fbpx
วิกิพีเดีย

ฟรีดริช นีทเชอ

ฟรีดริช วิลเฮ็ล์ม นีทเชอ (เยอรมัน: Friedrich Wilhelm Nietzsche) เป็นนักปรัชญา, นักวิจารณ์วัฒนธรรม, คีตกวี, นักกวี, ปราชญ์ภาษากรีกและละติน และนักนิรุกติศาสตร์ชาวเยอรมัน ผลงานของเขามีอิทธิพลต่อปรัชญาตะวันตกและองค์ปัญญายุคใหม่อย่างล้นหลาม เขาเริ่มทำงานเป็นนักนิรุกติศาสตร์คลาสสิกก่อนจะผันตัวมาเป็นนักปรัชญา นีทเชอเป็นอาจารย์นิรุกติศาสตร์ที่อายุน้อยที่สุดของมหาวิทยาลัยบาเซิลในปีค.ศ. 1869 ด้วยวัยเพียง 24 ปี เขาลาออกในปีค.ศ. 1879 ด้วยปัญหาสุขภาพเรื้อรัง ต่อมาในปีค.ศ. 1889 นีทเซอในวัย 44 ทุกข์ทรมานจากอาการป่วยจนสภาพจิตใจย่ำแย่ ตั้งแต่นั้นมาเขาก็ใช้ชีวิตภายใต้การดูแลของมารดาและพี่สาวจนเขาเสียชีวิตในปีค.ศ. 1900

ฟรีดริช วิลเฮ็ล์ม นีทเชอ
Friedrich Wilhelm Nietzsche
เกิดฟรีดริช วิลเฮ็ล์ม นีทเชอ
15 ตุลาคม ค.ศ. 1844(1844-10-15)
ราชอาณาจักรปรัสเซีย
เสียชีวิต25 สิงหาคม ค.ศ. 1900 (55 ปี)
ไวมาร์,ซัคเซิน จักรวรรดิเยอรมัน
อาชีพนักปรัชญา, นักเขียน
สัญชาติเยอรมัน
แนวนวนิยาย, เรื่องสั้น, บทความ
หัวข้อปรัชญา, ศาสนา
แนวร่วมในทางวรรณคดีอัตถิภาวนิยม
ผลงานที่สำคัญคือพจนาซาราทุสตรา

ลายมือชื่อ

เขาเกิดเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 1844 ในหมู่บ้านเริคเคิน (Röcken) ใกล้กับเมืองไลพ์ซิช ในมณฑลซัคเซิน ราชอาณาจักรปรัสเซีย เป็นบุตรคนโตของคาร์ล ลูทวิช นีทเซอ (Carl Ludwig Nietzsche) บาทหลวงนิกายลูเทอแรน กับนางฟรันซิสคา เออเลอร์ (Franziska Oehler) บิดามารดาตั้งชื่อเขาตามพระนามของพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 4 แห่งปรัสเซีย ซึ่งมีวันคล้ายวันประสูติตรงกับวันที่เด็กชายนีทเชอเกิด เขายังมีน้องอีกสองคนชื่อเอลีซาเบ็ท (Elisabeth) และลูทวิช โยเซฟ (Ludwig Joseph) บิดาของเขาเสียชีวิตในปี 1849 ส่วนน้องชายคนเล็กเสียชีวิตในอีกหกเดือนให้หลังบิดา สมาชิกที่เหลืออยู่จึงย้ายไปอยู่กับครอบครัวฝ่ายแม่ที่เมืองนามบวร์ค (Naumburg)

ผลงานของนีทเซอครอบคลุมอยู่ในหลายศาสตร์วิชา ทั้งศิลปศาสตร์, ปรัชญา, ประวัติศาสตร์, ศาสนา, โศกนาฏกรรม, วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ งานเขียนของเขามีทั้งบทโจมตีเชิงปรัชญา, บทกวี และบทวิจารณ์วัฒนธรรม ขณะเดียวกันก็แฝงไปด้วยคำคมและคำเสียดสี บุคคลที่เป็นแรงบันดาลใจของนีทเชอในช่วงแรกคือเหล่านักปรัชญาแถวหน้าทั้งหลายของยุคนั้น เช่นอาร์ทัวร์ โชเพินเฮาเออร์, ริชชาร์ท วากเนอร์ และโยฮัน ว็อล์ฟกัง ฟ็อน เกอเทอ เป็นต้น งานด้านปรัชญาชิ้นเด่นของนีทเชอมีทั้งบทวิจารณ์สุดโต่งของความเที่ยงแท้ในแบบมุมมองนิยม (Perspectivism), บทวิจารณ์เชิงวงศ์ตระกูลของศาสนาและศีลธรรมชาวคริสต์ (Christian morality) ตลอดจนทฤษฎีศีลธรรมของนาย–บ่าว (Master–slave morality) นีทเชอยังเป็นเจ้าของวลีสุดคมคายที่ว่า "พระเจ้าตายแล้ว" ("Gott ist tot") เขามองว่าสังคมยุคใหม่ไม่ได้ถูกขับเคลื่อนโดยหลักธรรมคำสอนอีกแล้ว แต่เป็นวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม แม้แต่ศีลธรรมก็เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น

ผลงาน

  • The Birth of Tragedy (1872)
  • On Truth and Lies in a Nonmoral Sense (1873)
  • Untimely Meditations (1876)
  • Human, All Too Human (1878; เพิ่มเติม 1879, 1880)
  • Daybreak (1881)
  • The Gay Science (1882)
  • คือพจนาซาราทุสตรา (1883–1885)
  • Beyond Good and Evil (1886)
  • On the Genealogy of Morality (1887)
  • The Case of Wagner (1888)
  • Twilight of the Idols (1888)
  • The Antichrist (1888)
  • Ecce Homo (1888)
  • Nietzsche contra Wagner (1888)
  • The Will to Power (ต้นฉบับยังไม่ได้ตีพิมพ์)

อ้างอิง

  1. Anderson, R. Lanier (17 March 2017). "Friedrich Nietzsche". Stanford Encyclopedia of Philosophy. Metaphysics Research Lab, Stanford University.
  2. Brobjer, Thomas. Nietzsche's philosophical context: an intellectual biography, p. 42. University of Illinois Press, 2008.
  3. Robert Matthews (4 May 2003), "'Madness' of Nietzsche was cancer not syphilis", The Daily Telegraph.
  4. Kaufmann 1974, p. 22.
  5. Wicks, Robert (2014). Zalta, Edward N. (บ.ก.). Friedrich Nietzsche (Winter 2014 ed.).
  6. Dale Wilkerson. "Friedrich Nietzsche". Internet Encyclopedia of Philosophy. ISSN 2161-0002. Retrieved 9 April 2018.
  7. "Friedrich Nietzsche," by Dale Wilkerson, The Internet Encyclopedia of Philosophy, ISSN 2161-0002, http://www.iep.utm.edu/nietzch/[ลิงก์เสีย]. 14 October 2015.

ฟร, ดร, ทเชอ, ฟร, ดร, ลเฮ, ทเชอ, เยอรม, friedrich, wilhelm, nietzsche, เป, นน, กปร, ชญา, กว, จารณ, ฒนธรรม, ตกว, กกว, ปราชญ, ภาษากร, กและละต, และน, กน, กต, ศาสตร, ชาวเยอรม, ผลงานของเขาม, ทธ, พลต, อปร, ชญาตะว, นตกและองค, ญญาย, คใหม, อย, างล, นหลาม, เขาเร, มทำงาน. fridrich wilehlm nithechx eyxrmn Friedrich Wilhelm Nietzsche epnnkprchya nkwicarnwthnthrrm khitkwi nkkwi prachyphasakrikaelalatin aelankniruktisastrchaweyxrmn phlngankhxngekhamixiththiphltxprchyatawntkaelaxngkhpyyayukhihmxyanglnhlam ekhaerimthanganepnnkniruktisastrkhlassikkxncaphntwmaepnnkprchya nithechxepnxacaryniruktisastrthixayunxythisudkhxngmhawithyalybaesilinpikh s 1869 dwywyephiyng 24 pi 1 ekhalaxxkinpikh s 1879 dwypyhasukhphapheruxrng 2 txmainpikh s 1889 nithesxinwy 44 thukkhthrmancakxakarpwycnsphaphciticyaaey tngaetnnmaekhakichchiwitphayitkarduaelkhxngmardaaelaphisawcnekhaesiychiwitinpikh s 1900 3 fridrich wilehlm nithechx Friedrich Wilhelm Nietzscheekidfridrich wilehlm nithechx15 tulakhm kh s 1844 1844 10 15 rachxanackrprsesiyesiychiwit25 singhakhm kh s 1900 55 pi iwmar skhesin ckrwrrdieyxrmnxachiphnkprchya nkekhiynsychatieyxrmnaenwnwniyay eruxngsn bthkhwamhwkhxprchya sasnaaenwrwminthangwrrnkhdixtthiphawniymphlnganthisakhykhuxphcnasarathustralaymuxchuxekhaekidemuxwnthi 15 tulakhm kh s 1844 inhmubanerikhekhin Rocken iklkbemuxngilphsich inmnthlskhesin rachxanackrprsesiy epnbutrkhnotkhxngkharl luthwich nithesx Carl Ludwig Nietzsche bathhlwngnikayluethxaern kbnangfrnsiskha exxelxr Franziska Oehler bidamardatngchuxekhatamphranamkhxngphraecafridrich wilehlmthi 4 aehngprsesiy sungmiwnkhlaywnprasutitrngkbwnthiedkchaynithechxekid 4 ekhayngminxngxiksxngkhnchuxexlisaebth Elisabeth aelaluthwich oyesf Ludwig Joseph bidakhxngekhaesiychiwitinpi 1849 swnnxngchaykhnelkesiychiwitinxikhkeduxnihhlngbida 5 smachikthiehluxxyucungyayipxyukbkhrxbkhrwfayaemthiemuxngnambwrkh Naumburg phlngankhxngnithesxkhrxbkhlumxyuinhlaysastrwicha thngsilpsastr prchya prawtisastr sasna osknatkrrm wthnthrrm aelawithyasastr nganekhiynkhxngekhamithngbthocmtiechingprchya bthkwi aelabthwicarnwthnthrrm khnaediywknkaefngipdwykhakhmaelakhaesiydsi bukhkhlthiepnaerngbndalickhxngnithechxinchwngaerkkhuxehlankprchyaaethwhnathnghlaykhxngyukhnn echnxarthwr ochephinehaexxr richcharth wakenxr aelaoyhn wxlfkng fxn ekxethx epntn 6 ngandanprchyachinednkhxngnithechxmithngbthwicarnsudotngkhxngkhwamethiyngaethinaebbmummxngniym Perspectivism bthwicarnechingwngstrakulkhxngsasnaaelasilthrrmchawkhrist Christian morality tlxdcnthvsdisilthrrmkhxngnay baw Master slave morality 7 nithechxyngepnecakhxngwlisudkhmkhaythiwa phraecatayaelw Gott ist tot ekhamxngwasngkhmyukhihmimidthukkhbekhluxnodyhlkthrrmkhasxnxikaelw aetepnwithyasastraelaxutsahkrrm aemaetsilthrrmkepnsingthimnusysrangkhunphlngan aekikhThe Birth of Tragedy 1872 On Truth and Lies in a Nonmoral Sense 1873 Untimely Meditations 1876 Human All Too Human 1878 ephimetim 1879 1880 Daybreak 1881 The Gay Science 1882 khuxphcnasarathustra 1883 1885 Beyond Good and Evil 1886 On the Genealogy of Morality 1887 The Case of Wagner 1888 Twilight of the Idols 1888 The Antichrist 1888 Ecce Homo 1888 Nietzsche contra Wagner 1888 The Will to Power tnchbbyngimidtiphimph xangxing aekikh Anderson R Lanier 17 March 2017 Friedrich Nietzsche Stanford Encyclopedia of Philosophy Metaphysics Research Lab Stanford University Brobjer Thomas Nietzsche s philosophical context an intellectual biography p 42 University of Illinois Press 2008 Robert Matthews 4 May 2003 Madness of Nietzsche was cancer not syphilis The Daily Telegraph Kaufmann 1974 p 22 Wicks Robert 2014 Zalta Edward N b k Friedrich Nietzsche Winter 2014 ed Dale Wilkerson Friedrich Nietzsche Internet Encyclopedia of Philosophy ISSN 2161 0002 Retrieved 9 April 2018 Friedrich Nietzsche by Dale Wilkerson The Internet Encyclopedia of Philosophy ISSN 2161 0002 http www iep utm edu nietzch lingkesiy 14 October 2015 bthkhwamekiywkbchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title fridrich nithechx amp oldid 8223274, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม