fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาอาหรับ

ภาษาอาหรับ (อาหรับ: العربية‎; อังกฤษ: Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ

อาหรับ
العربية อะรอบียะฮฺ
อัลอะเราะบียะฮ์ ที่เขียนด้วยอักษรอาหรับ (แบบอักษรนัสค์)
ออกเสียง/alˌʕa.raˈbij.ja/
ประเทศที่มีการพูดแอลจีเรีย บาห์เรน อียิปต์ อิรัก จอร์แดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย มอริเตเนีย โมร็อกโก โอมาน ปาเลสไตน์ กาตาร์ ซาอุดีอาระเบีย ซูดาน ซีเรีย ตูนีเซีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เยเมน; เป็นภาษากลุ่มน้อยในประเทศอื่น ๆ มากมาย
ภูมิภาคโลกอาหรับ
จำนวนผู้พูด310 ล้านคนในหลายแบบ  (2011–2016)
270 ล้านคน ผู้พูดภาษาที่สอง ที่พูดภาษาอาหรับมาตรฐาน (สมัยใหม่)
ตระกูลภาษา
รูปแบบก่อนหน้า
Proto-Arabic
Old Arabic
Old Hijazi
Classical Arabic
  • อาหรับ
ระบบการเขียนอักษรอาหรับ
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่เป็นภาษาทางการใน 26 รัฐ และ 1 ดินแดนพิพาท เป็นอันดับสามรองจากภาษาอังกฤษกับฝรั่งเศส
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน
ผู้วางระเบียบ
รหัสภาษา
ISO 639-1ar
ISO 639-2ara
ISO 639-3ara – รหัสรวม
รหัสเอกเทศ:
arq — ภาษาอาหรับแอลจีเรีย
aao — ภาษาอาหรับแอลจีเรียแถบซะฮารา
bbz — ภาษาอาหรับบาบาเลียครีโอล
abv — ภาษาอาหรับบาห์เรน
shu — ภาษาอาหรับชาด
acy — ภาษาอาหรับมาโรไนต์
adf — ภาษาอาหรับโดฟารี
avl — ภาษาอาหรับอาระเบียตะวันตกเฉียงเหนือ
arz — ภาษาอาหรับอียิปต์
afb — ภาษาอาหรับอ่าว
ayh — ภาษาอาหรับฮัฎเราะมี
acw — ภาษาอาหรับฮิญาซ
ayl — ภาษาอาหรับลิเบีย
acm — ภาษาอาหรับเมโสโปเตเมีย
ary — ภาษาอาหรับโมร็อกโก
ars — ภาษาอาหรับนัจญ์ดี
apc — ภาษาอาหรับลิแวนต์เหนือ
ayp — ภาษาอาหรับเมโสโปเตเมียเหนือ
acx — ภาษาอาหรับโอมาน
aec — ภาษาอาหรับเซาะอีดี
ayn — ภาษาอาหรับศ็อนอา
ssh — ภาษาอาหรับชิฮฮี
ajp — ภาษาอาหรับลิแวนต์ใต้
arb — ภาษาอาหรับมาตรฐาน
apd — ภาษาอาหรับซูดาน
pga — ภาษาอาหรับซูดานครีโอล
acq — ภาษาอาหรับตาอิซซี-อะเดนี
abh — ภาษาอาหรับทาจิกิสถาน
aeb — ภาษาอาหรับตูนีเซีย
auz — ภาษาอาหรับอุซเบกิสถาน
Linguasphere12-AAC
บริเวณที่ภาษาอาหรับที่ภาษาท้องถิ่นของชนส่วนใหญ่ (สีเขียวเข้ม) หรือส่วนน้อย (สีเขียวอ่อน)
ประเทศที่ใช้ภาษาอาหรับเป็นภาษาประจำชาติ (เขียว), โดยเป็นภาษาราชการ (น้ำเงินเข้ม), และภูมิภาค/ภาษารอง (น้ำเงินอ่อน)
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรีย

ภาษาอาหรับทางศาสนาและสมัยใหม่

ชาวอาหรับถือว่าภาษาอาหรับที่ใช้ในทางศาสนาเป็นภาษามาตรฐานและรูปแบบอื่นๆถือเป็นสำเนียง ภาษาอาหรับทางศาสนาในปัจจุบันรวมทั้งภาษาที่ใช้ในสื่อปัจจุบันตลอดแอฟริกาเหนือและตะวันออกกลางและภาษาในอัลกุรอ่าน ส่วนสำเนียงของภาษาอาหรับหมายถึงภาษาอาหรับที่ต่างจากภาษาอาหรับคลาสสิกและใช้พูดกันในบริเวณต่าง ๆ ของแอฟริกาเหนือและตะวันออกกลาง และใช้เป็นภาษาพูดในปัจจุบัน บางครั้งมีความแตกต่างกันมากพอที่ทำให้ไม่เข้าใจกันได้ สำเนียงเหล่านี้ไม่มีภาษาเขียน มีการใช้บ้างในสื่อแบบไม่เป็นทางการ เช่นละครหรือทอล์กโชว์ ภาษาอาหรับมาตรฐานหรือภาษาอาหรับทางศาสนาเป็นภาษาราชการของประเทศกลุ่มอาหรับทุกประเทศ และเป็นรูปแบบเดียวที่ใช้สอนในโรงเรียน ทำให้ภาษาอาหรับเป็นตัวอย่างหนึ่งของภาษาที่มีรูปแบบสองชนิดและใช้ในสภาพสังคมที่ต่างกัน ชาวอาหรับที่มีการศึกษาในทุกประเทศ จะใช้ได้ทั้งภาษาอาหรับที่ใช้พูดในท้องถิ่นและภาษาอาหรับที่ใช้ในการศึกษา ดังนั้นชาวอาหรับที่มีการศึกษาและมาจากคนละประเทศ เช่น ชาวโมร็อกโกและชาวเลบานอน จะใช้ภาษาอาหรับมาตรฐานในการติดต่อสื่อสาร

เช่นเดียวกับภาษาอื่น ๆ ภาษาอาหรับทางศาสนายังคงมีพัฒนาการ ภาษาอาหรับคลาสสิกอาจแยกได้จากภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ที่ใช้ในปัจจุบัน ภาษาอาหรับคลาสสิกเรียงประโยคตามไวยากรณ์แบบคลาสสิกและใช้ศัพท์จากพจนานุกรมยุคคลาสสิก ในภาษาอาหรับสมัยใหม่ มีโครงสร้างที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่น เช่นการพูดถึงของหลายสิ่ง ภาษาอาหรับมาตรฐานใช้ ก ข ค และ ง ในขณะที่ภาษาอาหรับคลาสสิกใช้ ก และ ข และ ค และ ง มากกว่า ประโยคที่ขึ้นต้นด้วยประธานถือว่าปกติในภาษาอาหรับมาตรฐานมากกว่าภาษาอาหรับคลาสสิก

อิทธิพลของภาษาอาหรับต่อภาษาอื่น

ภาษาอาหรับมีอิทธิพลมากในโลกอิสลามและเป็นแหล่งของคำศัพท์ ที่ใช้ในภาษาเบอร์เบอร์ ภาษาเคิร์ด ภาษาเปอร์เซีย ภาษาสวาฮีลี ภาษาอูรดู ภาษาฮินดี ภาษามลายู ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาตุรกี เป็นต้น

ตัวอย่างเช่น คำว่ากิตาบ ซึ่งแปลว่าหนังสือในภาษาอาหรับ มีใช้ในทุกภาษาที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ยกเว้นภาษามลายูและภาษาอินโดนีเซียที่ใช้หมายถึงหนังสือทางศาสนา ภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกสมีคำยืมจากภาษาอาหรับมาก และมีในภาษาอังกฤษเล็กน้อย ภาษาอื่นๆเช่น ภาษามอลตา ภาษากินูบี ได้รับอิทธิพลจากภาษาอาหรับทั้งทางด้านคำศัพท์และไวยากรณ์

คำยืมจากภาษาอาหรับมีกว้างขวางทั้งคำจากศาสนา (เช่น ภาษาเบอร์เบอร์ tazallit = ละหมาด) ศัพท์ทางวิชาการ (เช่น ภาษาอุยกูร์ mentiq = วิชา) ศัพท์ทางเศรษฐศาสตร์ (เช่น ภาษาอังกฤษ sugar = น้ำตาล) จนถึงคำสันธานที่ใช้ในการพูดประจำวัน (เช่น ภาษาอูรดู lekin = แต่) ภาษาเบอร์เบอร์ส่วนใหญ่และภาษาสวาฮีลียืมตัวเลขจากภาษาอาหรับ ศัพท์ทางศาสนาอิสลามส่วนใหญ่เป็นคำยืมโดยตรงจากภาษาอาหรับ เช่น salat (ละหมาด) และอิหม่าม ในภาษาที่ไม่ได้ติดต่อกับโลกอาหรับโดยตรง คำยืมจากภาษาอาหรับจะถูกยืมผ่านภาษาอื่น ไม่ได้มาจากภาษาอาหรับโดยตรง เช่น คำยืมจากภาษาอาหรับในภาษาอูรดูส่วนใหญ่ รับผ่านทางภาษาเปอร์เซีย และคำยืมจากภาษาอาหรับส่วนใหญ่ในภาษาฮัวซาได้รับมาจากภาษากานูรี

คำยืมจากภาษาอาหรับในภาษาอังกฤษและภาษาในยุโรปส่วนใหญ่ได้รับผ่านทางภาษาสเปนและภาษาอิตาลี ตัวอย่างที่มีใช้กันทั่วไป เช่น sugar (มาจาก sukkar) cotton (qutn) และ magazine (mahazin) คำในภาษาอังกฤษที่มีต้นกำเนิดจากภาษาอาหรับ algebra alcohol alchemy alkali และ zenith คำบางคำที่ใช้กันทั่วไปเช่น intention และ information มีต้นกำเนิดมาจากศัพท์ทางปรัชญาของภาษาอาหรับ

ภาษาอาหรับและศาสนาอิสลาม

ภาษาอาหรับเป็นภาษาที่ใช้ในอัลกุรอาน มุสลิมทุกคนต้องเรียนอ่านอัลกุรอานภาษาอาหรับเพื่อรักษาความหมายดั้งเดิมไว้ไม่ให้ผิดพลาดเพราะการแปล อย่างไรก็ตาม ภาษาอาหรับคงมีการใช้ในกลุ่มชาวอาหรับที่นับถือศาสนาคริสต์ ชาวอาหรับดรูซ ชาวยิวมิซราฮี และชาวมันเดียนในอิรัก ชาวมุสลิมส่วนใหญ่ไม่ได้ใช้ภาษาอาหรับเป็นภาษาแม่ แต่สามารถอ่านภาษาอาหรับที่เกี่ยวข้องกับศาสนาได้

ประวัติ

หลายคน เชื่อว่าภาษาอาหรับสมัยใหม่เป็นส่วนหนึ่งของสาขาย่อยอาหรับ-คานาอันไนต์ของภาษากลุ่มเซมิติกตะวันตกกลาง ในขณะที่ภาษาอาหรับไม่ใช่ภาษาเซมิติกที่เก่าสุด จึงมีลักษณะร่วมกับภาษาบรรพบุรุษของภาษากลุ่มเซมิติกในตระกูลแอฟโฟร-เอเชียติกคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม นักภาษาศาสตร์หลายคนเชื่อว่าภาษาอาหรับเป็นภาษาที่มีความเป็นเซมิติกมากที่สุดในบรรดาภาษากลุ่มเซมิติกสมัยใหม่ด้วยกัน เพราะรักษาลักษณะของภาษาเซมิติกดั้งเดิมไว้ได้มาก

เอกสารของภาษาอาหรับดั้งเดิมหรือภาษาอาหรับเหนือโบราณคือจารึกที่อาซาเอียนที่พบทางตะวันออกของซาอุดิอาระเบียมีอายุราว 257 ปีก่อนพุทธศักราช เขียนด้วยอักษรอาระเบียใต้ ในยุคต่อมาคือเอกสารลิเชียนไนต์ อายุราว 57 ปีก่อนพุทธศักราช พบทางตะวันออกเฉียงใต้ของซาอุดิอาระเบีย และเอกสารทามุด (ษะมูด) ที่พบตลอดคาบสมุทรอาระเบียและไซนาย หลักฐานในยุคต่อมาคือจารึกซาไฟติกอายุราว 100 ปีก่อนคริสต์ศักราช และชื่อเฉพาะภาษาอาหรับที่พบในจารึกภาษานาบาทาเอียน

เมื่อราว ค.ศ. 400 กษัตริย์ของชาวอาหรับแห่งลักมิดในอิรักภาคใต้ กษัตริย์ฆาสซานัดในซีเรียภาคใต้และราชอาณาจักรกินไดต์ (กินดะหฺ) ได้ก่อตัวขึ้นในคาบสมุทรอาระเบียตอนกลาง ในยุคนั้นพบกวีนิพนธ์ภาษาอาหรับยุคก่อนศาสนาอิสลาม และจารึกภาษาอาหรับยุคก่อนอิสลามเขียนด้วยอักษรอาหรับ

สำเนียงและลูกหลาน

ภาษาอาหรับสนทนาเป็นคำที่ใช้เรียกภาษาอาหรับสำเนียงต่างๆที่เป็นภาษาพูดตลอดโลกอาหรับ และต่างไปจากภาษาอาหรับที่เป็นภาษาเขียน การแบ่งสำเนียงหลักๆคือการแบ่งระหว่างสำเนียงในแอฟริกาเหนือและสำเนียงในตะวันออกกลาง ตามมาด้วยการแบ่งระหว่างสำเนียงประจำถิ่น และสำเนียงที่อนุรักษ์กว่าของชาวเบดูอิน ผู้พูดบางสำเนียงอาจจะไม่เข้าใจภาษาอาหรับอีกสำเนียงหนึ่งได้ ตัวอย่างเช่น ผู้พูดในตะวันออกกลางอาจจะไม่เข้าใจบางสำเนียงในแอฟริกาเหนือ ความแตกต่างระหว่างสำเนียงได้รับอิทธิพลมาจากภาษาที่ใช้พูดอยู่เดิมในบริเวณนั้น ซึ่งมีอิทธิพลทั้งในด้านคำศัพท์และการเรียงประโยค คำบางคำในแต่ละสำเนียง มีความหมายเหมือนกันแต่มาจากรากศัพท์ในภาษาคลาสสิกที่ต่างกัน เช่นคำว่า “มี” สำเนียงอิรักใช้ aku สำเนียงเลบานอนใช้ fih และแอฟริกาเหนือใช้ kayәn (มาจากภาษาคลาสสิก yakun, fihi และ ka’in ตามลำดับ)

กลุ่มของสำเนียงหลักๆ ได้แก่

  • ภาษาอาหรับอียิปต์ มีผู้พูด 77 ล้านคนในอียิปต์ และอาจเป็นสำเนียงที่มีผู้เข้าใจมากที่สุดเนื่องจากความนิยมภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์จากอียิปต์
  • ภาษาอาหรับแบบมักเรบ ได้แก่ภาษาอาหรับแอลจีเรีย โมร็อกโก ตูนีเซีย มอลตา และลิเบียตะวันตก สำเนียงแอลจีเรียและโมร็อกโกมีผู้พูดราว 20 ล้านคน
  • ภาษาอาหรับเลอวานต์ ได้แก่ ในซีเรียตะวันตก เลบานอน ปาเลสไตน์ จอร์แดนตะวันตก และภาษาอาหรับมาโรไนต์ในไซปรัส
  • ภาษาอาหรับอิรักและภาษาอาหรับคูเซสถาน มีความแตกต่างระหว่างสำเนียงกิสิตทางใต้และสำเนียงบาลตูทางเหนือที่มีลักษณะอนุรักษนิยมมากกว่า
  • ภาษาอาหรับตะวันออก ในซาอุดิอาระเบียตะวันออก อิรักตะวันตก ซีเรียตะวันออก จอร์แดน และบางส่วนของโอมาน
  • ภาษาอาหรับอ่าว ในบาห์เรน จังหวัดซาอุดิตะวันออก คูเวต สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กาตาร์และโอมาน

สำเนียงอื่นๆ ได้แก่

  • อัสซานียะ ในมอริตาเนีย มาลีและสะฮาราตะวันตก
  • ภาษาอาหรับซูดาน รวมสำเนียงที่ใช้ในชาดด้วย
  • ฮิญาซี ในซาอุดิอาระเบียตะวันตก
  • ภาษาอาหรับนัจญ์ดี ใช้ในบริเวณนัจญ์ของซาอุดิอาระเบียกลาง
  • ภาษาอาหรับเยเมน ใช้ในเยเมนและซาอุดิอาระเบียตอนใต้
  • ภาษาอาหรับอันดาลูซิอา เคยใช้ในคาบสมุทรไอบีเรียจนถึงราวพุทธศตวรรษที่ 22
  • ภาษามอลตา ใช้พูดในเกาะมอลตา ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นภาษาที่แยกไปเป็นอีกภาษาหนึ่งต่างหาก เมื่อพิจารณาในทางสัทวิทยา ภาษามอลตาใกล้เคียงกับภาษาอาหรับตูนีเซียสำเนียงอูร์บัน แต่ในทางประวัติศาสตร์ ภาษามอลตามีการยืมคำ ลักษณะทางสัทวิทยา และรูปแบบทางไวยากรณ์จากภาษาอิตาลี ภาษาซิซิลี และภาษาอังกฤษ เป็นภาษาอาหรับเพียงสำเนียงเดียวที่เขียนด้วยอักษรโรมัน
  • มีสำเนียงอีกมากมาย

เสียง

สระ

ภาษาอาหรับมีสระแท้สามเสียง โดยแต่ละเสียงมีทั้งเสียงสั้นและเสียงยาวคือ อะ-อา อิ-อี อุ-อู แต่เมื่อประสมกับพยัญชนะบางตัวจะออกเป็น เอาะ-ออ มีสระประสมสองเสียงคือ ไอ กับ เอา ที่สำคัญในภาษาอาหรับนั้นจะมีแต่เสียงสระเท่านั้นจะไม่ใส่รูปสระ

พยัญชนะ

พยัญชนะมี 28 ตัว เสียงพยัญชนะในภาษาอาหรับมีทั้งเสียงสั้นและเสียงยาว โดยเสียงยาวจะแทนด้วยอักษรละตินสองตัว เช่น bb หรือแสดงด้วยเครื่องหมายชัดดะหฺในอักษรอาหรับ

โครงสร้างพยางค์

พยางค์ในภาษาอาหรับมีสองชนิดคือพยางค์เปิด (CV, CVV) และพยางค์ปิด (CVC, CVVC, CVCC) ทุกพยางค์เริ่มด้วยพยัญชนะ หรือพยัญชนะที่ยืมมาจากคำก่อนหน้า โดยเฉพาะในกรณีของคำนำหน้านามชี้เฉพาะ al เช่น baytu-l mudiir (บ้านของผู้กำกับ) ซึ่งจะเป็น bay-tul-mu-diir ถ้าออกเสียงแยกทีละพยางค์ โดยผู้กำกับจะเป็น al mudiir

การเน้นหนัก

การเน้นหนักในภาษาอาหรับมีความเกี่ยวข้องกับความยาวของเสียงสระและรูปร่างของพยางค์ การเน้นหนักคำที่ถูกต้องช่วยให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น กฎพื้นฐานได้แก่

  • เฉพาะพยางค์สุดท้ายของคำที่มีสามพยางค์ที่ถูกเน้นหนัก
  • พยางค์ที่มีสระเสียงยาวหรือพยัญชนะคู่จะถูกเน้นหนัก
  • ถ้าไม่มีพยางค์ดังกล่าว พยางค์ก่อนพยางค์สุดท้ายจะถูกเน้น หรือพยางค์แรกที่ยอมให้เน้นเสียงได้
  • ในภาษาอาหรับมาตรฐาน เสียงสระเสียงยาวเสียงสุดท้ายมักถูกเน้น แต่ไม่ใช้กับสำเนียงที่ใช้พูดซึ่งสระเสียงยาวสุดท้ายดั้งเดิมถูกทำให้สั้นและสระเสียงยาวอันที่สองถูกยกเสียงขึ้น

ในบางสำเนียงจะมีกฎการเน้นเสียงที่ต่างออกไป

ความแตกต่างระหว่างสำเนียง

ในบางสำเนียงมีเสียงพยัญชนะที่ต่างไปจากภาษาอาหรับมาตรฐาน เช่น สำเนียงมักเรบมีเสียง v ซึ่งใช้เขียนชื่อที่ยืมจากภาษาอื่นๆ เสียง p ของภาษากลุ่มเซมิติกกลายเป็นเสียง f ก่อนจะมีการเขียน แต่ในสำเนียงสมัยใหม่ของภาษาอาหรับ เช่น ภาษาอาหรับอิรัก มีการแยกระหว่างเสียง p และ b ซึ่งได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียและภาษาตุรกี

เสียง /q/ ยังมีการออกเสียงแบบดั้งเดิมในหลายบริเวณ เช่น เยเมน โมร็อกโก และบริเวณมักเรบรอบนอก แต่กลายเป็นเสียงก้อง เกิดที่เพดานอ่อน /g/ ในภาษาอาหรับอ่าว ภาษาอาหรับอิรัก อียิปต์ตอนบน ส่วนใหญ่ของบริเวณมักเรบ และบางส่วนของบริเวณเลอวานต์ (เช่น จอร์แดน) กลายเป็นเสียงก้อง หดตัว เกิดจากลิ้นไก่ /ʁ/ ในภาษาอาหรับซูดาน และกลายเป็นเสียงจากคอหอย /ʔ/ ในสำเนียงที่เป็นที่รู้จักดีหลายสำเนียง เช่น สำเนียงที่ใช้พูดในไคโร เบรุต และดามัสกัส หมู่บ้านชาวคริสต์พื้นเมืองหลายแห่งในบริเวณเลอวานต์ออกเสียงเสียงนี้เป็นเสียง /k/ เช่นเดียวกับชาวชีอะห์ในบาห์เรน สำเนียงบริเวณอ่าวเปอร์เซียบางสำเนียงเปลี่ยนเสียง /q/ เป็นเสียง /d͡ʒ/ หรือ /ʒ/ หลายสำเนียงที่เปลี่ยนเสียง /q/ ไปแล้ว ยังคงเสียง /q/ ไว้เฉพาะในบางคำ (มักเป็นศัพท์ทางศาสนาหรือการศึกษา) ซึ่งยืมมาจากภาษาคลาสสิก

เสียง /d͡ʒ/ ยังคงรักษาการออกเสียงนี้ในอิรักและบริเวณส่วนใหญ่ของคาบสมุทรอาระเบีย แต่ออกเสียงเป็น /g/ ในไคโรและบางส่วนของเยเมน เป็น /ʒ/ ในโมร็อกโกและบริเวณเลอวานต์ และเป็น /j/ ในบางคำของภาษาอาหรับอ่าว

เสียง /k/ ส่วนใหญ่จะคงการออกเสียงดั้งเดิมไว้ได้ แต่เปลี่ยนเป็นเสียง /t͡ʃ/ ในหลายคำของภาษาอาหรับปาเลสไตน์ อิรัก และส่วนใหญ่ในคาบสมุทรอาระเบีย ความแตกต่างมักเกิดระหว่างปัจจัย /-ak/ และ /-ik/ ที่กลายเป็น /-ak/ และ /-it͡ʃ / ตามลำดับ ในภาษาอาหรับซานา /-ik/ ออกเสียงเป็น /-iʃ/

ระบบการเขียน

อักษรอาหรับพัฒนามาจากอักษรอราเมอิก ผ่านทางอักษรซีเรียคและอักษรนาบาทาเอียน อักษรที่ใช้ในแอฟริกาเหนือและตะวันออกกลางมีความแตกต่างกันบ้าง ตัวอย่างเช่น ฟาอุและกอฟที่มีจุดข้างใต้และจุดเดี่ยวข้างบนตามลำดับพบมากในมักเรบและใช้มากในโรงเรียนสอนอัลกุรอานในแอฟริกาตะวันตก อักษรอาหรับเขียนจากขวาไปซ้าย มีรูปแบบของการเขียนหลายแบบ แบบนัสค์ใช้ในการพิมพ์และคอมพิวเตอร์ และรุกอะห์ที่ใช้ในการเขียนด้วยมือ

การคัดลายมือ

หลังจากมีการกำหนดรูปแบบของอักษรอาหรับเมื่อราว พ.ศ. 1329 โดยคอลีล อิบนุอะหมัด อัลฟะรอฮีดีย์ มีการเขียนหลายรูปแบบได้ถูกพัฒนาขึ้นมา ซึ่งใช้ทั้งในการเขียนและการจารึก รวมทั้งนำไปใช้เป็นงานศิลปะ เนื่องจากลักษณะของอักษรที่โค้งตามธรรมชาติ ทำให้ประกอบเป็นรูปต่างๆได้ง่าย

การถอดอักษร

การถอดอักษรอาหรับเป็นอักษรโรมันมีหลายแบบ มีทั้งแบบที่ใช้อักษรคู่แทนเสียงเดี่ยว และระบบที่ใช้อักษรพิเศษแทนเพื่อใช้ 1 อักษรต่อ 1 เสียง ซึ่งเป็นระบบที่นิยมใช้โดยกองทัพสหรัฐ

การถอดอักษรอาหรับเป็นอักษรไทยมีหลายมาตรฐาน แต่ที่มีกำหนดเป็นหลายลักษณ์อักษรคือ มาตรฐานการถอดรูปอักษรอาหรับเป็นอักษรไทยแบบสยามิค นอกจากนี้ราชบัณฑิตยสถานได้กำหนดหลักเกณฑ์ทับศัพท์ภาษาอาหรับของราชบัณฑิตยสถาน

ตัวเลข

ในปัจจุบัน ในแอฟริกาเหนือใช้เลขอารบิก ส่วนในอียิปต์และตะวันออกกลางใช้เลขอารบิกตะวันออก การเขียนตัวเลขเขียนจากซ้ายไปขวา

องค์กรควบคุมมาตรฐานของภาษา

สถาบันการศึกษาภาษาอาหรับเป็นองค์กรควบคุมภาษาอาหรับที่ก่อตั้งขึ้นในประเทศอาหรับ มีกิจกรรมส่วนใหญ่ในดามัสกัสและไคโร มีหน้าที่ตรวจสอบพัฒนาการของภาษา ตรวจคำใหม่ เพื่อเพิ่มเข้าไปในพจนานุกรมมาตรฐาน รวมทั้งการตีพิมพ์เอกสารโบราณและเอกสารทางประวัติศาสตร์ด้วยภาษาอาหรับ

ไวยากรณ์

คำนามที่ใช้ในภาษาเขียนมี 3 การก คือประธาน กรรม และความเป็นเจ้าของ มี 3 พจน์ คือ เอกพจน์ ทวิพจน์ และพหูพจน์ มี 2 เพศ คือชายกับหญิง และมี 3 สถานะ คือ ทั่วไป ชี้เฉพาะ และผูกประโยค การกของนามเอกพจน์นอกจากที่ลงท้ายด้วย ā แสดงโดยปัจจัยที่เป็นสระเสียงสั้น (/u/ สำหรับประธาน, /a/ สำหรับกรรม และ /i/ สำหรับความเป็นเจ้าของ) นามสตรีเอกพจน์ มักแสดงด้วย /-at/ ซึ่งมักลดรูปเหลือ /-ah/ หรือ /a/ การแสดงพหูพจน์ใช้ได้ทั้งการลงท้ายและการเปลี่ยนแปลงภายในคำ คำนามทุกคำสามารถนำหน้าด้วย /al/ ซึ่งเป็นคำนำหน้านาม นามเอกพจน์รูปชี้เฉพาะนอกจากที่ลงท้ายด้วย ā เติมเสียงตัวสะกด /-n/ เข้าที่สระท้ายการกเป็น /un/ , /an/ และ /in/ ซึ่งเป็นการผันคำนามแบบหนึ่ง มีการเรียงคำแบบ กริยา-ประธาน-กรรม

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "Arabic – Ethnologue". Ethnologue. Simons, Gary F. and Charles D. Fennig (eds.). 2018. Ethnologue: Languages of the World, 21st edition. จากแหล่งเดิมเมื่อ 5 มกราคม 2016. สืบค้นเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2018.
  2. Wright (2001:492)

แหล่งข้อมูลอื่น

  • อิสลาม.in.th : เพื่อความเข้าใจอิสลาม และมุสลิม
  • เว็บไซต์มุสลิมไทย : สาระธรรมอิสลาม
  • แปลภาษาอาราบิค
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาอาหรับ

ภาษาอาหร, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออก, อาหร, العربية, งกฤษ, arabic, language, เป, นภาษากล, มเซม, ดมากท, งม, ความส, มพ, นธ, . bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxkphasaxahrb xahrb العربية xngkvs Arabic Language epnphasaklumesmitik thimiphuphudmakthisud sungmikhwamsmphnththiiklchidphxkhwrkbphasahibruaelaphasaxraemxik odyphthnamacakphasaediywknkhuxphasaesmitikdngedim phasaxahrbsmyihmthuxwaepnphasakhnadihy aebngepnsaeniyngyxyidthung 27 saeniyng inrabb ISO 639 3 khwamaetktangkhxngkarichphasaphbidthwolkxahrb odymiphasaxahrbmatrthansungichinhmuphunbthuxsasnaxislam phasaxahrbsmyihmmacakphasaxahrbkhlassiksungepnphasaediywthiehluxxyuinphasaklumxahrbehnuxobran erimphbinphuththstwrrsthi 11 aelaklayepnphasathangsasnakhxngsasnaxislamtngaetphuththstwrrsthi 12 epnphasakhxngkhmphirxlkurxan aelaphasakhxngkarnmasaelabthwingwxnkhxngchawmuslimthwolk chawmuslimcaerimsuksaphasaxahrbtngaetyngedk ephuxxanxlkurxanaelathakarnmasxahrbالعربية xarxbiyah xlxaeraabiyah thiekhiyndwyxksrxahrb aebbxksrnskh xxkesiyng alˌʕa raˈbij ja praethsthimikarphudaexlcieriy bahern xiyipt xirk cxraedn khuewt elbanxn liebiy mxrieteniy omrxkok oxman paelsitn katar saxudixaraebiy sudan sieriy tuniesiy shrthxahrbexmierts eyemn epnphasaklumnxyinpraethsxun makmayphumiphakholkxahrbcanwnphuphud310 lankhninhlayaebb 2011 2016 1 270 lankhn phuphudphasathisxng thiphudphasaxahrbmatrthan smyihm 1 trakulphasaaexofrexchiaextik esmitikesmitiktawntkesmitikklangxahrbrupaebbkxnhnaProto ArabicOld ArabicOld HijaziClassical Arabic xahrbrabbkarekhiynxksrxahrbsthanphaphthangkarphasathangkarphasaxahrbmatrthansmyihmepnphasathangkarin 26 rth aela 1 dinaednphiphath epnxndbsamrxngcakphasaxngkvskbfrngess 2 List aexlcieriy bahern khxomors chad cibuti xiyipt xirk cxraedn khuewt elbanxn liebiy mxrieteniy omrxkok oxman paelsitn katar saxudixaraebiy osmaeliy sudan sieriy tuniesiy shrthxahrbexmierts eyemn aesnsibar aethnsaeniy ewsethirnsahara phiphatheruxngxanaekht xngkhkrshphaphaexfrikasnnibatxahrbxngkhkarkhwamrwmmuxxislamshprachachatiphasachnklumnxythirbrxnginList bruineswtaisprsexriethriyxinodniesiyxisraexlmaliemliyainecxrpakisthanesenklsudanitphuwangraebiybList Arabic Language International Councilaexlcieriy Supreme Council of the Arabic language in Algeriaxiyipt Academy of the Arabic Language in Cairoxisraexl Academy of the Arabic Language in Israelxirk Iraqi Academy of Sciencescxraedn Jordan Academy of Arabicliebiy Academy of the Arabic Language in Jamahiriyaomrxkok Academy of the Arabic Language in Rabatsaxudixaraebiy Academy of the Arabic Language in Riyadhosmaeliy Academy of the Arabic Language in Mogadishusudan Academy of the Arabic Language in Khartoumsieriy Arab Academy of Damascus ekaaekthisud tuniesiy Beit Al Hikma FoundationrhsphasaISO 639 1arISO 639 2araISO 639 3ara rhsrwmrhsexkeths arq phasaxahrbaexlcieriyaao phasaxahrbaexlcieriyaethbsaharabbz phasaxahrbbabaeliykhrioxlabv phasaxahrbbahernshu phasaxahrbchadacy phasaxahrbmaorintadf phasaxahrbodfariavl phasaxahrbxaraebiytawntkechiyngehnuxarz phasaxahrbxiyiptafb phasaxahrbxawayh phasaxahrbhderaamiacw phasaxahrbhiyasayl phasaxahrbliebiyacm phasaxahrbemosopetemiyary phasaxahrbomrxkokars phasaxahrbncydiapc phasaxahrbliaewntehnuxayp phasaxahrbemosopetemiyehnuxacx phasaxahrboxmanaec phasaxahrbesaaxidiayn phasaxahrbsxnxassh phasaxahrbchihhiajp phasaxahrbliaewntitarb phasaxahrbmatrthanapd phasaxahrbsudanpga phasaxahrbsudankhrioxlacq phasaxahrbtaxissi xaedniabh phasaxahrbthacikisthanaeb phasaxahrbtuniesiyauz phasaxahrbxusebkisthanLinguasphere12 AACbriewnthiphasaxahrbthiphasathxngthinkhxngchnswnihy siekhiywekhm hruxswnnxy siekhiywxxn praethsthiichphasaxahrbepnphasapracachati ekhiyw odyepnphasarachkar naenginekhm aelaphumiphakh phasarxng naenginxxn bthkhwamnimisylksnsthxksrsakl hakrabbkhxngkhunimrxngrbkaraesdngphlthithuktxng khunxacehnprsni klxng hruxsylksnxyangxunaethnthixkkhrayuniokhdphasaxahrbepnaehlngkaenidkhxngkhayumcanwnmakinphasathiichodymuslimaelaphasaswnihyinyuorp phasaxahrbexngkmikaryumkhacakphasaepxresiyaelaphasasnskvtdwy inchwngyukhklang phasaxahrbepnphasahlkinkarkhbekhluxnwthnthrrmodyechphaathangwithyasastr khnitsastr aelaprchya cungthaihphasainyuorpcanwnmakyumkhaipcakphasaxahrb odyechphaaphasasepnaelaphasaoprtueks thngniephraaxarythrrmxahrbekhyaephkhyayipthungkhabsmuthrixbieriy enuxha 1 phasaxahrbthangsasnaaelasmyihm 2 xiththiphlkhxngphasaxahrbtxphasaxun 3 phasaxahrbaelasasnaxislam 4 prawti 5 saeniyngaelalukhlan 6 esiyng 6 1 sra 6 2 phyychna 6 3 okhrngsrangphyangkh 6 4 karennhnk 7 khwamaetktangrahwangsaeniyng 8 rabbkarekhiyn 8 1 karkhdlaymux 8 2 karthxdxksr 8 3 twelkh 9 xngkhkrkhwbkhummatrthankhxngphasa 10 iwyakrn 11 duephim 12 xangxing 13 aehlngkhxmulxunphasaxahrbthangsasnaaelasmyihm aekikhchawxahrbthuxwaphasaxahrbthiichinthangsasnaepnphasamatrthanaelarupaebbxunthuxepnsaeniyng phasaxahrbthangsasnainpccubnrwmthngphasathiichinsuxpccubntlxdaexfrikaehnuxaelatawnxxkklangaelaphasainxlkurxan swnsaeniyngkhxngphasaxahrbhmaythungphasaxahrbthitangcakphasaxahrbkhlassikaelaichphudkninbriewntang khxngaexfrikaehnuxaelatawnxxkklang aelaichepnphasaphudinpccubn bangkhrngmikhwamaetktangknmakphxthithaihimekhaicknid saeniyngehlaniimmiphasaekhiyn mikarichbanginsuxaebbimepnthangkar echnlakhrhruxthxlkochw phasaxahrbmatrthanhruxphasaxahrbthangsasnaepnphasarachkarkhxngpraethsklumxahrbthukpraeths aelaepnrupaebbediywthiichsxninorngeriyn thaihphasaxahrbepntwxyanghnungkhxngphasathimirupaebbsxngchnidaelaichinsphaphsngkhmthitangkn chawxahrbthimikarsuksainthukpraeths caichidthngphasaxahrbthiichphudinthxngthinaelaphasaxahrbthiichinkarsuksa dngnnchawxahrbthimikarsuksaaelamacakkhnlapraeths echn chawomrxkokaelachawelbanxn caichphasaxahrbmatrthaninkartidtxsuxsarechnediywkbphasaxun phasaxahrbthangsasnayngkhngmiphthnakar phasaxahrbkhlassikxacaeykidcakphasaxahrbmatrthansmyihmthiichinpccubn phasaxahrbkhlassikeriyngpraoykhtamiwyakrnaebbkhlassikaelaichsphthcakphcnanukrmyukhkhlassik inphasaxahrbsmyihm miokhrngsrangthiidrbxiththiphlcakphasaxun echnkarphudthungkhxnghlaysing phasaxahrbmatrthanich k kh kh aela ng inkhnathiphasaxahrbkhlassikich k aela kh aela kh aela ng makkwa praoykhthikhuntndwyprathanthuxwapktiinphasaxahrbmatrthanmakkwaphasaxahrbkhlassikxiththiphlkhxngphasaxahrbtxphasaxun aekikhphasaxahrbmixiththiphlmakinolkxislamaelaepnaehlngkhxngkhasphth thiichinphasaebxrebxr phasaekhird phasaepxresiy phasaswahili phasaxurdu phasahindi phasamlayu phasaxinodniesiy phasaturki epntntwxyangechn khawakitab sungaeplwahnngsuxinphasaxahrb miichinthukphasathiklawmaaelwkhangtn ykewnphasamlayuaelaphasaxinodniesiythiichhmaythunghnngsuxthangsasna phasasepnaelaphasaoprtueksmikhayumcakphasaxahrbmak aelamiinphasaxngkvselknxy phasaxunechn phasamxlta phasakinubi idrbxiththiphlcakphasaxahrbthngthangdankhasphthaelaiwyakrnkhayumcakphasaxahrbmikwangkhwangthngkhacaksasna echn phasaebxrebxr tazallit lahmad sphththangwichakar echn phasaxuykur mentiq wicha sphththangesrsthsastr echn phasaxngkvs sugar natal cnthungkhasnthanthiichinkarphudpracawn echn phasaxurdu lekin aet phasaebxrebxrswnihyaelaphasaswahiliyumtwelkhcakphasaxahrb sphththangsasnaxislamswnihyepnkhayumodytrngcakphasaxahrb echn salat lahmad aelaxihmam inphasathiimidtidtxkbolkxahrbodytrng khayumcakphasaxahrbcathukyumphanphasaxun imidmacakphasaxahrbodytrng echn khayumcakphasaxahrbinphasaxurduswnihy rbphanthangphasaepxresiy aelakhayumcakphasaxahrbswnihyinphasahwsaidrbmacakphasakanurikhayumcakphasaxahrbinphasaxngkvsaelaphasainyuorpswnihyidrbphanthangphasasepnaelaphasaxitali twxyangthimiichknthwip echn sugar macak sukkar cotton qutn aela magazine mahazin khainphasaxngkvsthimitnkaenidcakphasaxahrb algebra alcohol alchemy alkali aela zenith khabangkhathiichknthwipechn intention aela information mitnkaenidmacaksphththangprchyakhxngphasaxahrbphasaxahrbaelasasnaxislam aekikhphasaxahrbepnphasathiichinxlkurxan muslimthukkhntxngeriynxanxlkurxanphasaxahrbephuxrksakhwamhmaydngedimiwimihphidphladephraakaraepl xyangirktam phasaxahrbkhngmikarichinklumchawxahrbthinbthuxsasnakhrist chawxahrbdrus chawyiwmisrahi aelachawmnediyninxirk chawmuslimswnihyimidichphasaxahrbepnphasaaem aetsamarthxanphasaxahrbthiekiywkhxngkbsasnaidprawti aekikhhlaykhn echuxwaphasaxahrbsmyihmepnswnhnungkhxngsakhayxyxahrb khanaxnintkhxngphasaklumesmitiktawntkklang inkhnathiphasaxahrbimichphasaesmitikthiekasud cungmilksnarwmkbphasabrrphburuskhxngphasaklumesmitikintrakulaexfofr exechiytikkhuxphasaesmitikdngedim nkphasasastrhlaykhnechuxwaphasaxahrbepnphasathimikhwamepnesmitikmakthisudinbrrdaphasaklumesmitiksmyihmdwykn ephraarksalksnakhxngphasaesmitikdngedimiwidmakexksarkhxngphasaxahrbdngedimhruxphasaxahrbehnuxobrankhuxcarukthixasaexiynthiphbthangtawnxxkkhxngsaxudixaraebiymixayuraw 257 pikxnphuththskrach ekhiyndwyxksrxaraebiyit inyukhtxmakhuxexksarliechiynint xayuraw 57 pikxnphuththskrach phbthangtawnxxkechiyngitkhxngsaxudixaraebiy aelaexksarthamud samud thiphbtlxdkhabsmuthrxaraebiyaelaisnay hlkthaninyukhtxmakhuxcaruksaiftikxayuraw 100 pikxnkhristskrach aelachuxechphaaphasaxahrbthiphbincarukphasanabathaexiynemuxraw kh s 400 kstriykhxngchawxahrbaehnglkmidinxirkphakhit kstriykhassandinsieriyphakhitaelarachxanackrkinidt kindah idkxtwkhuninkhabsmuthrxaraebiytxnklang inyukhnnphbkwiniphnthphasaxahrbyukhkxnsasnaxislam aelacarukphasaxahrbyukhkxnxislamekhiyndwyxksrxahrbsaeniyngaelalukhlan aekikhphasaxahrbsnthnaepnkhathiicheriykphasaxahrbsaeniyngtangthiepnphasaphudtlxdolkxahrb aelatangipcakphasaxahrbthiepnphasaekhiyn karaebngsaeniynghlkkhuxkaraebngrahwangsaeniynginaexfrikaehnuxaelasaeniyngintawnxxkklang tammadwykaraebngrahwangsaeniyngpracathin aelasaeniyngthixnurkskwakhxngchawebduxin phuphudbangsaeniyngxaccaimekhaicphasaxahrbxiksaeniynghnungid twxyangechn phuphudintawnxxkklangxaccaimekhaicbangsaeniynginaexfrikaehnux khwamaetktangrahwangsaeniyngidrbxiththiphlmacakphasathiichphudxyuediminbriewnnn sungmixiththiphlthngindankhasphthaelakareriyngpraoykh khabangkhainaetlasaeniyng mikhwamhmayehmuxnknaetmacakraksphthinphasakhlassikthitangkn echnkhawa mi saeniyngxirkich aku saeniyngelbanxnich fih aelaaexfrikaehnuxich kayәn macakphasakhlassik yakun fihi aela ka in tamladb klumkhxngsaeniynghlk idaek phasaxahrbxiyipt miphuphud 77 lankhninxiyipt aelaxacepnsaeniyngthimiphuekhaicmakthisudenuxngcakkhwamniymphaphyntraelaraykarothrthsncakxiyipt phasaxahrbaebbmkerb idaekphasaxahrbaexlcieriy omrxkok tuniesiy mxlta aelaliebiytawntk saeniyngaexlcieriyaelaomrxkokmiphuphudraw 20 lankhn phasaxahrbelxwant idaek insieriytawntk elbanxn paelsitn cxraedntawntk aelaphasaxahrbmaorintinisprs phasaxahrbxirkaelaphasaxahrbkhuessthan mikhwamaetktangrahwangsaeniyngkisitthangitaelasaeniyngbaltuthangehnuxthimilksnaxnurksniymmakkwa phasaxahrbtawnxxk insaxudixaraebiytawnxxk xirktawntk sieriytawnxxk cxraedn aelabangswnkhxngoxman phasaxahrbxaw inbahern cnghwdsaxuditawnxxk khuewt shrthxahrbexmierts kataraelaoxmansaeniyngxun idaek xssaniya inmxritaeniy maliaelasaharatawntk phasaxahrbsudan rwmsaeniyngthiichinchaddwy hiyasi insaxudixaraebiytawntk phasaxahrbncydi ichinbriewnncykhxngsaxudixaraebiyklang phasaxahrbeyemn ichineyemnaelasaxudixaraebiytxnit phasaxahrbxndalusixa ekhyichinkhabsmuthrixbieriycnthungrawphuththstwrrsthi 22 phasamxlta ichphudinekaamxlta inthaelemdietxrereniyn epnphasathiaeykipepnxikphasahnungtanghak emuxphicarnainthangsthwithya phasamxltaiklekhiyngkbphasaxahrbtuniesiysaeniyngxurbn aetinthangprawtisastr phasamxltamikaryumkha lksnathangsthwithya aelarupaebbthangiwyakrncakphasaxitali phasasisili aelaphasaxngkvs epnphasaxahrbephiyngsaeniyngediywthiekhiyndwyxksrormn misaeniyngxikmakmayesiyng aekikhsra aekikh phasaxahrbmisraaethsamesiyng odyaetlaesiyngmithngesiyngsnaelaesiyngyawkhux xa xa xi xi xu xu aetemuxprasmkbphyychnabangtwcaxxkepn exaa xx misraprasmsxngesiyngkhux ix kb exa thisakhyinphasaxahrbnncamiaetesiyngsraethanncaimisrupsra phyychna aekikh phyychnami 28 tw esiyngphyychnainphasaxahrbmithngesiyngsnaelaesiyngyaw odyesiyngyawcaaethndwyxksrlatinsxngtw echn bb hruxaesdngdwyekhruxnghmaychddah inxksrxahrb okhrngsrangphyangkh aekikh phyangkhinphasaxahrbmisxngchnidkhuxphyangkhepid CV CVV aelaphyangkhpid CVC CVVC CVCC thukphyangkherimdwyphyychna hruxphyychnathiyummacakkhakxnhna odyechphaainkrnikhxngkhanahnanamchiechphaa al echn baytu l mudiir bankhxngphukakb sungcaepn bay tul mu diir thaxxkesiyngaeykthilaphyangkh odyphukakbcaepn al mudiir karennhnk aekikh karennhnkinphasaxahrbmikhwamekiywkhxngkbkhwamyawkhxngesiyngsraaelaruprangkhxngphyangkh karennhnkkhathithuktxngchwyihekhaicidngaykhun kdphunthanidaek echphaaphyangkhsudthaykhxngkhathimisamphyangkhthithukennhnk phyangkhthimisraesiyngyawhruxphyychnakhucathukennhnk thaimmiphyangkhdngklaw phyangkhkxnphyangkhsudthaycathukenn hruxphyangkhaerkthiyxmihennesiyngid inphasaxahrbmatrthan esiyngsraesiyngyawesiyngsudthaymkthukenn aetimichkbsaeniyngthiichphudsungsraesiyngyawsudthaydngedimthukthaihsnaelasraesiyngyawxnthisxngthukykesiyngkhuninbangsaeniyngcamikdkarennesiyngthitangxxkipkhwamaetktangrahwangsaeniyng aekikhinbangsaeniyngmiesiyngphyychnathitangipcakphasaxahrbmatrthan echn saeniyngmkerbmiesiyng v sungichekhiynchuxthiyumcakphasaxun esiyng p khxngphasaklumesmitikklayepnesiyng f kxncamikarekhiyn aetinsaeniyngsmyihmkhxngphasaxahrb echn phasaxahrbxirk mikaraeykrahwangesiyng p aela b sungidrbxiththiphlcakphasaepxresiyaelaphasaturkiesiyng q yngmikarxxkesiyngaebbdngediminhlaybriewn echn eyemn omrxkok aelabriewnmkerbrxbnxk aetklayepnesiyngkxng ekidthiephdanxxn g inphasaxahrbxaw phasaxahrbxirk xiyipttxnbn swnihykhxngbriewnmkerb aelabangswnkhxngbriewnelxwant echn cxraedn klayepnesiyngkxng hdtw ekidcaklinik ʁ inphasaxahrbsudan aelaklayepnesiyngcakkhxhxy ʔ insaeniyngthiepnthiruckdihlaysaeniyng echn saeniyngthiichphudinikhor ebrut aeladamsks hmubanchawkhristphunemuxnghlayaehnginbriewnelxwantxxkesiyngesiyngniepnesiyng k echnediywkbchawchixahinbahern saeniyngbriewnxawepxresiybangsaeniyngepliynesiyng q epnesiyng d ʒ hrux ʒ hlaysaeniyngthiepliynesiyng q ipaelw yngkhngesiyng q iwechphaainbangkha mkepnsphththangsasnahruxkarsuksa sungyummacakphasakhlassikesiyng d ʒ yngkhngrksakarxxkesiyngniinxirkaelabriewnswnihykhxngkhabsmuthrxaraebiy aetxxkesiyngepn g inikhoraelabangswnkhxngeyemn epn ʒ inomrxkokaelabriewnelxwant aelaepn j inbangkhakhxngphasaxahrbxawesiyng k swnihycakhngkarxxkesiyngdngedimiwid aetepliynepnesiyng t ʃ inhlaykhakhxngphasaxahrbpaelsitn xirk aelaswnihyinkhabsmuthrxaraebiy khwamaetktangmkekidrahwangpccy ak aela ik thiklayepn ak aela it ʃ tamladb inphasaxahrbsana ik xxkesiyngepn iʃ rabbkarekhiyn aekikhxksrxahrbphthnamacakxksrxraemxik phanthangxksrsieriykhaelaxksrnabathaexiyn xksrthiichinaexfrikaehnuxaelatawnxxkklangmikhwamaetktangknbang twxyangechn faxuaelakxfthimicudkhangitaelacudediywkhangbntamladbphbmakinmkerbaelaichmakinorngeriynsxnxlkurxaninaexfrikatawntk xksrxahrbekhiyncakkhwaipsay mirupaebbkhxngkarekhiynhlayaebb aebbnskhichinkarphimphaelakhxmphiwetxr aelarukxahthiichinkarekhiyndwymux karkhdlaymux aekikh hlngcakmikarkahndrupaebbkhxngxksrxahrbemuxraw ph s 1329 odykhxlil xibnuxahmd xlfarxhidiy mikarekhiynhlayrupaebbidthukphthnakhunma sungichthnginkarekhiynaelakarcaruk rwmthngnaipichepnngansilpa enuxngcaklksnakhxngxksrthiokhngtamthrrmchati thaihprakxbepnruptangidngay karthxdxksr aekikh karthxdxksrxahrbepnxksrormnmihlayaebb mithngaebbthiichxksrkhuaethnesiyngediyw aelarabbthiichxksrphiessaethnephuxich 1 xksrtx 1 esiyng sungepnrabbthiniymichodykxngthphshrthkarthxdxksrxahrbepnxksrithymihlaymatrthan aetthimikahndepnhlaylksnxksrkhux matrthankarthxdrupxksrxahrbepnxksrithyaebbsyamikh nxkcaknirachbnthitysthanidkahndhlkeknththbsphthphasaxahrbkhxngrachbnthitysthan twelkh aekikh inpccubn inaexfrikaehnuxichelkhxarbik swninxiyiptaelatawnxxkklangichelkhxarbiktawnxxk karekhiyntwelkhekhiyncaksayipkhwaxngkhkrkhwbkhummatrthankhxngphasa aekikhsthabnkarsuksaphasaxahrbepnxngkhkrkhwbkhumphasaxahrbthikxtngkhuninpraethsxahrb mikickrrmswnihyindamsksaelaikhor mihnathitrwcsxbphthnakarkhxngphasa trwckhaihm ephuxephimekhaipinphcnanukrmmatrthan rwmthngkartiphimphexksarobranaelaexksarthangprawtisastrdwyphasaxahrbiwyakrn aekikhkhanamthiichinphasaekhiynmi 3 kark khuxprathan krrm aelakhwamepnecakhxng mi 3 phcn khux exkphcn thwiphcn aelaphhuphcn mi 2 ephs khuxchaykbhying aelami 3 sthana khux thwip chiechphaa aelaphukpraoykh karkkhxngnamexkphcnnxkcakthilngthaydwy a aesdngodypccythiepnsraesiyngsn u sahrbprathan a sahrbkrrm aela i sahrbkhwamepnecakhxng namstriexkphcn mkaesdngdwy at sungmkldrupehlux ah hrux a karaesdngphhuphcnichidthngkarlngthayaelakarepliynaeplngphayinkha khanamthukkhasamarthnahnadwy al sungepnkhanahnanam namexkphcnrupchiechphaanxkcakthilngthaydwy a etimesiyngtwsakd n ekhathisrathaykarkepn un an aela in sungepnkarphnkhanamaebbhnung mikareriyngkhaaebb kriya prathan krrmduephim aekikhxksrxahrb karekhiynkhathbsphthphasaxahrb Learn Arabic with audio xangxing aekikh 1 0 1 1 Arabic Ethnologue Ethnologue Simons Gary F and Charles D Fennig eds 2018 Ethnologue Languages of the World 21st edition ekb cakaehlngedimemux 5 mkrakhm 2016 subkhnemux 21 kumphaphnth 2018 Wright 2001 492 aehlngkhxmulxun aekikhxislam in th ephuxkhwamekhaicxislam aelamuslim ewbistmuslimithy sarathrrmxislam aeplphasaxarabikh wikiphiediy saranukrmesri inphasaxahrbekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaxahrb amp oldid 9421877, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม