fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษามลายูปัตตานี

วิกิมีเดีย อินคิวเบเตอร์ มีการทดสอบโครงการ:
วิกิพีเดียในภาษามลายูปัตตานี

ภาษามลายูปัตตานี หรือ ภาษามลายูปาตานี (มลายูปัตตานี: บาซอนายูตานิง; มลายู: Bahasa Melayu Patani, อักษรยาวี: بهاس ملاي ڤطاني) หรือนิยมเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ภาษายาวี (มลายูปัตตานี: บาซอญฺวี, บอซอยาวี, อักษรยาวี: بهاس جاوي) เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียนที่พูดโดยชาวไทยเชื้อสายมลายูในจังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา รวมทั้งในอำเภอนาทวี อำเภอจะนะ อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย ทางทิศตะวันออกของจังหวัดสงขลา (ไม่รวมจังหวัดสตูล) และในเขตฮูลูเปรักในรัฐเปรักของมาเลเซีย

ภาษามลายูปัตตานี
บาซอนายูตานิง หรือ แกแจะนายู
ออกเสียง/baˈsɔ ˈnːaju ˈtːaniŋ/
ประเทศที่มีการพูดไทย
ภูมิภาคจังหวัดปัตตานี, นราธิวาส, ยะลา บางส่วนของสงขลา และบางส่วนของรัฐเปรัก (อาจจรวมถึงรัฐกลันตัน)
จำนวนผู้พูด1 ล้านคน  (2549)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรยาวี, อักษรไทย, อักษรโรมัน
รหัสภาษา
ISO 639-3mfa (Pattani)

ในประเทศไทยมีประชากรที่พูดภาษานี้มากกว่า 1 ล้านคน ภาษานี้ใกล้เคียงมากกับภาษามลายูถิ่นในรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นภาษาถิ่นที่แตกต่างจากส่วนที่เหลือของประเทศมาเลเซีย บางครั้งก็มีการเรียกรวมกันเป็นภาษาเดียวกันว่า ภาษามลายูกลันตัน-ปัตตานี (มลายูปัตตานี: บาซอนายูกือลาแต-ตานิง, กลันตัน: Baso nayu Kelate-Taning)

ระบบเสียง

พยัญชนะ

หน่วยเสียงพยัญชนะมลายูปัตตานี
ประเภทเสียง ตำแหน่งเกิดเสียง
ริมฝีปาก ริมฝีปาก
กับฟัน
ปุ่มเหงือก เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียง
เสียงนาสิก m n ɲ ŋ
เสียงกึ่งนาสิก mb nd ɲɟ ŋg
เสียงกัก ไม่ก้อง ไม่พ่นลม p t c k ʔ
พ่นลม (pʰ) (tʰ) (cʰ) (kʰ)
ก้อง b d ɟ g
เสียงเสียดแทรก ไม่ก้อง (f) s (x) h
ก้อง (z) ɣ
เสียงลิ้นรัว r
เสียงข้างลิ้น l
เสียงกึ่งสระ w j


  • หน่วยเสียงที่อยู่ในวงเล็บคือหน่วยเสียงที่ปรากฏในคำยืม เช่น /eʔ/ 'เค้ก', /orasaʔ/ 'โทรศัพท์'
  • หน่วยเสียงที่ปรากฏในตำแหน่งท้ายพยางค์มี 3 หน่วยเสียง ได้แก่ /ŋ/, /ʔ/ และ /h/ เช่น /tɨpoŋ/ 'ขนม', /kɔtɔʔ/ 'กล่อง', /panah/ 'ร้อน'
  • หน่วยเสียงพยัญชนะกึ่งนาสิกเป็นหน่วยเสียงที่ไม่พบทั้งในภาษามาเลเซียและภาษาไทย เกิดจากการรวบเสียงพยัญชนะนาสิกเข้ากับเสียงพยัญชนะกักซึ่งใช้ฐานกรณ์เดียวกันหรือใกล้เคียงกันจนกลมกลืนเป็นเสียงเดียว โดยเกิดเฉพาะในตำแหน่งกลางคำเท่านั้น ตัวอย่างคู่เทียบเสียงได้แก่ /kɨmæ/ 'ไมยราบ' - /kɨmbæ/ 'บาน', /kanæ/ 'ขวา' - /kandæ/ 'คอก' และ /tuŋa/ 'ไร' - /tuŋga/ 'โทน, โดด'
  • นอกจากหน่วยเสียงพยัญชนะข้างต้นแล้ว ภาษามลายูปัตตานียังมีหน่วยเสียงพยัญชนะเสียงยาว ซึ่งก็คือเสียงพยัญชนะต้นที่ถูกยืดให้ยาวกว่าปกติเล็กน้อยเนื่องมาจากการลดรูปของคำ การยืดเสียงเช่นนี้เกิดได้กับพยัญชนะทุกหน่วยเสียง ยกเว้น /ʔ/, /h/ และหน่วยเสียงพยัญชนะกึ่งนาสิก ตัวอย่างคู่เทียบเสียงได้แก่ /buŋɔ/ 'ดอกไม้' - /uŋɔ/ 'ออกดอก' และ /malæ/ 'กลางคืน' - /alæ/ 'ค้างคืน'

สระ

หน่วยเสียงสระเดี่ยวภาษามลายูปัตตานี
ประเภท สระหน้า สระกลางลิ้น สระหลัง
สระสูง i ɨ u, ũ
สระกึ่งสูง e o
สระกึ่งต่ำ æ, æ̃ ɔ, ɔ̃
สระต่ำ a, ã

คำยืม

นอกจากคำศัพท์พื้นฐานของภาษามลายูแล้ว ภาษามลายูปัตตานีมีคำยืมจากภาษาอื่นหลายภาษา ได้แก่

  • ภาษาสันสกฤต เข้ามาพร้อมกับศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ์ฮินดู เช่น ภาษา เป็น บาฮาซอ หรือ บาซอ, หฤทยะ (ใจ) เป็น ฮาตี (ตับ, ใจ), คช (ช้าง) เป็น ฆฺเย๊าะห์,ชัย (ชัยชนะ) เป็น จายอ (เจริญ), โทษ (ความชั่ว) เป็น ดอซอ (บาป), วาจา (คำพูด) เป็น บาจอ (อ่าน), นคร (เมือง) เป็น เนฆือรฺ (ประเทศ)
  • ภาษาอาหรับ เข้ามาพร้อมกับศาสนาอิสลาม เช่น قلم /กอลัม/ (ปากกา) เป็น กาแล, تمر /ตะมัร/ (อินทผาลัม) เป็น ตามา, عالم /อาลัม/ (โลก) เป็น อาแล, تفاحة /ฏุฟฟาห์/ (แอปเปิ้ล) เป็น ตอเปาะห์, وقت /วักตู/ (เวลา) เป็น วะกือตู, กีตาบ (หนังสือ) เป็น กีตะ (คัมภีร์ทางศาสนาอิสลาม), دنيا /ดุนยา/ (โลก) เป็น ดุนิยอ
  • ภาษาเขมร เช่น กำปง (หมู่บ้าน) เป็น กาปง
  • ภาษาจีน เช่น กุยช่าย เป็น กูจา
  • ภาษาเปอร์เซีย เช่น มะตับ (แสงจันทร์) เป็น มะตับ, ฆันดุม (แป้ง) เป็น ฆฺนง
  • ภาษาฮินดี เช่น โรตี เป็น รอตี
  • ภาษาทมิฬ เช่น มานิกัม (เพชร) เป็น มานิแก
  • ภาษาอังกฤษ เช่น Glass (แก้ว) เป็น ฆฺอละห์, Free (ฟรี) เป็น ปือรี, Motorcycle (มอเตอร์ไซค์) เป็น มูตู-ซีกา
  • ภาษาไทย เช่น นายก เป็น นาโย๊ะ, ปลัด เป็น บือละ, มักง่าย เป็น มะงา โทรศัพท์ เป็น โทราสะ

ความแตกต่างระหว่างภาษามลายูปัตตานีกับภาษามาเลเซีย

ความแตกต่างระหว่างภาษามลายูปัตตานีกับภาษามลายูกลางหรือภาษามาเลเซียมีดังนี้

การใช้คำ

บางคำทั้งสองภาษาใช้คำต่างกัน เช่น ฉัน ภาษามาเลเซียใช้ saya ภาษามลายูปัตตานีใช้ อามอ หรือ ซายอ; มันเทศ ภาษามาเลเซียใช้ ubi keledek ภาษามลายูปัตตานีใช้ อูบีกือแตลอ หรือ อูบีแตลอ; ภาษามาเลเซียใช้ kacap ภาษามลายูปัตตานีใช้ แกแจะ นอกจากนี้ ยังมีการใช้คำภาษาไทยปะปนเข้ามาในบางส่วน

การออกเสียง

  • ออกเสียงสระต่างกัน ได้แก่
    • เสียง /a/ + พยัญชนะนาสิกในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ɛ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น ayam (ไก่) เป็น อาย; makan (กิน) เป็น มา
    • เสียง /a/ ท้ายคำในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ɔ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น nama (ชื่อ) เป็น นาม; sila (เชิญ) เป็น ซีล
    • เสียง /a/ ในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ɔʔ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น bawa (พา) เป็น บอาะ; minta (ขอ) เป็น มีาะ
    • เสียง /ah/ ในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ɔh/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น rumah (บ้าน) เป็น รูาะฮ
    • เสียง /aj/ ท้ายคำในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /a/ หรือ /ɛ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น sungai (คลอง) เป็น ซูงหรือซูง; kedai (ตลาด) เป็น กือดหรือกือด (การแปรเป็นเสียง /ɛ/ พบในบางท้องถิ่นเท่านั้น)
    • เสียง /aw/ ท้ายคำในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /a/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น pisau (มีด) เป็น ปีซ
    • เสียง /i/ ท้ายคำที่ประสมกับพยัญชนะนาสิกในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /iŋ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น sini (ที่นั่ง) เป็น ซีนิง
    • เสียง /ia/ ในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ijɛ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น Siam (สยาม) เป็น ซีแย
    • เสียง /ia/ พยางค์แรกในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ɛ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น biasa (เคย) เป็น บซอ
    • เสียง /ua/ ในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ɔ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น puasa (บวช) เป็น ปซอ
  • ออกเสียงพยัญชนะต้นต่างกัน เช่น
    • เสียง /r/ ในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ɣ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น 'orang (คน) เป็น ออแรฺ, rantai (โซ่) เป็น รฺาตา
  • ออกเสียงตัวสะกดต่างกัน เช่น
    • ตัวสะกดที่เป็นเสียงเสียดแทรก /s/, /f/ ในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียงที่เกิดจากคอหอย /h/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น malas (เกียจคร้าน) เป็น มาละ
    • ตัวสะกด /n/, /m/ ในภาษามาเลเซีย แปรเป็นเสียง /ŋ/ ในภาษามลายูปัตตานี เช่น hakim (ตุลาการ) เป็น ฮาเก็

นอกจากนั้นภาษามลายูปัตตานียังนิยมลดเสียงและคำที่พูด เช่น emak saudara (น้าผู้หญิง) ในภาษามาเลเซีย เป็น เมาะซือดารฺอ ในภาษามลายูปัตตานี

โครงสร้างประโยค

ภาษามลายูปัตตานีนิยมเรียงประโยคแบบภาษาไทยคือใช้รูปประธานกระทำ ส่วนภาษามาเลเซียใช้ประโยคแบบประธานถูกกระทำ เช่น ภาษามลายูใช้ ตูวัน ดีเปอรานะกัน ตีมานา (ท่านถูกเกิดที่ไหน) ภาษามลายูปัตตานีใช้ ตูแว บือราเนาะ ดีมานอ (ท่านเกิดที่ไหน)

ความต่างของไวยากรณ์และคำศัพท์

  • ภาษามลายูปัตตานีตัดคำอุปสรรคที่ไม่จำเป็นออก เช่น berjalan (เดิน) ในภาษามาเลเซีย เป็น 'ยฺแล ในภาษามลายูปัตตานี
  • ภาษามลายูปัตตานีใช้คำง่ายกว่า เช่น มาแก ใช้ได้ทั้ง กินข้าว ดื่มน้ำ สูบบุหรี่ แต่ภาษามาเลเซียแยกเป็น makan (กิน), minum (ดื่ม) และ hisap (สูบ)
  • ภาษามาเลเซียมีการแยกระดับของคำมากกว่า เช่น ผู้ชายใช้ laki-laki สัตว์ตัวผู้ใช้ jantan ส่วนภาษามลายูปัตตานีใช้ ยฺแต กับทั้งคนและสัตว์ ส่วน ลือลากี มีใช้น้อย
  • ภาษามลายูปัตตานีมีการเรียงคำแบบภาษาไทยมากกว่า เช่น ทำนา ใช้ บูวะบือแ

อ้างอิง

  1. http://www.ethnologue.com/language/mfa
  2. ราชบัณฑิตยสถาน. คู่มือระบบเขียนภาษามลายูปาตานีอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2553, หน้า 20.
  3. ราชบัณฑิตยสถาน. คู่มือระบบเขียนภาษามลายูปาตานีอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2553, หน้า 24.
  4. ประพนธ์, 2540
  5. ประพนธ์, 2540
  • ประพนธ์ เรืองณรงค์. บุหงาปัตตานี: คติชนไทยมุสลิมชายแดนภาคใต้. กทม. มติชน. 2540

ภาษามลาย, ตตาน, เด, นค, วเบเตอร, การทดสอบโครงการ, เด, ยใน, หร, ภาษามลาย, ปาตาน, มลาย, ตตาน, บาซอนาย, ตาน, มลาย, bahasa, melayu, patani, กษรยาว, بهاس, ملاي, ڤطاني, หร, อน, ยมเร, ยกอย, างไม, เป, นทางการว, ภาษายาว, มลาย, ตตาน, บาซอญ, บอซอยาว, กษรยาว, بهاس, جاوي, . wikimiediy xinkhiwebetxr mikarthdsxbokhrngkar wikiphiediyinphasamlayupttani phasamlayupttani hrux phasamlayupatani mlayupttani basxnayutaning mlayu Bahasa Melayu Patani xksryawi بهاس ملاي ڤطاني hruxniymeriykxyangimepnthangkarwa phasayawi mlayupttani basxy wi bxsxyawi xksryawi بهاس جاوي epnphasaklumxxsotrniesiynthiphudodychawithyechuxsaymlayuincnghwdpttani cnghwdnrathiwas cnghwdyala rwmthnginxaephxnathwi xaephxcana xaephxethpha aelaxaephxsabayxy thangthistawnxxkkhxngcnghwdsngkhla imrwmcnghwdstul aelainekhthulueprkinrtheprkkhxngmaelesiyphasamlayupttanibasxnayutaning hrux aekaecanayuxxkesiyng baˈsɔ ˈnːaju ˈtːaniŋ praethsthimikarphudithyphumiphakhcnghwdpttani nrathiwas yala bangswnkhxngsngkhla aelabangswnkhxngrtheprk xaccrwmthungrthklntn canwnphuphud1 lankhn 1 2549 trakulphasaxxsotrniechiyn malaoy ophliniesiymalaoy ophliniesiysunyklangmalaoy sumbawamaelyxikmalaynphasamlayupttanirabbkarekhiynxksryawi xksrithy 1 xksrormnrhsphasaISO 639 3mfa Pattani inpraethsithymiprachakrthiphudphasanimakkwa 1 lankhn phasaniiklekhiyngmakkbphasamlayuthininrthklntn praethsmaelesiy sungepnphasathinthiaetktangcakswnthiehluxkhxngpraethsmaelesiy bangkhrngkmikareriykrwmknepnphasaediywknwa phasamlayuklntn pttani mlayupttani basxnayukuxlaaet taning klntn Baso nayu Kelate Taning enuxha 1 rabbesiyng 1 1 phyychna 1 2 sra 2 khayum 3 khwamaetktangrahwangphasamlayupttanikbphasamaelesiy 3 1 karichkha 3 2 karxxkesiyng 3 3 okhrngsrangpraoykh 3 4 khwamtangkhxngiwyakrnaelakhasphth 4 xangxingrabbesiyng aekikhphyychna aekikh hnwyesiyngphyychnamlayupttani 2 praephthesiyng taaehnngekidesiyngrimfipak rimfipakkbfn pumehnguxk ephdanaekhng ephdanxxn esnesiyngesiyngnasik m n ɲ ŋesiyngkungnasik mb nd ɲɟ ŋgesiyngkk imkxng imphnlm p t c k ʔphnlm pʰ tʰ cʰ kʰ kxng b d ɟ gesiyngesiydaethrk imkxng f s x hkxng z ɣesiynglinrw resiyngkhanglin lesiyngkungsra w j hnwyesiyngthixyuinwngelbkhuxhnwyesiyngthipraktinkhayum echn kʰeʔ ekhk tʰorasaʔ othrsphth hnwyesiyngthipraktintaaehnngthayphyangkhmi 3 hnwyesiyng idaek ŋ ʔ aela h echn tɨpoŋ khnm kɔtɔʔ klxng panah rxn hnwyesiyngphyychnakungnasikepnhnwyesiyngthiimphbthnginphasamaelesiyaelaphasaithy ekidcakkarrwbesiyngphyychnanasikekhakbesiyngphyychnakksungichthankrnediywknhruxiklekhiyngkncnklmklunepnesiyngediyw odyekidechphaaintaaehnngklangkhaethann twxyangkhuethiybesiyngidaek kɨmae imyrab kɨmbae ban kanae khwa kandae khxk aela tuŋa ir tuŋga othn odd nxkcakhnwyesiyngphyychnakhangtnaelw phasamlayupttaniyngmihnwyesiyngphyychnaesiyngyaw sungkkhuxesiyngphyychnatnthithukyudihyawkwapktielknxyenuxngmacakkarldrupkhxngkha karyudesiyngechnniekididkbphyychnathukhnwyesiyng ykewn ʔ h aelahnwyesiyngphyychnakungnasik twxyangkhuethiybesiyngidaek buŋɔ dxkim bːuŋɔ xxkdxk aela malae klangkhun mːalae khangkhun sra aekikh hnwyesiyngsraediywphasamlayupttani 3 praephth srahna sraklanglin srahlngsrasung i ɨ u ũsrakungsung e osrakungta ae ae ɔ ɔ srata a akhayum aekikhnxkcakkhasphthphunthankhxngphasamlayuaelw phasamlayupttanimikhayumcakphasaxunhlayphasa idaek 4 phasasnskvt ekhamaphrxmkbsasnaphuththaelasasnaphrahmnhindu echn phasa epn bahasx hrux basx hvthya ic epn hati tb ic khch chang epn kh eyaah chy chychna epn cayx ecriy oths khwamchw epn dxsx bap waca khaphud epn bacx xan nkhr emuxng epn enkhuxr praeths phasaxahrb ekhamaphrxmkbsasnaxislam echn قلم kxlm pakka epn kaael تمر tamr xinthphalm epn tama عالم xalm olk epn xaael تفاحة tuffah aexpepil epn txepaah وقت wktu ewla epn wakuxtu kitab hnngsux epn kita khmphirthangsasnaxislam دنيا dunya olk epn duniyx phasaekhmr echn kapng hmuban epn kapng phasacin echn kuychay epn kuca phasaepxresiy echn matb aesngcnthr epn matb khndum aepng epn kh nng phasahindi echn orti epn rxti phasathmil echn manikm ephchr epn maniaek phasaxngkvs echn Glass aekw epn kh xlah Free fri epn puxri Motorcycle mxetxriskh epn mutu sika phasaithy echn nayk epn naoya pld epn buxla mkngay epn manga othrsphth epn othrasakhwamaetktangrahwangphasamlayupttanikbphasamaelesiy aekikhkhwamaetktangrahwangphasamlayupttanikbphasamlayuklanghruxphasamaelesiymidngni 5 karichkha aekikh bangkhathngsxngphasaichkhatangkn echn chn phasamaelesiyich saya phasamlayupttaniich xamx hrux sayx mneths phasamaelesiyich ubi keledek phasamlayupttaniich xubikuxaetlx hrux xubiaetlx phasamaelesiyich kacap phasamlayupttaniich aekaeca nxkcakni yngmikarichkhaphasaithypapnekhamainbangswn karxxkesiyng aekikh xxkesiyngsratangkn idaek esiyng a phyychnanasikinphasamaelesiy aeprepnesiyng ɛ inphasamlayupttani echn ayam ik epn xaaey makan kin epn maaek esiyng a thaykhainphasamaelesiy aeprepnesiyng ɔ inphasamlayupttani echn nama chux epn namx sila echiy epn silx esiyng a inphasamaelesiy aeprepnesiyng ɔʔ inphasamlayupttani echn bawa pha epn bxewaa minta khx epn mietaa esiyng ah inphasamaelesiy aeprepnesiyng ɔh inphasamlayupttani echn rumah ban epn ruemaah esiyng aj thaykhainphasamaelesiy aeprepnesiyng a hrux ɛ inphasamlayupttani echn sungai khlxng epn sungahruxsuaeng kedai tlad epn kuxdahruxkuxaed karaeprepnesiyng ɛ phbinbangthxngthinethann esiyng aw thaykhainphasamaelesiy aeprepnesiyng a inphasamlayupttani echn pisau mid epn pisa esiyng i thaykhathiprasmkbphyychnanasikinphasamaelesiy aeprepnesiyng iŋ inphasamlayupttani echn sini thinng epn sining esiyng ia inphasamaelesiy aeprepnesiyng ijɛ inphasamlayupttani echn Siam syam epn siaey esiyng ia phyangkhaerkinphasamaelesiy aeprepnesiyng ɛ inphasamlayupttani echn biasa ekhy epn aebsx esiyng ua inphasamaelesiy aeprepnesiyng ɔ inphasamlayupttani echn puasa bwch epn pxsx xxkesiyngphyychnatntangkn echn esiyng r inphasamaelesiy aeprepnesiyng ɣ inphasamlayupttani echn orang khn epn xxaer rantai os epn r ata xxkesiyngtwsakdtangkn echn twsakdthiepnesiyngesiydaethrk s f inphasamaelesiy aeprepnesiyngthiekidcakkhxhxy h inphasamlayupttani echn malas ekiyckhran epn malah twsakd n m inphasamaelesiy aeprepnesiyng ŋ inphasamlayupttani echn hakim tulakar epn haekngnxkcaknnphasamlayupttaniyngniymldesiyngaelakhathiphud echn emak saudara naphuhying inphasamaelesiy epn emaasuxdar x inphasamlayupttani okhrngsrangpraoykh aekikh phasamlayupttaniniymeriyngpraoykhaebbphasaithykhuxichrupprathankratha swnphasamaelesiyichpraoykhaebbprathanthukkratha echn phasamlayuich tuwn diepxranakn timana thanthukekidthiihn phasamlayupttaniich tuaew buxraenaa dimanx thanekidthiihn khwamtangkhxngiwyakrnaelakhasphth aekikh phasamlayupttanitdkhaxupsrrkhthiimcaepnxxk echn berjalan edin inphasamaelesiy epn y ael inphasamlayupttani phasamlayupttaniichkhangaykwa echn maaek ichidthng kinkhaw dumna subbuhri aetphasamaelesiyaeykepn makan kin minum dum aela hisap sub phasamaelesiymikaraeykradbkhxngkhamakkwa echn phuchayich laki laki stwtwphuich jantan swnphasamlayupttaniich y aet kbthngkhnaelastw swn luxlaki miichnxy phasamlayupttanimikareriyngkhaaebbphasaithymakkwa echn thana ich buwabuxaenxangxing aekikh 1 0 1 1 http www ethnologue com language mfa rachbnthitysthan khumuxrabbekhiynphasamlayupatanixksrithy chbbrachbnthitysthan krungethph rachbnthitysthan 2553 hna 20 rachbnthitysthan khumuxrabbekhiynphasamlayupatanixksrithy chbbrachbnthitysthan krungethph rachbnthitysthan 2553 hna 24 praphnth 2540 praphnth 2540 praphnth eruxngnrngkh buhngapttani khtichnithymuslimchayaednphakhit kthm mtichn 2540ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasamlayupttani amp oldid 9320770, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม