fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษายิดดิช

ภาษายิดดิช (ייִדיש Yidish, แปลว่า "ยิว") เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกซึ่งเป็นภาษาของชาวยิวอัชเคนาซิ มีผู้พูดทั่วโลก 3 ล้านคน เขียนด้วยอักษรฮีบรู กำเนิดจากวัฒนธรรมอัชเคนาซิ ที่พัฒนาขึ้นเมื่อราวพ.ศ. 1500 ในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก และแพร่กระจายไปยังประเทศอื่นด้วยการอพยพ ในครั้งแรกเรียกภาษานี้ว่า loshn-ashkenaz (ภาษาอาสเกนาซี) ในด้านการใช้ ภาษานี้เรียก mame-loshn (สำเนียงแม่) เพื่อให้ต่างจากภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิกที่เรีกว่า loshn-koydesh (สำเนียงศักดิ์สิทธิ์) คำว่า”ยิดดิช” เริ่มใช้เมื่อราว พ.ศ. 2300 แบ่งเป็นสองสำเนียงคือยิดดิชตะวันตกกับยิดดิชตะวันออก สำเนียงตะวันออกยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ต่างจากสำเนียงตะวันตกที่มีอิทธิพลจากภาษากลุ่มสลาวิก

ภาษายิดดิช
ייִדיש Yiddish
ออกเสียง/ˈjidiʃ/
ประเทศที่มีการพูดสหรัฐอเมริกา, สหราชอาณาจักร, ลิทัวเนีย, รัสเซีย, อิสราเอล, ยูเครน, มอลโดวา, เบลารุส, เบลเยียม, เยอรมนี, แคนาดา, บราซิล, อาร์เจนตินา, เม็กซิโก, ออสเตรเลีย และ อื่นๆ
จำนวนผู้พูด3 ล้านคน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรฮีบรูดัดแปลง
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการเขตปกครองตนเองชาวยิวออบลาสต์ ในรัสเซีย (ในทางนิตินัย); ภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในสวีเดน, เนเธอร์แลนด์, และ มอลโดวา
ผู้วางระเบียบไม่มี;
YIVO (ในทางพฤตินัย)
รหัสภาษา
ISO 639-1yi
ISO 639-2yid
ISO 639-3มีหลากหลาย:
yid — ภาษายิดดิช (ทั่วไป)
ydd — ภาษายิดดิชตะวันออก
yih — ภาษายิดดิชตะวันตก

ประวัติ

วัฒนธรรมอาสเกนาซีมีรากฐานในช่วงพ.ศ. 1500 ในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ชื่อนี้มาจาก Ashkenaz ชื่อของชาวยิวในยุคกลางในเขตที่ปัจจุบันอยุ่ในประเทศเยอรมัน ชนกลุ่มนี้เข้ากับชาวคริสต์ในเยอรมันไม่ได้สนิท ดินแดนนี้รวมถึงตอนเหนือของฝรั่งเศสไปจนถึงขอบเขตชาวยิวเชื้อสายสเปนที่กินพื้นที่เข้ามาถึงฝรั่งเศสตอนใต้ ต่อมาเขตนี้ได้ขยายออกไปทางตะวันออกด้วย

ภาษาแรกของชาวยิวในยุโรปคือภาษาอราเมอิก (Kast, 2004) ซึ่งเป็นภาษาของชาวยิวในปาเลสไตน์และเมโสโปเตเมีย ในสมัยโรมัน ชาวยิวในโรมและอิตาลีใต้ใช้ภาษากรีก ซึ่งต่อมาได้มีอิทธิพลต่อภาษายิดดิชด้วย ผู้พูดในอาสเกนาซีได้รับอิทธิพลจากภาษาเยอรมันจนถือว่าเป็นสำเนียงของภาษาเยอรมัน

หลักฐานการเขียน

 
หน้าจากShemot Devarim, พจนานุกรมภาษายิดดิช-ฮีบรู-ละติน-เยอรมัน ตีพิมพ์โดย Elia Levita เมื่อ พ.ศ. 2085

หลักฐานเก่าสุดเป็นหนังสือภาษาฮีบรูในพ.ศ. 1815 ซึ่งมีคำจากภาษาเยอรมันปนอยู่น้อย คำจากภาษาเยอรมันเริ่มเข้ามามากในช่วงพ.ศ. 1900 – 2000

การใช้ในทางโลก

ภาษายิดดิชตะวันตกมีการใช้น้อยลงในช่วง พ.ศ. 2300 ซึ่งเนื่องมาจากการที่ผู้พูดภาษาเยอรมันมองว่าภาษายิดดิชเป็นภาษาที่ถูกบิดเบือน และจากการฟื้นตัวขึ้นอีกครั้งของภาษาฮีบรู ทำให้ภาษายิดดิชตะวันตกเหลือใช้แต่ในผู้ที่สนิทกันเท่านั้น ในทางตะวันออกที่ส่วนใหญ่ชาวยิวยังเป็นทาส ยิดดิชเป็นคำที่นักวิชาการใช้แสดงถึงความเป็นยิว ในช่วง พ.ศ. 2433 – 2453 จัดเป็นยุคทองของวรรณกรรมยิดดิช ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกับการพัฒนาของภาษาฮีบรูใหม่ เพื่อใช้เป็นภาษาพูดและคำบางคำมีอิทธิพลต่อภาษายิดดิช

พุทธศตวรรษที่ 25

ในช่วงพ.ศ. 2443 ภาษายิดดิชปรากฏชัดในฐานะของภาษาหลักในยุโรปตะวันออก มีการใช้ในวรรณคดีและภาพยนตร์มาก เป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของรัฐไบโลรัสเซียในโซเวียต การศึกษาของชาวยิวในหลายประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ใช้ภาษายิดดิชมากขึ้น (โดยเฉพาะในโปแลนด์) มีการตั้งสมาคมวิทยาศาสตร์ยิดดิช เมื่อ พ.ศ. 2468 และเป็นภาษากลางของชาวยิวในยุโรปตะวันออก ซึ่งปฏิเสธลัทธิไซออนิสต์ และต้องการรักษาวัฒนธรรมยิวไว้ในยุโรป ส่วนภาษาฮีบรูสมัยใหม่เป็นภาษาหลักของชาวยิวในขบวนการไซออนิสต์

ในสงครามโลกครั้งที่ 2 มีผู้พูดภาษายิดดิชราว 11 – 13 ล้านคน (Jacobs, 2005) การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิวลดจำนวนผู้พูดภาษายิดดิชลงไปมาก งานทางวิชาการและศาสนาที่ใช้ภาษายิดดิชถูกทำลาย ผู้พูดภาษายิดดิชรอดชีวิตเพียงราวล้านคน (ส่วนใหญ่อยู่ในอเมริกา) และจากความเข้มงวดในการใช้ภาษาเดียวของขบวนการไซออนิสต์ทำให้ผู้พูดภาษายิดดิชลดจำนวนลง เหมือนที่ภาษายิดดิชตะวันตกเคยเป็นมาก่อน

ในปัจจุบัน ภาษายิดดิชเป็นภาษาของชนส่วนน้อยในมอลโดวา และสวีเดน แต่จำนวนผู้พูดยังมีรายงานที่แตกต่างกัน ข้อมูลล่าสุดเท่าที่หาได้คือ

  • อิสราเอล 215,000 คน (6% ของชาวยิวทั้งหมด; ข้อมูล พ.ศ. 2529)
  • สหรัฐ 178,945 คน (2.8% ของชาวยิวทั้งหมด; ข้อมูล พ.ศ. 2543) ในจำนวนนี้ อายุมากกว่า 65 ปีมี 72,885 คน และอายุต่ำกว่า 18 ปีมี 39,245 คน
  • อดีตรัฐในสหภาพโซเวียต 29,998 คน (13% ของชาวยิวทั้งหมด; ข้อมูล พ.ศ. 2545)
  • มอลโดวา 17,000 คน (26% ของชาวยิวทั้งหมด; ข้อมูล พ.ศ. 2532)
  • ยูเครน 3,213 คน (3.1%ของชาวยิวทั้งหมด; ข้อมูล พ.ศ. 2544)
  • เบลารุส 1,979 คน (7.1% ของชาวยิวทั้งหมด; ข้อมูล พ.ศ. 2542)
  • ลัตเวีย 825 คน (7.9% ของชาวยิวทั้งหมด)
  • ลิทัวเนีย570 คน (14.2% ของชาวยิวทั้งหมด)
  • เอสโตเนีย 124 คน (5.8% ของชาวยิวทั้งหมด)
  • แคนาดา 19,295 คน (5.5% ของชาวยิวทั้งหมด; ข้อมูล พ.ศ. 2544)
  • โรมาเนีย 951 คน (16.4% ของชาวยิวทั้งหมด)

ภาษายิดดิชมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในพุทธศตวรรษนี้ ผู้พูดในอิสราเอลจะยืมคำจากภาษาฮีบรู ส่วนผู้พูดในสหรัฐและอังกฤษจะยืมคำจากภาษาอังกฤษทำให้การสื่อสารระหว่างผู้พูดภาษายิดดิชที่อยู่คนละประเทศทำได้ยากขึ้น

ชุมชนทางศาสนา

ชุมขนชาวฮาเรคิมใช้ภาษายิดดิชในพิธีกรรมทางศาสนา แม้ว่าจะพูดภาษาฮีบรูได้ และสนับสนุนให้บุตรหลานเรียนภาษายิดดิช มีการแปลคัมภีร์เป็นภาษายิดดิชด้วย

อ้างอิง

  1. Yiddish, Eastern, on Ethnologue. Accessed online 17 October 2006.
  • Baumgarten, Jean (transl. and ed. Jerold C. Frakes), Introduction to Old Yiddish Literature, Oxford University Press, Oxford, 2005, ISBN 0-19-927633-1.
  • Birnbaum, Solomon, Yiddish - A Survey and a Grammar, Toronto, 1979
  • Fishman, David E., The Rise of Modern Yiddish Culture, University of Pittsburgh Press, Pittsburgh, 2005, ISBN 0-8229-4272-0.
  • Fishman, Joshua A. (ed.), Never Say Die: A Thousand Years of Yiddish in Jewish Life and Letters, Mouton Publishers, The Hague, 1981, ISBN 90-279-7978-2 (in Yiddish and English).
  • Frakes, Jerold C., Early Yiddish Texts 1100-1750, Oxford University Press, Oxford, 2004, ISBN 0-19-926614-X.
  • Herzog, Marvin, et.al. ed., YIVO, The Language and Culture Atlas of Ashkenazic Jewry, 3 vols., Max Niemeyer Verlag, Tubingen, 1992-2000, ISBN 3-484-73013-7.
  • Jacobs, Neil G. Yiddish: a Linguistic Introduction, Cambridge University Press, Cambridge, 2005, ISBN 0-521-77215-X.
  • Katz, Dovid, Words on Fire: The Unfinished Story of Yiddish, Basic Books, New York, 2004, ISBN 0-465-03728-3.
  • Kriwaczek, Paul, Yiddish Civilization: The Rise and Fall of a Forgotten Nation, Weidenfeld & Nicolson, London, 2005, ISBN 0-297-82941-6.
  • Lansky, Aaron, Outwitting History: How a Young Man Rescued a Million Books and Saved a Vanishing Civilisation, Algonquin Books, Chapel Hill, 2004, ISBN 1-56512-429-4.
  • Liptzin, Sol, A History of Yiddish Literature, Jonathan David Publishers, Middle Village, NY, 1972, ISBN 0-8246-0124-6.
  • Shandler, Jeffrey, Adventures in Yiddishland: Postvernacular Language and Culture, University of California Press, Berkeley, 2006, ISBN 0-520-24416-8.
  • Weinreich, Uriel. College Yiddish: an Introduction to the Yiddish language and to Jewish Life and Culture, 6th revised ed., YIVO Institute for Jewish Research, New York, 1999, ISBN 0-914512-26-9 (in Yiddish and English).
  • Weinstein, Miriam, Yiddish: A Nation of Words, Ballantine Books, New York, 2001, ISBN 0-345-44730-1.
  • Wex, Michael, Born to Kvetch: Yiddish Language and Culture in All Its Moods, St. Martin's Press, New York, 2005, ISBN 0-312-30741-1.
  • Wexler, Paul, Two-Tiered Relexification in Yiddish: Jews, Sorbs, Khazars, and the Kiev-Polessian Dialect, Berlin, New York, Mouton de Gruyter, 2002, ISBN 3-11-017258-5.
  • [Katz, Hirshe-Dovid] 1992. Code of Yiddish spelling ratified in 1992 by the programmes in Yiddish language and literature at Bar Ilan University, Oxford University Tel Aviv University, Vilnius University. Oxford: Oksforder Yidish Press in cooperation with the Oxford Centre for Postgraduate Hebrew Studies. (כלל–תקנות פון יידישן אויסלייג. 1992. אקספארד: אקספארדער צענטער פאר העכערע העברעאישע שטודיעס) ISBN 1-897744-01-3
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษายิดดิช

ภาษาย, ดด, יי, דיש, yidish, แปลว, เป, นภาษากล, มเจอร, แมน, กซ, งเป, นภาษาของชาวย, วอ, ชเคนาซ, ดท, วโลก, านคน, เข, ยนด, วยอ, กษรฮ, บร, กำเน, ดจากว, ฒนธรรมอ, ชเคนาซ, ฒนาข, นเม, อราวพ, 1500, ในย, โรปกลางและย, โรปตะว, นออก, และแพร, กระจายไปย, งประเทศอ, นด, วยการอพ. phasayiddich יי דיש Yidish aeplwa yiw epnphasaklumecxraemniksungepnphasakhxngchawyiwxchekhnasi miphuphudthwolk 3 lankhn ekhiyndwyxksrhibru kaenidcakwthnthrrmxchekhnasi thiphthnakhunemuxrawph s 1500 inyuorpklangaelayuorptawnxxk aelaaephrkracayipyngpraethsxundwykarxphyph inkhrngaerkeriykphasaniwa loshn ashkenaz phasaxaseknasi indankarich phasanieriyk mame loshn saeniyngaem ephuxihtangcakphasahibruaelaphasaxraemxikthierikwa loshn koydesh saeniyngskdisiththi khawa yiddich erimichemuxraw ph s 2300 aebngepnsxngsaeniyngkhuxyiddichtawntkkbyiddichtawnxxk saeniyngtawnxxkyngkhngichxyuinpccubn tangcaksaeniyngtawntkthimixiththiphlcakphasaklumslawikphasayiddichיי דיש Yiddishxxkesiyng ˈjidiʃ praethsthimikarphudshrthxemrika shrachxanackr lithweniy rsesiy xisraexl yuekhrn mxlodwa eblarus ebleyiym eyxrmni aekhnada brasil xarecntina emksiok xxsetreliy aela xuncanwnphuphud3 lankhn 1 imphbwnthi trakulphasaxinod yuorepiyn ecxraemnikecxraemniktawntkeyxrmnsungphasayiddichrabbkarekhiynxksrhibruddaeplngsthanphaphthangkarphasathangkarekhtpkkhrxngtnexngchawyiwxxblast inrsesiy inthangnitiny phasathangkarkhxngchnklumnxyinswiedn enethxraelnd aela mxlodwaphuwangraebiybimmi YIVO inthangphvtiny rhsphasaISO 639 1yiISO 639 2yidISO 639 3mihlakhlay yid phasayiddich thwip ydd phasayiddichtawnxxkyih phasayiddichtawntk enuxha 1 prawti 2 hlkthankarekhiyn 3 karichinthangolk 4 phuththstwrrsthi 25 5 chumchnthangsasna 6 xangxingprawti aekikhwthnthrrmxaseknasimirakthaninchwngph s 1500 inyuorpklangaelayuorptawnxxk chuxnimacak Ashkenaz chuxkhxngchawyiwinyukhklanginekhtthipccubnxyuinpraethseyxrmn chnklumniekhakbchawkhristineyxrmnimidsnith dinaednnirwmthungtxnehnuxkhxngfrngessipcnthungkhxbekhtchawyiwechuxsaysepnthikinphunthiekhamathungfrngesstxnit txmaekhtniidkhyayxxkipthangtawnxxkdwyphasaaerkkhxngchawyiwinyuorpkhuxphasaxraemxik Kast 2004 sungepnphasakhxngchawyiwinpaelsitnaelaemosopetemiy insmyormn chawyiwinormaelaxitaliitichphasakrik sungtxmaidmixiththiphltxphasayiddichdwy phuphudinxaseknasiidrbxiththiphlcakphasaeyxrmncnthuxwaepnsaeniyngkhxngphasaeyxrmnhlkthankarekhiyn aekikh hnacakShemot Devarim phcnanukrmphasayiddich hibru latin eyxrmn tiphimphody Elia Levita emux ph s 2085 hlkthanekasudepnhnngsuxphasahibruinph s 1815 sungmikhacakphasaeyxrmnpnxyunxy khacakphasaeyxrmnerimekhamamakinchwngph s 1900 2000karichinthangolk aekikhphasayiddichtawntkmikarichnxylnginchwng ph s 2300 sungenuxngmacakkarthiphuphudphasaeyxrmnmxngwaphasayiddichepnphasathithukbidebuxn aelacakkarfuntwkhunxikkhrngkhxngphasahibru thaihphasayiddichtawntkehluxichaetinphuthisnithknethann inthangtawnxxkthiswnihychawyiwyngepnthas yiddichepnkhathinkwichakarichaesdngthungkhwamepnyiw inchwng ph s 2433 2453 cdepnyukhthxngkhxngwrrnkrrmyiddich sungekidkhunphrxmkbkarphthnakhxngphasahibruihm ephuxichepnphasaphudaelakhabangkhamixiththiphltxphasayiddichphuththstwrrsthi 25 aekikhinchwngph s 2443 phasayiddichpraktchdinthanakhxngphasahlkinyuorptawnxxk mikarichinwrrnkhdiaelaphaphyntrmak epnphasarachkarphasahnungkhxngrthibolrsesiyinosewiyt karsuksakhxngchawyiwinhlaypraethshlngsngkhramolkkhrngthi 1 ichphasayiddichmakkhun odyechphaainopaelnd mikartngsmakhmwithyasastryiddich emux ph s 2468 aelaepnphasaklangkhxngchawyiwinyuorptawnxxk sungptiesthlththiisxxnist aelatxngkarrksawthnthrrmyiwiwinyuorp swnphasahibrusmyihmepnphasahlkkhxngchawyiwinkhbwnkarisxxnistinsngkhramolkkhrngthi 2 miphuphudphasayiddichraw 11 13 lankhn Jacobs 2005 karkhalangephaphnthuchawyiwldcanwnphuphudphasayiddichlngipmak nganthangwichakaraelasasnathiichphasayiddichthukthalay phuphudphasayiddichrxdchiwitephiyngrawlankhn swnihyxyuinxemrika aelacakkhwamekhmngwdinkarichphasaediywkhxngkhbwnkarisxxnistthaihphuphudphasayiddichldcanwnlng ehmuxnthiphasayiddichtawntkekhyepnmakxninpccubn phasayiddichepnphasakhxngchnswnnxyinmxlodwa aelaswiedn aetcanwnphuphudyngmiraynganthiaetktangkn khxmullasudethathihaidkhux xisraexl 215 000 khn 6 khxngchawyiwthnghmd khxmul ph s 2529 shrth 178 945 khn 2 8 khxngchawyiwthnghmd khxmul ph s 2543 incanwnni xayumakkwa 65 pimi 72 885 khn aelaxayutakwa 18 pimi 39 245 khn xditrthinshphaphosewiyt 29 998 khn 13 khxngchawyiwthnghmd khxmul ph s 2545 mxlodwa 17 000 khn 26 khxngchawyiwthnghmd khxmul ph s 2532 yuekhrn 3 213 khn 3 1 khxngchawyiwthnghmd khxmul ph s 2544 eblarus 1 979 khn 7 1 khxngchawyiwthnghmd khxmul ph s 2542 ltewiy 825 khn 7 9 khxngchawyiwthnghmd lithweniy570 khn 14 2 khxngchawyiwthnghmd exsoteniy 124 khn 5 8 khxngchawyiwthnghmd aekhnada 19 295 khn 5 5 khxngchawyiwthnghmd khxmul ph s 2544 ormaeniy 951 khn 16 4 khxngchawyiwthnghmd phasayiddichmikarepliynaeplngxyangmakinphuththstwrrsni phuphudinxisraexlcayumkhacakphasahibru swnphuphudinshrthaelaxngkvscayumkhacakphasaxngkvsthaihkarsuxsarrahwangphuphudphasayiddichthixyukhnlapraethsthaidyakkhunchumchnthangsasna aekikhchumkhnchawhaerkhimichphasayiddichinphithikrrmthangsasna aemwacaphudphasahibruid aelasnbsnunihbutrhlaneriynphasayiddich mikaraeplkhmphirepnphasayiddichdwyxangxing aekikh Yiddish Eastern on Ethnologue Accessed online 17 October 2006 Baumgarten Jean transl and ed Jerold C Frakes Introduction to Old Yiddish Literature Oxford University Press Oxford 2005 ISBN 0 19 927633 1 Birnbaum Solomon Yiddish A Survey and a Grammar Toronto 1979 Fishman David E The Rise of Modern Yiddish Culture University of Pittsburgh Press Pittsburgh 2005 ISBN 0 8229 4272 0 Fishman Joshua A ed Never Say Die A Thousand Years of Yiddish in Jewish Life and Letters Mouton Publishers The Hague 1981 ISBN 90 279 7978 2 in Yiddish and English Frakes Jerold C Early Yiddish Texts 1100 1750 Oxford University Press Oxford 2004 ISBN 0 19 926614 X Herzog Marvin et al ed YIVO The Language and Culture Atlas of Ashkenazic Jewry 3 vols Max Niemeyer Verlag Tubingen 1992 2000 ISBN 3 484 73013 7 Jacobs Neil G Yiddish a Linguistic Introduction Cambridge University Press Cambridge 2005 ISBN 0 521 77215 X Katz Dovid Words on Fire The Unfinished Story of Yiddish Basic Books New York 2004 ISBN 0 465 03728 3 Kriwaczek Paul Yiddish Civilization The Rise and Fall of a Forgotten Nation Weidenfeld amp Nicolson London 2005 ISBN 0 297 82941 6 Lansky Aaron Outwitting History How a Young Man Rescued a Million Books and Saved a Vanishing Civilisation Algonquin Books Chapel Hill 2004 ISBN 1 56512 429 4 Liptzin Sol A History of Yiddish Literature Jonathan David Publishers Middle Village NY 1972 ISBN 0 8246 0124 6 Shandler Jeffrey Adventures in Yiddishland Postvernacular Language and Culture University of California Press Berkeley 2006 ISBN 0 520 24416 8 Weinreich Uriel College Yiddish an Introduction to the Yiddish language and to Jewish Life and Culture 6th revised ed YIVO Institute for Jewish Research New York 1999 ISBN 0 914512 26 9 in Yiddish and English Weinstein Miriam Yiddish A Nation of Words Ballantine Books New York 2001 ISBN 0 345 44730 1 Wex Michael Born to Kvetch Yiddish Language and Culture in All Its Moods St Martin s Press New York 2005 ISBN 0 312 30741 1 Wexler Paul Two Tiered Relexification in Yiddish Jews Sorbs Khazars and the Kiev Polessian Dialect Berlin New York Mouton de Gruyter 2002 ISBN 3 11 017258 5 Katz Hirshe Dovid 1992 Code of Yiddish spelling ratified in 1992 by the programmes in Yiddish language and literature at Bar Ilan University Oxford University Tel Aviv University Vilnius University Oxford Oksforder Yidish Press in cooperation with the Oxford Centre for Postgraduate Hebrew Studies כלל תקנות פון יידישן אויסלייג 1992 אקספארד אקספארדער צענטער פאר העכערע העברעאישע שטודיעס ISBN 1 897744 01 3 wikiphiediy saranukrmesri inphasayiddichekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasayiddich amp oldid 9349867, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม