (注音; Zhùyīn) นั่นคือ

b p m f d t n l g k h j q x zh ch sh r z c s

หรือ ที่เราท่องกันว่า... โป โพ โม โฟ เตอ เทอ เนอ เลอ เกอ เคอ เฮอ จี ชี ทรี จืยฺ ชืยฺ ซืยฺ รืยฺ ตซือ(จือ) ทซือ(ชือ) ซือ

อย่างไรก็ตามในพจนานุกรมสมัยใหม่ ได้เรียงพินอินแบบ a-z เหมือนอักษรโรมันเพื่อให้การค้นหาสะดวกยิ่งขึ้น

ท้ายพยางค์ (เสียงสระและเสียงพยัญชนะสะกด)

อักษรพินอินจะปรากฏเป็นตัวหนา และปรากฏเป็นสองรูปแบบได้แก่ รูปแบบที่ไม่มีเสียงพยัญชนะต้น และรูปแบบที่มีเสียงพยัญชนะต้นซึ่งจะมีขีดนำหน้า

ตัวท้าย ตัวจบ
/i/ /u/ /n/ /ŋ/
ตัวกลาง -i¹
[ɨ]
(อือ)
e, -e
[ɤ]
(เออ)
a, -a
[a]
(อา)
ei, -ei
[ei̯]
(เอย์)
ai, -ai
[ai̯]
(ไอ/อาย)
ou, -ou
[ou̯]
(โอว)
ao, -ao
[au̯]
(เอา/อาว)
en, -en
[ən]
(เอิน)
an, -an
[an]
(อัน/อาน)
-ong
[ʊŋ]
(เวิง, อุง)
eng, -eng
[əŋ]
(เอิง)
ang, -ang
[aŋ]
(อัง/อาง)
/i/ yi, -i
[i]
(อี)
ye, -ie
[i̯e]
(เย, อีเย)
ya, -ia
[i̯a]
(ยา, เอีย)
you, -iu
[i̯ou̯]
(โยว, โอฺยว)
yao, -iao
[i̯au̯]
(เยา/ยาว, เอียว)
yin, -in
[in]
(อิน)
yan, -ian
[i̯ɛn]
(เยียน, เอียน)
yong, -iong
[i̯ʊŋ]
(ยฺวืง, อฺวืง)
ying, -ing
[iŋ]
(อิง)
yang, -iang
[i̯aŋ]
(เยียง/ยาง, เอียง)
/u/ wu, -u
[u]
(อู)
wo, -uo³
[u̯o]
(วอ, อฺวอ)
wa, -ua
[u̯a]
(วา, อัว/อวา)
wei, -ui
[u̯ei̯]
(เวย์, เอฺวย์)
wai, -uai
[u̯ai̯]
(ไว/วาย, อวาย)
wen, -un
[u̯ən]
(เวิน, เอฺวิน)
wan, -uan
[u̯an]
(วัน/วาน, อวน/อวาน)
weng
[u̯əŋ]
(เวิง, อุง)
wang, -uang
[u̯aŋ]
(วัง/วาง, อวง/อวาง)
/y/ yu, -ü²
[y]
(อวี)
yue, -üe²
[y̯e]
(เยฺว, เอฺว)
yun, -ün²
[yn]
(ยฺวืน, อฺวืน)
yuan, -üan²
[y̯ɛn]
(ยวืออัน, อวืออัน)
¹ -i อักษรนี้ใช้ผสมกับ zh ch sh r z c s เท่านั้น
² ü จะเขียนเป็น u เมื่อตามหลัง j q x y
³ uo จะเขียนเป็น o เมื่อตามหลัง b p m f

เสียง /ər/ (เออร์ เช่น 而, 二, ฯลฯ) ซึ่งไม่ปรากฏในตาราง จะเขียนเป็น er ซึ่งเป็นเสียงสระตัวเดียวที่ไม่มีเสียงพยัญชนะต้น สำหรับรูปต่อท้าย -r (ร์) ระบบพินอินไม่ได้กำหนดไว้เป็นพิเศษ จึงสามารถนำไปต่อท้ายสระของพยางค์ก่อนหน้าโดยไม่ทำให้เสียงของพยางค์นั้นเปลี่ยนไป นอกจากนี้ก็ยังมี ê [ɛ] (เอ เช่น 欸, 誒) และเสียงกึ่งพยางค์เช่น m (อืม เช่น 呒, 呣), n (อืน เช่น 嗯, 唔), ng (อืง เช่น 嗯, 𠮾) ใช้เป็นคำอุทาน

อะพอสทรอฟี (') จะใช้เพื่อเป็นการแบ่งพยางค์ เมื่อการเขียนติดกันอาจก่อให้เกิดความกำกวม โดยเฉพาะเมื่อเขียนโดยไม่ใส่วรรณยุกต์ เช่นระหว่าง pi'ao (皮袄/皮襖) กับ piao (票) และระหว่าง Xi'an (西安) กับ xian (先)

การถอดเสียงวรรณยุกต์

 
เสียงวรรณยุกต์

ระบบพินอินมีเครื่องหมายแทนเสียงวรรณยุกต์ 4 เครื่องหมายด้วยกัน ดังนี้

1. วรรณยุกต์เสียงที่หนึ่ง แทนด้วยขีดระนาบสั้น ๆ (ˉ) เทียบเท่าเสียง สามัญหรือตรี ในภาษาไทย:

ā ē ī ō ū ǖ

2. วรรณยุกต์เสียงที่สอง แทนด้วยขีดสั้น ๆ เอียงขวา (ˊ) เทียบเท่าเสียง จัตวา ในภาษาไทย:

á é í ó ú ǘ

3. วรรณยุกต์เสียงที่สาม แทนด้วยขีดรูปลิ่ม (ˇ) คล้ายเสียง เอก ในภาษาไทย (แต่ไม่ใช่เสียง"เอก") :

ǎ ě ǐ ǒ ǔ ǚ

4. วรรณยุกต์เสียงที่สี่ แทนด้วยขีดสั้น ๆ เอียงซ้าย (ˋ) เทียบเท่าเสียง โท ในภาษาไทย:

à è ì ò ù ǜ

5. วรรณยุกต์เสียงที่ห้า ไม่มีเครื่องหมาย:

a e i o u ü (แต่บางครั้งเขียนจุดหน้าพยางค์นั้น ๆ เช่น ·yo เยาะ)

ในการใช้เครื่องพิมพ์ดีดหรือคอมพิวเตอร์ อาจใช้ตัวเลขแทนเครื่องหมายวรรณยุกต์ได้ (1 2 3 4 5 ตามลำดับ)

การใส่วรรณยุกต์

โดยดูที่สระ a o e i u ü ตัวอย่างสระ ie ให้ใส่ที่ e เพราะ e มาก่อน (e i) ยกเว้นถ้า iu ใส่ที่ u

ตัวอย่าง
อักษรจีน พินอิน อักษรไทย ความหมาย
มา หรือ ม้า แม่
หมา ป่าน
หม่า ม้า
ม่า ดุด่า
ma มะ หรือ, ไหม

อ้างอิง

  • Yin Binyong 尹斌庸 and Mary Felley (1990). Chinese Romanization. Pronunciation and Orthography (Hanyu pinyin he zhengcifa 汉语拼音和正词法). Beijing: Sinolingua. ISBN 7-80052-148-6 / ISBN 0-8351-1930-0.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ตารางเปรียบเทียบการถ่ายทอดเสียงภาษาจีนในระบบต่าง ๆ รวมทั้งระบบพินอิน

นอ, หร, นย, หว, นต, วย, 汉语拼音, นต, วเต, 漢語拼音, hànyǔ, pīnyīn, ㄏㄢˋ, ㄩˇ, ㄆㄧㄣ, ㄧㄣ, แปลว, สะกดเส, ยงภาษาจ, อระบบในการถอดเส, ยงภาษาจ, นมาตรฐาน, วยต, วอ, กษรละต, ความหมายของค, การรวมเส, ยงเข, าด, วยก, โดยน, ยก, การเข, ยนแบบส, ทศาสตร, การสะกด, การถอดเส, ยง, หร, อการท, . phinxin hrux hny hwiphinxin cintwyx 汉语拼音 cintwetm 漢語拼音 phinxin Hanyǔ Pinyin cuxin ㄏㄢˋ ㄩˇ ㄆㄧㄣ ㄧㄣ aeplwa sakdesiyngphasacin khuxrabbinkarthxdesiyngphasacinmatrthan dwytwxksrlatin khwamhmaykhxngphinxinkhux karrwmesiyngekhadwykn odynykkhux karekhiynaebbsthsastr karsakd karthxdesiyng hruxkarthbsphth phinxinphasacin拼音karthxdesiyngphasacinklangmatrthanphinxinPinyincuxinㄆㄧㄣ ㄧㄣewd iclsP in1 yin1IPA pʰi n i n phasaxuxksrormnphin平 in平phasaaekhaxksrormnpin24 im24phasakwangtungmatrthanxksrormnaebbeylPingyamIPA pʰe ŋ jɐ m y hwidephngPing3jam1sidniy ehlaPing3yam1 xksrormnkwangtungPing3yem1phasahminitHokkien POJpeng im pheng imtwekhiynsahrbsthtwxksrcinxksrcintwyx汉语拼音方案xksrcintwetm漢語拼音方案karthxdesiyngphasacinklangmatrthanphinxinHanyǔ Pinyin Fang ancuxinㄏㄢˋ ㄩˇ ㄆㄧㄣ ㄧㄣ ㄈㄤ ㄢˋewd iclsHan4 yu3 P in1 yin1 Fang1 an4IPA xa n y pʰi n i n fa ŋ a n phasaxuxksrormnhoe去 nyiu上 phin平 in平 faon平 oe去phasaaekhaxksrormnhon55 ngi24 pin24 im24 fong24 on55phasakwangtungmatrthanxksrormnaebbeylHonyuh Pingyam Fōng onIPA hɔ ːn y ː pʰeŋ jɐ m fɔ ːŋ ɔ ːn y hwidephngHon3jyu5 Ping3jam1 Fong1on3sidniy ehlaHon3yue5 Ping3yam1 Fong1 on3xksrormnkwangtungHon3yu5 Ping3yem1 Fong1on3phasahminitHokkien POJhan gu pheng im hong anphinxinerimtninpi ph s 2501 aelaerimichkninpi ph s 2522 ody rthbalkhxngsatharnrthprachachncin odyichaethnthirabbkarthxdesiyngaebbeka echn rabbewdaelaicls aelarabbcuxin nxkcakni yngmikarxxkaebbrabbxun sahrbnaipichkbphasaphudkhxngcininthintang aelaphasakhxngchnklumnxythiimichphasahn insatharnrthprachachncindwynbaetnnma phinxinkepnthiyxmrbcaksthabnnanachatihlayaehng rwmthngrthbalsingkhopr hxsmudrthsphaxemrikn aelasmakhmhxsmudxemrikn odythuxwaepnrabbkarthxdesiyngthiehmaasmsahrbphasacinklang khrnpi ph s 2522 xngkhkarmatrthannanachati ISO kidrbexaphinxinepnrabbmatrthan ISO 7098 inkarthaythxdesiyngphasacinpccubndwyxksrormn the standard romanization for modern Chinese singsakhythitxngralukiwkkhux phinxinnn epnkarthbsphthdwyxksrormn Romanization miichkarthxdesiyngaebbphasaxngkvs Anglicization nnkhux karkahndihichtwxksrtwhnung sahrbaethnesiynghnung inphasaciniwxyangtaytw echn b aela d inrabbphinxin epnesiyng p aela t tamladb sungaetktangcakrabbkarxxkesiyngswnihy imwaxngkvs frngess hruxphasaxuninyuorp khnathixksr j hrux q nnmiesiyngimtrngkbinphasaxngkvsely klawsn kkhux phinxinmungthicaichxksrormn ephuxaethnesiyngidesiynghnungodyechphaa ephuxkhwamsadwkinkarekhiyn miidyumesiyngcakrabbkhxngxksrormnmaich karichrabbninxkcakthaihchawtangchatiekhiynxanphasacinidsadwkaelw yngsamarthichkbkhxmphiwetxridsadwkxyangyingdwytxipniepnkarthxdesiyngphasacin thiekhiyndwyxksrormninrabbphinxin dwyxksrithy oprdsngektwa banghnwyesiynginphasacinimmihnwyesiyngthitrngkninphasaithy cungtxngxnuolmichxksrthiiklekhiyng inthinicungmixksrithybangtw thitxngichaethnhnwyesiynginphasacinmakkwahnunghnwyesiyng thngniephuxepn eknthxyangkhraw sahrbkarekhiynkhathbsphthphasacin enuxha 1 tnphyangkh esiyngphyychnatn 2 thayphyangkh esiyngsraaelaesiyngphyychnasakd 3 karthxdesiyngwrrnyukt 4 kariswrrnyukt 5 xangxing 6 duephim 7 aehlngkhxmulxuntnphyangkh esiyngphyychnatn aekikhxksrphinxincapraktepntwhna aelamixksrcuxinkakb xksrithythikakbiwhmaythungesiyngphyychnaithythiiklekhiyng miichkarthbsphth rimfipak rimfipakkbfn pumehnguxk playlinmwn pumehnguxkkbephdanaekhng ephdanaekhng ephdanxxnesiyngkk b p pㄅ p pʰ phㄆ d t tㄉ t tʰ thㄊ g k kㄍ k kʰ khㄎ esiyngnasik m m mㄇ n n nㄋ esiyngkhanglin l l lㄌ r ɻ ʐ r l mwnlin ㄖ esiyngkungesiydaethrk z ts ts khlay c ㄗ c tsʰ ths khlay ch ㄘ zh ʈʂ ts c mwnlin ㄓ ch ʈʂʰ ths ch mwnlin ㄔ j tɕ cㄐ q tɕʰ chㄑ esiyngesiydaethrk f f fㄈ s s sㄙ sh ʂ s mwnlin ㄕ x ɕ thr khlay s ㄒ h x kh h khlay h ㄏ esiyngkungsra y j ɥ yㄧ ㄩ w w wㄨ ɻ xacxxkesiyngkhlaykb ʐ esiyngesiydaethrk playlinmwn kxng sungepliynaepriptamphuphud aetkthuxwaepnhnwyesiyngediywkn xksr y aela w nnimidbrrcuxyuintarangesiyngphyychnakhxngrabbphinxinxyangepnthangkar aetichsahrbaethnthixksrsra i u u emuximmiesiyngphyychnatn sungcaepliynrupepn yi wu yu tamladb xksr y caxxkesiyngepn ɥ emuxtamdwy u sungldrupmacak u kareriyngladbesiyngphinxin imrwm w aela y idrbkarsubthxdmacakrabbcuxin 注音 Zhuyin nnkhux b p m f d t n l g k h j q x zh ch sh r z c s dd hrux thierathxngknwa op oph om of etx ethx enx elx ekx ekhx ehx ci chi thri cuy chuy suy ruy tsux cux thsux chux suxxyangirktaminphcnanukrmsmyihm ideriyngphinxinaebb a z ehmuxnxksrormnephuxihkarkhnhasadwkyingkhunthayphyangkh esiyngsraaelaesiyngphyychnasakd aekikhxksrphinxincapraktepntwhna aelapraktepnsxngrupaebbidaek rupaebbthiimmiesiyngphyychnatn aelarupaebbthimiesiyngphyychnatnsungcamikhidnahna twthay twcb i u n ŋ twklang i ɨ xux e e ɤ exx a a a xa ei ei ei exy ai ai ai ix xay ou ou ou oxw ao ao au exa xaw en en en exin an an an xn xan ong ʊŋ ewing xung eng eng eŋ exing ang ang aŋ xng xang i yi i i xi ye ie i e ey xiey ya ia i a ya exiy you iu i ou oyw ox yw yao iao i au eya yaw exiyw yin in in xin yan ian i ɛn eyiyn exiyn yong iong i ʊŋ y wung x wung ying ing iŋ xing yang iang i aŋ eyiyng yang exiyng u wu u u xu wo uo u o wx x wx wa ua u a wa xw xwa wei ui u ei ewy ex wy wai uai u ai iw way xway wen un u en ewin ex win wan uan u an wn wan xwn xwan weng u eŋ ewing xung wang uang u aŋ wng wang xwng xwang y yu u y xwi yue ue y e ey w ex w yun un yn y wun x wun yuan uan y ɛn ywuxxn xwuxxn i xksrniichphsmkb zh ch sh r z c s ethann u caekhiynepn u emuxtamhlng j q x y uo caekhiynepn o emuxtamhlng b p m fesiyng er exxr echn 而 二 l sungimpraktintarang caekhiynepn er sungepnesiyngsratwediywthiimmiesiyngphyychnatn sahrbruptxthay r r rabbphinxinimidkahndiwepnphiess cungsamarthnaiptxthaysrakhxngphyangkhkxnhnaodyimthaihesiyngkhxngphyangkhnnepliynip nxkcaknikyngmi e ɛ ex echn 欸 誒 aelaesiyngkungphyangkhechn m xum echn 呒 呣 n xun echn 嗯 唔 ng xung echn 嗯 𠮾 ichepnkhaxuthanxaphxsthrxfi caichephuxepnkaraebngphyangkh emuxkarekhiyntidknxackxihekidkhwamkakwm odyechphaaemuxekhiynodyimiswrrnyukt echnrahwang pi ao 皮袄 皮襖 kb piao 票 aelarahwang Xi an 西安 kb xian 先 karthxdesiyngwrrnyukt aekikh esiyngwrrnyukt rabbphinxinmiekhruxnghmayaethnesiyngwrrnyukt 4 ekhruxnghmaydwykn dngni1 wrrnyuktesiyngthihnung aethndwykhidranabsn ˉ ethiybethaesiyng samyhruxtri inphasaithy a e i ō u ǖ dd 2 wrrnyuktesiyngthisxng aethndwykhidsn exiyngkhwa ˊ ethiybethaesiyng ctwa inphasaithy a e i o u ǘ dd 3 wrrnyuktesiyngthisam aethndwykhidruplim ˇ khlayesiyng exk inphasaithy aetimichesiyng exk ǎ e ǐ ǒ ǔ ǚ dd 4 wrrnyuktesiyngthisi aethndwykhidsn exiyngsay ˋ ethiybethaesiyng oth inphasaithy a e i o u ǜ dd 5 wrrnyuktesiyngthiha immiekhruxnghmay a e i o u u aetbangkhrngekhiyncudhnaphyangkhnn echn yo eyaa dd inkarichekhruxngphimphdidhruxkhxmphiwetxr xacichtwelkhaethnekhruxnghmaywrrnyuktid 1 2 3 4 5 tamladb kariswrrnyukt aekikhodyduthisra a o e i u u twxyangsra ie ihisthi e ephraa e makxn e i ykewntha iu isthi u twxyangxksrcin phinxin xksrithy khwamhmay妈 ma ma hrux ma aem麻 ma hma pan马 mǎ hma ma骂 ma ma duda吗 ma ma hrux ihmxangxing aekikhYin Binyong 尹斌庸 and Mary Felley 1990 Chinese Romanization Pronunciation and Orthography Hanyu pinyin he zhengcifa 汉语拼音和正词法 Beijing Sinolingua ISBN 7 80052 148 6 ISBN 0 8351 1930 0 duephim aekikhkarekhiynkhathbsphthphasacinaehlngkhxmulxun aekikhtarangepriybethiybkarthaythxdesiyngphasacininrabbtang rwmthngrabbphinxinekhathungcak https th wikipedia org w index php title phinxin amp oldid 9414343, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม