fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาพม่า

ภาษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา (မြန်မာဘာသာ, MLCTS: myanma bhasa, [mjəmà bàðà]) เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษา โดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 34.5 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและเขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกูลอักษรพราหมี รหัส ISO 639 สำหรับภาษาพม่าคือ 'my' และรหัส SIL คือ BMS

ภาษาพม่า
မြန်မာဘာသာ
ออกเสียงmjànmà bàθà
ภูมิภาคพม่า ไทย บังกลาเทศ มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย ลาว สิงคโปร์
จำนวนผู้พูด34.5 ล้าน (ภาษาแม่) และภาษาที่สอง 10 ล้าน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรพม่า
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการพม่า
ผู้วางระเบียบคณะกรรมการภาษาเมียนมา
รหัสภาษา
ISO 639-1my
ISO 639-2bur (B)
mya (T)
ISO 639-3mya

ภาษาถิ่นและสำเนียง

ภาษาพม่ามาตรฐานคือสำเนียงย่างกุ้ง ภาษาถิ่นในพม่าภาคเหนือและภาคใต้จะต่างจากภาษากลาง ภาษาถิ่นในเขตยะไข่หรืออารกัน ยังมีเสียง /ร/ แต่สำเนียงย่างกุ้งออกเสียงเป็น /ย/ ภาษาพม่าแบ่งอย่างกว้าง ๆ ได้ 2 ระดับ คือระดับทางการใช้งานวรรณคดี งานราชการและวิทยุกระจายเสียง ระดับไม่เป็นทางการใช้ภายในครอบครัวและกับเพื่อน พระภิกษุชาวพม่ามักพูดกันเองด้วยภาษาบาลี ซึ่งได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนา

ระบบเสียง

พยัญชนะ

เสียงสัทอักษรพยัญชนะในภาษาพม่า (เสียงแปร) มีอยู่ด้วยกันดังต่อไปนี้

ริมฝีปากทั้งสอง ริมฝีปากล่าง-ฟันบน ปุ่มเหงือก หลังปุ่มเหงือก
และ เพดานแข็ง
เพดานอ่อน ผนังคอ ไม่มีที่
เสียงกัก และ เสียงผสมเสียดแทรก p b t d tɕʰ k ɡ ʔ  
เสียงนาสิก m n ɲ̥ ɲ ŋ̊ ŋ   ɴ
เสียงเสียดแทรก   θ (ð) s z ʃ   h  
เสียงเปิด   (ɹ) j (w̥) w  
เสียงข้างลิ้น   l  

การถอดเป็นอักษรโรมัน

ภาษาพม่าไม่มีระบบการถอดเป็นอักษรโรมันที่แน่นอน คำหลายคำสะกดต่างจากที่ออกเสียง เช่น คำว่าพระพุทธเจ้า ออกเสียงว่า pha-ya แต่เขียนว่า bu-ya การถอดภาษาพม่าเป็นอักษรโรมันจึงทำได้ยากแต่พอจะใช้การถอดเป็นอักษรโรมันของภาษาบาลีมาเทียบเคียงได้ หรือบางทีอาจใช้ระบบ MLCTS

ไวยากรณ์

การเรียงคำเป็นแบบ ประธาน-กรรม-กริยา ยกเว้นคำว่า ga (เป็น) ซึ่งจะวางต่อจากประธาน คำสรรพนามเปลี่ยนตามเพศและสถานะของผู้ฟัง เป็นภาษาพยางค์เดี่ยว แต่มีรากศัพท์และการเติมคำอุปสรรค การเรียงคำในประโยคไม่มีบุพบท สันธานแต่ใช้การเติมปัจจัย

คำคุณศัพท์

คำคุณศัพท์มาก่อนคำนาม เช่น chuo-dé lu (สวยงาม + dé + คน = คนสวย) หรือตามหลังนาม เช่น lu chuo (คนสวย) การเปรียบเทียบใช้คำอุปสรรค à-คำคุณศัพท์-ปัจจัย zon คำคุณศัพท์บอกจำนวน ตามหลังคำนาม

คำกริยา

รากศัพท์ของคำกริยามักเติมปัจจัยอย่างน้อย 1 ตัว เพื่อบอกกาล ความสุภาพ รูปแบบกริยา เป็นต้น ไม่มีการใช้คำสันธาน รูปกริยาไม่เปลี่ยนตามบุคคล จำนวน หรือเพศของประธาน ตัวอย่างเช่น คำกริยา sá (กิน) เป็น

  • sá-dè = กิน ปัจจัย dè ใช้แสดงปัจจุบันกาลหรือใช้เน้นย้ำ
  • sá-gè-dè = กินแล้ว ปัจจัย gè/kè แสดงอดีตแต่ไม่จำเป็นต้องใช้เสมอไป ปัจจัย dè ในที่นี้เป็นการเน้นย้ำ
  • sá-nei-dè = กำลังกิน nei เป็นอนุภาคแสดงว่าการกระทำนั้นกำลังเกิดขึ้น
  • sá-bi = กำลังกินอยู่ ปัจจัย bi นี้ใช้กับการกระทำที่ประธานเริ่มกระทำและยังไม่เสร็จสิ้น
  • sá-mè = จะกิน อนุภาค mè นี้ใช้แสดงอนาคตและยังไม่เกิดขึ้น
  • sá-daw-mè = จะกิน (ในไม่ช้า) อนุภาค daw ใช้กับเหตุการณ์ที่ใกล้จะเกิดขึ้น

คำนาม

คำนามภาษาพม่าทำให้เป็นพหูพจน์โดยเติมปัจจัย dei (หรือ tei ถ้ามีเสียงตัวสะกด) อาจใช้ปัจจัย myà ที่แปลว่ามากได้ด้วย ตัวอย่างเช่น nwá = วัว nwá- dei = วัวหลายตัว จะไม่ใช้ปัจจัยแสดงพหูพจน์เมื่อมีการแสดงการนับคำนาม เช่น เด็ก 5 คน ใช้ว่า kelei (เด็ก) ngá (5) yauk (คน)

ลักษณนาม

ภาษาพม่ามีลักษณนามเช่นเดียวกับภาษาจีน ภาษาไทย และภาษามลายู คำลักษณนามที่ใช้ทั่วไปได้แก่

  • bá ใช้กับคน (เฉพาะพระสงฆ์และแม่ชี)
  • hli ใช้กับสิ่งที่เป็นชิ้น เช่น ขนมปัง
  • kaung ใช้กับสัตว์
  • ku ใช้กับสิ่งไม่มีชีวิตโดยทั่วไป
  • kwet ใช้กับสิ่งที่บรรจุของเหลวเช่น ถ้วย
  • lóun ใช้กับวัตถุรุปกลม
  • pyá ใช้กับวัตถุแบน
  • sin หรือ zín ใช้กับสิ่งที่มีล้อ เช่นรถ
  • su ใช้กับกลุ่ม
  • ú ใช้กับคน (เป็นทางการ)
  • yauk ใช้กับคน (ไม่เป็นทางการ)

คำสรรพนาม

คำสรรพนามที่เป็นรูปประธานใช้ขึ้นต้นประโยค รูปกรรมจะมีปัจจัย –go ต่อท้าย ตัวอย่างคำสรพนาม เช่น

  • ฉัน เป็นทางการ ผู้ชายใช้ kyaw-naw ผู้หญิงใช้ kyaw-myaไม่เป็นทางการใช้ nga พูดกับพระสงฆ์ใช้ da-ga หรือ da-be-daw (หมายถึง นักเรียน)
  • เธอ ไม่เป็นทางการใช้ nei หรือ min เป็นทางการใช้ a-shin หรือ ka-mya
  • เรา ใช้ nga-do
  • พวกคุณ ใช้ nei-do
  • เขา ใช้ thu
  • พวกเขา ใช้ thu-do
  • มัน หรือ นั่น ใช้ (ai) ha

คำศัพท์

คำศัพท์ส่วนใหญ่มาจากภาษาตระกูลทิเบต-พม่า ศัพท์เกี่ยวกับศาสนา การศึกษา ปรัชญา รัฐบาลและศิลปะ ได้มาจากภาษาบาลีเป็นส่วนใหญ่ คำยืมจากภาษาอังกฤษมักเกี่ยวกับธุรกิจหรือการปกครองสมัยใหม่ คำยืมจากภาษาฮินดีมักเกี่ยวกับอาหารและการปรุงอาหาร

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาพม่า
  • Burmese at Ethnologue
  • Online Burmese lessons
  • Omniglot: Burmese Language
  • Burmese language resources จาก โรงเรียนตะวันออกและแอฟริกันศึกษา (School of Oriental and African Studies หรือ SOAS)
  • Online Burmese Bible
  • Myanmar Character Picker
  • Virtual Myanmar Keyboard

ภาษาพม, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, หร, ภาษาเม, ยนมา, mlcts, myan. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phasaphma hrux phasaemiynma မ န မ ဘ သ MLCTS myanma bhasa mjema bada epnphasarachkarkhxngpraethsphma cdxyuinintrakulphasayxythiebt phma xnepnsakhayxykhxngtrakulphasa odyepnphasaaemkhxngkhnpraman 34 5 lankhninphma aelaepnphasathisxngkhxngchnklumnxyinphma aelainpraethsxinediy praethsbngklaeths praethsmaelesiy praethsithy aelashrthxemrika phasaphmaepnphasathimiradbesiyng hruxwrrnyukt miwrrnyukt 4 esiyngaelaekhiynodyichxksrphma sungddaeplngcakxksrmxyxikthxdhnung aelacdepnsmachikintrakulxksrphrahmi rhs ISO 639 sahrbphasaphmakhux my aelarhs SIL khux BMSphasaphmaမ န မ ဘ သ xxkesiyngmjanma ba8aphumiphakhphma ithy bngklaeths maelesiy shrthxemrika shrachxanackr xxsetreliy law singkhoprcanwnphuphud34 5 lan phasaaem aelaphasathisxng 10 lan imphbwnthi trakulphasacin thiebt trakulphasayxythiebt phmaphasaklumphma ololphasaphmarabbkarekhiynxksrphmasthanphaphthangkarphasathangkarphmaphuwangraebiybkhnakrrmkarphasaemiynmarhsphasaISO 639 1myISO 639 2bur B mya T ISO 639 3myabthkhwamnimixksrphma hakimmikarsnbsnunkarernedxrthiehmaasm khunxacehnekhruxnghmaykhatham klxnghruxsylksnxunaethnxksrphma enuxha 1 phasathinaelasaeniyng 2 rabbesiyng 2 1 phyychna 3 karthxdepnxksrormn 4 iwyakrn 4 1 khakhunsphth 4 2 khakriya 4 3 khanam 4 4 lksnnam 4 5 khasrrphnam 5 khasphth 6 duephim 7 aehlngkhxmulxunphasathinaelasaeniyng aekikhphasaphmamatrthankhuxsaeniyngyangkung phasathininphmaphakhehnuxaelaphakhitcatangcakphasaklang phasathininekhtyaikhhruxxarkn yngmiesiyng r aetsaeniyngyangkungxxkesiyngepn y phasaphmaaebngxyangkwang id 2 radb khuxradbthangkarichnganwrrnkhdi nganrachkaraelawithyukracayesiyng radbimepnthangkarichphayinkhrxbkhrwaelakbephuxn phraphiksuchawphmamkphudknexngdwyphasabali sungidrbxiththiphlcakphuththsasnarabbesiyng aekikhphyychna aekikh esiyngsthxksrphyychnainphasaphma esiyngaepr mixyudwykndngtxipni rimfipakthngsxng rimfipaklang fnbn pumehnguxk hlngpumehnguxkaela ephdanaekhng ephdanxxn phnngkhx immithiesiyngkk aela esiyngphsmesiydaethrk pʰ p b tʰ t d tɕʰ tɕ dʑ kʰ k ɡ ʔ esiyngnasik m m n n ɲ ɲ ŋ ŋ ɴesiyngesiydaethrk 8 d sʰ s z ʃ h esiyngepid ɹ j w w esiyngkhanglin l l karthxdepnxksrormn aekikhphasaphmaimmirabbkarthxdepnxksrormnthiaennxn khahlaykhasakdtangcakthixxkesiyng echn khawaphraphuththeca xxkesiyngwa pha ya aetekhiynwa bu ya karthxdphasaphmaepnxksrormncungthaidyakaetphxcaichkarthxdepnxksrormnkhxngphasabalimaethiybekhiyngid hruxbangthixacichrabb MLCTSiwyakrn aekikhkareriyngkhaepnaebb prathan krrm kriya ykewnkhawa ga epn sungcawangtxcakprathan khasrrphnamepliyntamephsaelasthanakhxngphufng epnphasaphyangkhediyw aetmiraksphthaelakaretimkhaxupsrrkh kareriyngkhainpraoykhimmibuphbth snthanaetichkaretimpccy khakhunsphth aekikh khakhunsphthmakxnkhanam echn chuo de lu swyngam de khn khnswy hruxtamhlngnam echn lu chuo khnswy karepriybethiybichkhaxupsrrkh a khakhunsphth pccy zon khakhunsphthbxkcanwn tamhlngkhanam khakriya aekikh raksphthkhxngkhakriyamketimpccyxyangnxy 1 tw ephuxbxkkal khwamsuphaph rupaebbkriya epntn immikarichkhasnthan rupkriyaimepliyntambukhkhl canwn hruxephskhxngprathan twxyangechn khakriya sa kin epn sa de kin pccy de ichaesdngpccubnkalhruxichennya sa ge de kinaelw pccy ge ke aesdngxditaetimcaepntxngichesmxip pccy de inthiniepnkarennya sa nei de kalngkin nei epnxnuphakhaesdngwakarkrathannkalngekidkhun sa bi kalngkinxyu pccy bi niichkbkarkrathathiprathanerimkrathaaelayngimesrcsin sa me cakin xnuphakh me niichaesdngxnakhtaelayngimekidkhun sa daw me cakin inimcha xnuphakh daw ichkbehtukarnthiiklcaekidkhunkhanam aekikh khanamphasaphmathaihepnphhuphcnodyetimpccy dei hrux tei thamiesiyngtwsakd xacichpccy mya thiaeplwamakiddwy twxyangechn nwa ww nwa dei wwhlaytw caimichpccyaesdngphhuphcnemuxmikaraesdngkarnbkhanam echn edk 5 khn ichwa kelei edk nga 5 yauk khn lksnnam aekikh phasaphmamilksnnamechnediywkbphasacin phasaithy aelaphasamlayu khalksnnamthiichthwipidaek ba ichkbkhn echphaaphrasngkhaelaaemchi hli ichkbsingthiepnchin echn khnmpng kaung ichkbstw ku ichkbsingimmichiwitodythwip kwet ichkbsingthibrrcukhxngehlwechn thwy loun ichkbwtthurupklm pya ichkbwtthuaebn sin hrux zin ichkbsingthimilx echnrth su ichkbklum u ichkbkhn epnthangkar yauk ichkbkhn imepnthangkar khasrrphnam aekikh khasrrphnamthiepnrupprathanichkhuntnpraoykh rupkrrmcamipccy go txthay twxyangkhasrphnam echn chn epnthangkar phuchayich kyaw naw phuhyingich kyaw myaimepnthangkarich nga phudkbphrasngkhich da ga hrux da be daw hmaythung nkeriyn ethx imepnthangkarich nei hrux min epnthangkarich a shin hrux ka mya era ich nga do phwkkhun ich nei do ekha ich thu phwkekha ich thu do mn hrux nn ich ai hakhasphth aekikhkhasphthswnihymacakphasatrakulthiebt phma sphthekiywkbsasna karsuksa prchya rthbalaelasilpa idmacakphasabaliepnswnihy khayumcakphasaxngkvsmkekiywkbthurkichruxkarpkkhrxngsmyihm khayumcakphasahindimkekiywkbxaharaelakarprungxaharduephim aekikhxksrphma karthbsphthphasaphmaaehlngkhxmulxun aekikh wikiphiediy saranukrmesri inphasaphma Burmese at Ethnologue Online Burmese lessons Omniglot Burmese Language Burmese language resources cak orngeriyntawnxxkaelaaexfriknsuksa School of Oriental and African Studies hrux SOAS Online Burmese Bible Myanmar Character Picker Virtual Myanmar Keyboardekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaphma amp oldid 9098088, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม