fbpx
วิกิพีเดีย

ตระกูลภาษาอัลไต

บทความนี้เกี่ยวกับตระกูลภาษาขนาดใหญ่ที่เป็นสมมติฐาน สำหรับภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ใช้ในสาธารณรัฐอัลไต (รัสเซีย) ดูที่ ภาษาอัลไต

ตระกูลภาษาอัลไต (อังกฤษ: Altaic languages) เป็นตระกูลภาษาในสมมติฐานที่เสนอว่า กลุ่มภาษาเตอร์กิก กลุ่มภาษามองโกล และกลุ่มภาษาตุงกูซิกมีภาษาบรรพบุรุษร่วมกัน บางครั้งสมมติฐานตระกูลภาษาอัลไตยังรวมกลุ่มภาษาญี่ปุ่นและกลุ่มภาษาเกาหลีไว้ด้วย ตระกูลภาษาอัลไตเป็นข้อเสนอที่ยังไม่ได้รับการยอมรับเป็นการทั่วไปในสาขาภาษาศาสตร์เชิงประวัติ โดยนักภาษาศาสตร์บางส่วนเห็นว่าไม่มีหลักฐานสนับสนุนเพียงพอว่าภาษาเหล่านี้มีความเกี่ยวข้องกันในเชิงวิวัฒนาการ

ตระกูลภาษานี้ใช้พูดกันตั้งแต่ป่าสนในไซบีเรียตะวันออกข้ามทุ่งหญ้าและทะเลทรายของเอเชียกลางไปจรดประเทศตุรกี และบางส่วนของประเทศจีน คนในแถบนี้มีลักษณะทางวัฒนธรรมแบบเลี้ยงสัตว์เร่ร่อนไปตามทุ่งหญ้าและทะเลทราย เช่น พวกเตอร์กและมองโกลบางเผ่า บางพวกก็อาศัยอยู่ตามป่าเขาและล่าสัตว์ เช่น พวกมองโกลบางพวกและพวกตุงกุส มีบางส่วนเท่านั้นที่รับวัฒนธรรมใกล้เคียงอย่างวัฒนธรรมจีนที่มีลักษณะแบบเกษตรกรรม เช่น ชาวเกาหลีและชาวญี่ปุ่นซึ่งอาจเป็นพวกตุงกุสดั้งเดิม (Proto-Tungusic) โดยอพยพมายังคาบสมุทรเกาหลีและหมู่เกาะญี่ปุ่นก่อนพวกอื่น ในปัจจุบันนี้ผู้ที่ใช้ตระกูลภาษานี้มีประมาณ 270 ล้านคนทั่วโลก

ลักษณะของภาษาในตระกูล

ภาษาต่าง ๆ ในตระกูลภาษานี้มีลักษณะที่ร่วมกันอยู่หลายประการด้วยกัน ดังนี้

  • การเรียงลำดับคำแบบ ประธาน-กรรม-กริยา (SOV)
  • ไม่ระบุเพศ พจน์ของคำ
  • มีการใช้คำปรบท (Postposition) ซึ่งทำหน้าที่แบบเดียวกันกับคำบุพบท เพียงแต่ว่าจะปรากฏอยู่ด้านหลังของคำที่จะกล่าวถึง
  • ไม่มีคำประพันธสรรพนาม (relative pronouns)
  • ไม่ปรากฏคำกิริยา “มี” แต่ใช้การเติมปัจจัย (Suffix) หรือสัมพันธการก (Genitive case) ท้ายคำเพื่อแสดงความเป็นเจ้าของแทน
  • เป็นภาษารูปคำติดต่อ (Agglutinative language) กล่าวคือ มีการเติมหน่วยคำอิสระหรืออนุภาค (Particle) ท้ายคำเพื่อแสดงหน้าที่ของคำในระบบวากยสัมพันธ์
  • มีความสอดคล้องกลมกลืนของสระ (Vowel harmony) กล่าวคือ ระบบสระในคำหนึ่งคำจะต้องเป็นสระประเภทเดียวกัน
  • ไม่มีการเติมอุปสรรคแต่ใช้ปัจจัยท้ายคำเพื่อบอกหน้าที่คำในประโยค
  • ระบบเสียงพยัญชนะไม่สลับซับซ้อนรวมทั้งเป็นคำแบบพยางค์ปิดเป็นส่วนใหญ่

สาขาย่อย

ตระกูลภาษาอัลตาอิกนี้สามารถแบ่งออกเป็นสาขาต่าง ๆ ได้ดังนี้

สาขากลุ่มภาษาเตอร์กิก (Turkic subfamily)

ดูบทความหลักที่: กลุ่มภาษาเตอร์กิก

มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 180 ล้านคน รวมผู้ที่พูดเป็นภาษาที่สองราว 200 ล้านคน ใช้พูดในประเทศตุรกี เอเชียกลาง สาธารณรัฐยาคุต สาธารณรัฐบัชคอร์โตสถาน สาธารณรัฐตาตาร์สถาน ในประเทศรัสเซีย และ มณฑลซินเจียงอุยกูร์ในประเทศจีน กลุ่มภาษาเตอร์กิกส่วนใหญ่เป็นผู้พูดภาษาตุรกี ซึ่งคิดเป็น 40% ของผู้พูดกลุ่มภาษานี้ทั้งหมด สาขากลุ่มภาษาเตอร์กิกแบ่งออกได้เป็น

สาขากลุ่มภาษามองโกล (Mongolic subfamily)

ดูบทความหลักที่: กลุ่มภาษามองโกล

มีผู้พูดประมาณ 10 ล้านคน ใช้มากในประเทศมองโกเลีย เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ดินแดนจุงกาเรียในประเทศจีน สาธารณรัฐคัลมืยคียาและสาธารณรัฐบูรยาเทียในประเทศรัสเซีย แบ่งออกได้ดังนี้

  • กลุ่มภาษามองโกลตะวันตกหรือออยรัท (Western Mongol or Oirat) ได้แก่ ภาษาออยรัท ภาษาคาลมิก ภาษาตอร์กุต
  • กลุ่มภาษามองโกลตะวันออกหรือคาลฆา (Eastern Mongol or Khalkha) ได้แก่ ภาษาคาลฆา ภาษาเบอร์ยัท ภาษาคอร์ชิน ภาษาออร์ดอส ภาษาทูเมต ภาษาฌาฮาร์
  • กลุ่มภาษาต้าเอ้อร์ (Daur) ได้แก่ ภาษาต้าเอ้อร์

สาขากลุ่มภาษาตุงกูซิก (Tungusic subfamily)

ดูบทความหลักที่: กลุ่มภาษาตุงกูซิก

มีผู้พูดประมาณ 80,000 คน ใช้มากในไซบีเรียตะวันออก และแถบแมนจูเรียในประเทศจีน สามารถแบ่งออกได้ดังนี้

  • กลุ่มภาษาตุงกุสเหนือ (Northern Tungus) ได้แก่ ภาษาอีเวนกิ ภาษาอีเวน ภาษาเนกิดัล
  • กลุ่มภาษาตุงกุสใต้ (Southern Tungus) ได้แก่ ภาษาแมนจู ภาษาพูยอ ภาษาซีเปอ ภาษานานาจ ภาษาโอโรเชิน ภาษาอูดิเฮ

สาขาภาษาเกาหลี-ญี่ปุ่น (Korean-Japonic subfamily)

มีผู้พูดประมาณ 180 ล้านคนในประเทศเกาหลี ญี่ปุ่นและหมู่เกาะโอกินาวา แบ่งออกได้ดังนี้

อย่างไรก็ดีนักวิชาการบางท่านอาจจัดกลุ่มภาษาเกาหลี-ญี่ปุ่นเป็นภาษาเอกเทศ (isolated language) เนื่องจากลักษณะบางอย่างในภาษาไม่สอดคล้องกับตระกูลภาษาอัลตาอิก เช่น ภาษาเกาหลีในปัจจุบันไม่เคร่งครัดกฎความสอดคล้องกลมกลืนของสระ ภาษาญี่ปุ่นเป็นคำพยางค์คู่และพยางค์เปิด ไม่ปรากฏลักษณะของความสอดคล้องกลมกลืนของสระซึ่งเป็นลักษณะของตระกูลภาษาออสโตรนีเซีย

ดังนั้นนักวิชาการบางคนจึงกล่าวว่า ภาษาญี่ปุ่นอาจมีตระกูลภาษาออสโตรนีเซียเป็นภาษาพื้นเดิม (substratum) ก่อนที่จะได้รับอิทธิพลจากตระกูลภาษาอัลตาอิก สาขาตุงกุส (superstratum) นอกจากนี้ภาษาทั้งสองยังได้รับอิทธิพลคำศัพท์มาจากภาษาจีนอย่างมากมาย รวมทั้งมีระดับภาษาที่ต่างกันเพื่อแสดงความสุภาพและสถานะของบุคคลซึ่งไม่ใช่ลักษณะของภาษาตระกูลนี้ แม้ว่าลักษณะของวากยสัมพันธ์จะเป็นแบบตระกูลภาษาอัลตาอิก และอาจมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับสาขาภาษาตุงกุสมาก่อน

นอกจากนี้ความสัมพันธ์ทางเชื้อสาย (Genetic relation) ของตระกูลภาษานี้ยังไม่อาจได้รับการยืนยันเนื่องจากการขาดความคล้ายคลึงทางคำศัพท์และหน่วยเสียงระหว่างกลุ่มภาษาที่ไกลกัน จึงไม่แน่ชัดว่าเป็นภาษาที่สืบทอดมาจากภาษาอัลตาอิกดั้งเดิม (Proto-Altaic) เดียวกัน

อ้างอิง

  1. Georg, Stefan; Michalove, Peter A.; Ramer, Alexis Manaster; Sidwell, Paul J. (1999). "Telling general linguists about Altaic". Journal of Linguistics. 35 (1): 65–98. doi:10.1017/s0022226798007312.

ตระก, ลภาษาอ, ลไต, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, บทความน, เก, ยวก, . bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamniekiywkbtrakulphasakhnadihythiepnsmmtithan sahrbphasaklumetxrkikthiichinsatharnrthxlit rsesiy duthi phasaxlit trakulphasaxlit xngkvs Altaic languages epntrakulphasainsmmtithanthiesnxwa klumphasaetxrkik klumphasamxngokl aelaklumphasatungkusikmiphasabrrphburusrwmkn bangkhrngsmmtithantrakulphasaxlityngrwmklumphasayipunaelaklumphasaekahliiwdwy trakulphasaxlitepnkhxesnxthiyngimidrbkaryxmrbepnkarthwipinsakhaphasasastrechingprawti odynkphasasastrbangswnehnwaimmihlkthansnbsnunephiyngphxwaphasaehlanimikhwamekiywkhxngkninechingwiwthnakar 1 trakulphasaniichphudkntngaetpasninisbieriytawnxxkkhamthunghyaaelathaelthraykhxngexechiyklangipcrdpraethsturki aelabangswnkhxngpraethscin khninaethbnimilksnathangwthnthrrmaebbeliyngstwerrxniptamthunghyaaelathaelthray echn phwketxrkaelamxngoklbangepha bangphwkkxasyxyutampaekhaaelalastw echn phwkmxngoklbangphwkaelaphwktungkus mibangswnethannthirbwthnthrrmiklekhiyngxyangwthnthrrmcinthimilksnaaebbekstrkrrm echn chawekahliaelachawyipunsungxacepnphwktungkusdngedim Proto Tungusic odyxphyphmayngkhabsmuthrekahliaelahmuekaayipunkxnphwkxun inpccubnniphuthiichtrakulphasanimipraman 270 lankhnthwolk enuxha 1 lksnakhxngphasaintrakul 2 sakhayxy 2 1 sakhaklumphasaetxrkik Turkic subfamily 2 2 sakhaklumphasamxngokl Mongolic subfamily 2 3 sakhaklumphasatungkusik Tungusic subfamily 2 4 sakhaphasaekahli yipun Korean Japonic subfamily 3 xangxinglksnakhxngphasaintrakul aekikhphasatang intrakulphasanimilksnathirwmknxyuhlayprakardwykn dngni kareriyngladbkhaaebb prathan krrm kriya SOV imrabuephs phcnkhxngkha mikarichkhaprbth Postposition sungthahnathiaebbediywknkbkhabuphbth ephiyngaetwacapraktxyudanhlngkhxngkhathicaklawthung immikhapraphnthsrrphnam relative pronouns impraktkhakiriya mi aetichkaretimpccy Suffix hruxsmphnthkark Genitive case thaykhaephuxaesdngkhwamepnecakhxngaethn epnphasarupkhatidtx Agglutinative language klawkhux mikaretimhnwykhaxisrahruxxnuphakh Particle thaykhaephuxaesdnghnathikhxngkhainrabbwakysmphnth mikhwamsxdkhlxngklmklunkhxngsra Vowel harmony klawkhux rabbsrainkhahnungkhacatxngepnsrapraephthediywkn immikaretimxupsrrkhaetichpccythaykhaephuxbxkhnathikhainpraoykh rabbesiyngphyychnaimslbsbsxnrwmthngepnkhaaebbphyangkhpidepnswnihysakhayxy aekikhtrakulphasaxltaxiknisamarthaebngxxkepnsakhatang iddngni sakhaklumphasaetxrkik Turkic subfamily aekikh dubthkhwamhlkthi klumphasaetxrkik miphuphudepnphasaaemraw 180 lankhn rwmphuthiphudepnphasathisxngraw 200 lankhn ichphudinpraethsturki exechiyklang satharnrthyakhut satharnrthbchkhxrotsthan satharnrthtatarsthan inpraethsrsesiy aela mnthlsineciyngxuykurinpraethscin klumphasaetxrkikswnihyepnphuphudphasaturki sungkhidepn 40 khxngphuphudklumphasanithnghmd sakhaklumphasaetxrkikaebngxxkidepn klumphasaoxkhur Oghur Turkic idaek phasabulkarobran phasakhasar phasaxawar phnoneniynxawar pccubnsuyhayhmdehluxaet phasachuwach klumphasaetxrkithruxoxkus Southern Turkic or Oghuz idaek phasaturki phasaxaesxribcan phasaetirkemn klumphasaetxrkehnux isbieriyn etxrkik Northern Turkic idaek phasayakhuth phasadxlkn phasaxueriyngkt phasaxlit klumphasaetxrktawnxxkhruxchakaity kharlukh Eastern Turkic or Chagatai idaek phasaxuykur phasaxusebk klumphasaetxrktawntkhruxkhipchk Werstern Turkic or Kipchak idaek phasatatar phasakhaskh phasakhirkis phasakaraklpk phasabskirsakhaklumphasamxngokl Mongolic subfamily aekikh dubthkhwamhlkthi klumphasamxngokl miphuphudpraman 10 lankhn ichmakinpraethsmxngokeliy ekhtpkkhrxngtnexngmxngokeliyin dinaedncungkaeriyinpraethscin satharnrthkhlmuykhiyaaelasatharnrthburyaethiyinpraethsrsesiy aebngxxkiddngni klumphasamxngokltawntkhruxxxyrth Western Mongol or Oirat idaek phasaxxyrth phasakhalmik phasatxrkut klumphasamxngokltawnxxkhruxkhalkha Eastern Mongol or Khalkha idaek phasakhalkha phasaebxryth phasakhxrchin phasaxxrdxs phasathuemt phasachahar klumphasataexxr Daur idaek phasataexxrsakhaklumphasatungkusik Tungusic subfamily aekikh dubthkhwamhlkthi klumphasatungkusik miphuphudpraman 80 000 khn ichmakinisbieriytawnxxk aelaaethbaemncueriyinpraethscin samarthaebngxxkiddngni klumphasatungkusehnux Northern Tungus idaek phasaxiewnki phasaxiewn phasaenkidl klumphasatungkusit Southern Tungus idaek phasaaemncu phasaphuyx phasasiepx phasananac phasaoxorechin phasaxudiehsakhaphasaekahli yipun Korean Japonic subfamily aekikh dubthkhwamhlkthi trakulphasayipun aela klumphasaekahli miphuphudpraman 180 lankhninpraethsekahli yipunaelahmuekaaoxkinawa aebngxxkiddngni klumphasaekahli Korean idaek phasaekahli klumphasayipun riwkiw Japanese Ryukyuan idaek phasayipun phasariwkiwxyangirkdinkwichakarbangthanxaccdklumphasaekahli yipunepnphasaexkeths isolated language enuxngcaklksnabangxyanginphasaimsxdkhlxngkbtrakulphasaxltaxik echn phasaekahliinpccubnimekhrngkhrdkdkhwamsxdkhlxngklmklunkhxngsra phasayipunepnkhaphyangkhkhuaelaphyangkhepid impraktlksnakhxngkhwamsxdkhlxngklmklunkhxngsrasungepnlksnakhxngtrakulphasaxxsotrniesiydngnnnkwichakarbangkhncungklawwa phasayipunxacmitrakulphasaxxsotrniesiyepnphasaphunedim substratum kxnthicaidrbxiththiphlcaktrakulphasaxltaxik sakhatungkus superstratum nxkcakniphasathngsxngyngidrbxiththiphlkhasphthmacakphasacinxyangmakmay rwmthngmiradbphasathitangknephuxaesdngkhwamsuphaphaelasthanakhxngbukhkhlsungimichlksnakhxngphasatrakulni aemwalksnakhxngwakysmphnthcaepnaebbtrakulphasaxltaxik aelaxacmikhwamsmphnthxyangiklchidkbsakhaphasatungkusmakxnnxkcaknikhwamsmphnththangechuxsay Genetic relation khxngtrakulphasaniyngimxacidrbkaryunynenuxngcakkarkhadkhwamkhlaykhlungthangkhasphthaelahnwyesiyngrahwangklumphasathiiklkn cungimaenchdwaepnphasathisubthxdmacakphasaxltaxikdngedim Proto Altaic ediywknxangxing aekikh Georg Stefan Michalove Peter A Ramer Alexis Manaster Sidwell Paul J 1999 Telling general linguists about Altaic Journal of Linguistics 35 1 65 98 doi 10 1017 s0022226798007312 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title trakulphasaxlit amp oldid 8492789, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม