fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาเขมร

ภาษาเขมร (เขมร: ភាសាខ្មែរ ภาสาแขฺมร [pʰiə.ˈsaː kʰmae] เพียซา ខ្មេរ៍/ខ្មេរ៑/ខេមរៈ/ ขอเมร์ ) ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นหนึ่งในภาษาหลักของตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก และได้รับอิทธิพลหลายๆ ประการมาจากภาษาสันสกฤต และภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้เข้ามาผ่านศาสนาพุทธ และศาสนาฮินดู ในขณะที่อิทธิพลจากภาษาอื่นๆ โดยมากเป็นคำยืม เช่น จากภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษา และความใกล้ชิดกันในทางภูมิศาสตร์ และภาษาจีนจากการอพยพ ภาษาฝรั่งเศสจากการตกเป็นอาณานิคมช่วงเวลาหนึ่ง และภาษามลายูจากความสัมพันธ์ในอดีตและการที่เคยมีอาณาจักรจามปาในตอนกลางของประเทศเวียดนาม

ภาษาเขมร
ភាសាខ្មែរ
ออกเสียง[pʰiːəsaː kʰmaːe] เพียซาขแม
ประเทศที่มีการพูดกัมพูชา เวียดนาม ไทย
จำนวนผู้พูด15.7–21.6 ล้าน (พ.ศ. 2547)  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ออสโตรเอเชียติก
ระบบการเขียนอักษรเขมร
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการกัมพูชา
ผู้วางระเบียบพุทธสาสนบัณฑิตย
รหัสภาษา
ISO 639-1km
ISO 639-2khm
ISO 639-3อย่างใดอย่างหนึ่ง:
khm — เขมรกลาง
kxm — เขมรเหนือ

ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน (ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม) เนื่องจากไม่มีเสียงวรรณยุกต์

สัทวิทยา

ภาษาเขมรมาตรฐานในปัจจุบัน มีเสียงสระและพยัญชนะดังต่อไปนี้ (เขียนตาม IPA)

พยัญชนะ

p (pʰ) t (tʰ) c (cʰ) k (kʰ) ʔ
ɓ ~ b ɗ ~ d
(f) s h
m n ɲ ŋ
w j
l
r

ปรากฏในตำแหน่งพยัญชนะท้ายได้ 13 หน่วยเสียงคือ p t c k ʔ h m n ɲ ŋ w j l นอกจากนี้ ในคำยืมบางคำปรากฏเสียงพยัญชนะ f/ฟ จากภาษาไทย จีน ฝรั่งเศส อังกฤษ เวียดนาม และ ʃ, z , และ g ในคำยืมจากภาษาฝรั่งเศส อังกฤษ

สระ

i e ɨ ə a ɑ u o
i ɛː ɨː əː ɑː ɔː
iːə eːi aːe ɨːə əːɨ aːə ɑːo uːə oːu ɔːə

หมายเหตุ มีข้อโต้แย้งเกี่ยวกับจำนวนและค่าทางสัทวิทยาของสระเหล่านี้

พยางค์และคำ

คำในภาษาเขมรมักจะประกอบด้วย 1 หรือ 2 พยางค์ มีเสียงอักษรควบจากพยัญชนะ 2 ตัวอยู่ที่ปรากฏที่ต้นพยางค์อยู่ 85 เสียง และมีอักษรควบจากจาก พยัญชนะ 3 ตัวอยู่ 2 เสียง ดังตาราง

pʰt- pʰc- pʰk- pʰʔ- pɗ- pʰn- pʰɲ- pʰŋ- pʰj- pʰl- pɽ- ps- ph-
tʰp- tʰk- tʰʔ- tɓ- tʰm- tʰn- tʰŋ- tw- tj- tl- tɽ- th-
cʰp- cʰk- cʰʔ- cɓ- cɗ- cʰm- cʰn- cʰŋ- cʰw- cʰl- cɽ- ch-
kʰp- kʰt- kʰc- kʰʔ- kɓ- kɗ- kʰm- kʰn- kʰɲ- kŋ- kʰw- kʰj- kʰl- kʰɽ- ks- kh-
sp- st- sk- sʔ- sɓ- sɗ- sm- sn- sɲ- sŋ- sw- sl- sɽ- sth-
ʔəw-
mət- məc- məʔ- məɗ- mən- məɲ- məl- məɽ- məs- məh-
ləp- lək- ləʔ- ləɓ- ləm- ləŋ- ləw- ləh- ləkh-

แต่ละพยางค์จะเริ่มต้นด้วยพยัญชนะหรือพยัญชนะควบกล้ำ ตามด้วยเสียงสระ แต่ละพยางค์สามารถจะมีเสียงพยัญชนะต่อไปนี้ลงท้าย เมื่อใช้เสียงสระสั้น จะต้องลงท้ายด้วยพยัญชนะ

โครงสร้างของคำในภาษาเขมรที่มีมากที่สุดเป็นพยางค์เต็มตามที่อธิบายไว้ข้างบน ต่อหน้าด้วยพยางค์สั้นที่มีโครงสร้าง CV-, CɽV-, CVN- หรือ CɽVN- (C เป็นพยัญชนะ V เป็นสระ N เป็น m/ม, n/น, ɲ หรือ ŋ/ง). สระในพยางค์สั้นเหล่านี้มักจะออกเสียงเป็น ə ในภาษาพูด การงดออกเสียงบางเสียงในพยางค์แรกของคำสองพยางค์ทำให้ภาษาเขมรโดยเฉพาะภาษาพูดกลายเป็นคำพยางค์ครึ่ง (sesquisyllable)

คำต่าง ๆ สามารถประกอบด้วย 2 พยางค์เต็มได้

คำที่มี 3 พยางค์ขึ้นไปส่วนใหญ่เป็นคำยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส หรือ ภาษาอื่น ๆ

ภาษาถิ่น

ภาษาถิ่นมีการแสดงอย่างชัดเจนในบางกรณี มีข้อแตกต่างที่สังเกตเห็นได้ระหว่างคนพูดจากเมืองพนมเปญ (เมืองหลวง) และเมืองพระตะบองในชนบท โดยภาษาเขมรจะแบ่งเป็นภาษาถิ่นได้ 5 ถิ่น ได้แก่

ลักษณะของสำเนียงในพนมเปญ คือการออกเสียงอย่างไม่เคร่งครัด โดยที่บางส่วนของคำจะนำมารวมกัน หรือตัดออกไปเลย เช่น "พนมเปญ" จะกลายเป็น"อึม.เปญ" อีกลักษณะหนึ่งของสำเนียงในพนมเปญ ปรากฏในคำที่มีเสียง r/ร เป็นพยัญชนะที่ 2 ในพยางค์แรก กล่าวคือ จะไม่ออกเสียง r/ร ออกเสียงพยัญชนะตัวแรกแข็งขึ้น และจะอ่านให้มีระดับเสียงตก เช่นเดียวกับวรรณยุกต์เสียงโท ตัวอย่างเช่น "trej" ("เตรย" แปลว่า "ปลา") อ่านเป็น "เถ็ย" (โดย d จะกลายเป็น t และมีสระคล้ายเสียง "เอ" และเสียงสระจะสูงขึ้น) อีกตัวอย่างหนึ่งคือ คำว่า "ส้ม" ออกเสียงว่า kroic โกรจ ในชนบท ส่วนในเมืองออกเสียงเป็น khoic" โขจ

ไวยากรณ์

ตามแบบลักษณ์ภาษา ชนิดของคำในภาษาเขมรจัดอยู่ในกลุ่มสองกลุ่ม คือภาษาคำโดดและภาษาคำติดต่อ คำส่วนใหญ่เป็นคำโดด แต่มีการสร้างคำจากการเติมหน้าคำและการเติมภายในคำซึ่งเป็นลักษณะของภาษาคำติดต่อก็มีมาก ส่วนโครงสร้างประโยคพื้นฐานเป็น ประธาน-กริยา-กรรม และคำขยายมักจะอยู่ด้านหลังของคำหลัก ยกเว้นคำขยายกริยาสามารถปรากฏหน้าหรือหลังของคำกริยาได้โดยมีความหมายเดียวกัน ภาษาเขมรมีลักษณนาม มีคำลงท้ายประโยคที่แสดงทัศนคติหรืออารมณ์ ส่วนลักษณะบางประการทางไวยากรณ์ของภาษาเขมรใกล้เคียงกับไวยากรณ์ในภาษาไทยและภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเฉพาะส่วนภาคพื้นทวีป

อักษรเขียน

ภาษาเขมรเขียนด้วยอักษรเขมร และเลขเขมร (มีลักษณะเหมือนเลขไทย) ใช้กันทั่วไปมากกว่าเลขอารบิก ชาวเขมรได้รับตัวอักษรและตัวเลขจากอินเดียฝ่ายใต้ อักษรเขมรนั้นมีด้วยกัน 2แบบ

  • อักษรเชรียง (อักซอเจรียง) หรืออักษรเอน หรืออักษรเฉียง เป็นตัวอักษรที่นิยมใช้ทั่วไป เดิมนั้นนิยมเขียนเป็นเส้นเอียง แต่ภายหลังเมื่อมีระบบการพิมพ์ ได้ประดิษฐ์อักษณแบบเส้นตรงขึ้น และมีชื่ออีกอย่างว่า อักษรยืน (อักซอโฌ) อักษรเอนนี้เป็นตัวยาว มีเหลี่ยม เขียนง่าย ถือได้ว่าเป็นอักษรแบบหวัด
  • อักษรมูล หรืออักษรกลม เป็นอักษรที่ใช้เขียนบรรจง ตัวกว้างกว่าอักษรเชรียง นิยมใช้เขียนหนังสือธรรม เช่น คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา หรือการเขียนหัวข้อ ที่ต้องการความโดดเด่น หรือการจารึกในที่สาธารณะ
  • Romanization เขียนภาษาเขมรด้วยอักษรโรมัน

ในสมัยก่อน มีผู้นิยมใช้อักษรเขมรเขียนภาษาไทย หรือภาษาบาลี ด้วย เรียกอักษรอย่างนี้ว่า อักษรขอมไทย

อิทธิพลของภาษาเขมรในภาษาไทย

ภาษาขอมมีอิทธิพลในภาษาไทยมาช้านาน ทางด้าน ๑ รูปลักษณะตัวอักษร ๒ คำยืม ๓ รูปแบบไวยากรณ์บางประการ ๔ การเปลี่ยนแปลงเสียงบางประการจากเสียงเดิมในภาษาบาลีสันสกฤต เช่น ป>บ ต>ด โดยมีหลักฐานชัดเจนย้อนหลังไปอย่างน้อยในสมัยสุโขทัย (จารึกหลักที่หนึ่ง) โดยปรากฏในปริบทต่างๆ ดังนี้

  • ในวรรณคดี (เช่น ลิลิตยวนพ่าย, โคลงกำสรวล, คำฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง) ได้แก่ เพ็ญ, พร, ไถง, ผกา, ผอูน, แข, อัญขยม, ฉนำ, จำรัส ฯลฯ
  • ในภาษาพูดทั่วไป เช่น จมูก, ถนน, อาจ, อำนาจ ฯลฯ
  • ในอาชีพต่างๆ เช่น เสมียน, ตำรวจ, ฯลฯ
  • ในราชาศัพท์ เช่น ขนง, โขนง, เขนย, บรรทม, เสด็จ ฯลฯ
  • ในชื่อบุคคล เช่น สมพร, สมาน ฯลฯ
  • ในชื่อสถานที่ เช่น ฉะเชิงเทรา, อำนาจเจริญ, เกาะเกร็ด, สตึก ฯลฯ

อิทธิพลของภาษาไทยในภาษาเขมร

คำยืมภาษาไทย

ในภาษาเขมรนั้นมีการยืมคำภาษาไทยมาใช้เป็นจำนวนมาก โดยติดมากับการค้าขาย โดยคำที่ยืมมาจะมีหลักสังเกตได้ง่าย เช่น ในภาษาเขมรแท้ ๆ จะไม่มีหน่วยเสียง /f/ (เสียง ฝ ฟ) พยัญชนะเขมรจึงไม่มีการประดิษฐ์อักษรที่แทนหน่วยเสียงนี้โดยชัดเจน แต่จะใช้ตัว ហ ซ้อนกับเชิงของ វ เป็น ហ្វ แทนเสียง /f/ ที่เป็นคำยืมในภาษาต่างๆ โดยเฉพาะภาษาไทย

คำยืมภาษาไทยที่เป็นการนับเลข

เลขเขมร ตั้งแต่เลข 30 40 50 60 70 80 90 จะเรียกว่า ซามเซ็บ แซ็ยเซ็บ ฮาเซ็บ ฮกเซ็บ เจ็ดเซ็บ แปดเซ็บ เกาเซ็บ ตามลำดับ สังเกตได้ว่าเป็นคำยืมการนับเลขจากภาษาไทย และสังเกตว่านับมาได้ช้านานแล้ว

ภาษาเขมรในประเทศไทย

ภาษาเขมรในประเทศไทยพบผู้พูดกระจายอยู่ในภาคตะวันออกของประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพบจำนวนผู้พูดกระจุกตัวอยู่มากที่สุด ในภาคกลางของประเทศไทยมีประวัติว่ามีผู้พูดภาษาเขมรในราชบุรี สุพรรณบุรี แต่มีผู้พูดน้อยแล้ว ในกรุงเทพมหานครยังมีชุมชนแขกบ้านครัวที่เป็นชาวเขมรและชาวจามอพยพมาจากพระตะบอง คนสูงวัยบางคนยังจำภาษาเขมรได้บ้างไม่กี่คำ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

  • คำถามเกี่ยวกับยูนิโคดสำหรับภาษาเขมร
  • การใช้ยูนิโคดสำหรับภาษาเขมร
  • Ethnologue เกี่ยวกับเขมร
  • บทความที่ Omniglot เกี่ยวกับภาษาเขมร
  • ตารางอักษรเขมรที่ Geonames
  • ศูนย์กัมพูชาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาเขมร

ภาษาเขมร, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออก, เขมร, ภาสาแข, มร, pʰiə, ˈsaː, kʰmae, เพ, ยซา, មរ, ขอเมร, งเป, นภาษาประจำชาต, ของราชอ. bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxkphasaekhmr ekhmr ភ ស ខ ម រ phasaaekh mr pʰie ˈsaː kʰmae ephiysa ខ ម រ ខ ម រ ខ មរ khxemr sungepnphasapracachatikhxngrachxanackrkmphucha epnhnunginphasahlkkhxngtrakulphasaxxsotrexechiytik aelaidrbxiththiphlhlay prakarmacakphasasnskvt aelaphasabali phxsmkhwr sungxiththiphlehlaniekhamaphansasnaphuthth aelasasnahindu inkhnathixiththiphlcakphasaxun odymakepnkhayum echn cakphasaithy phasalaw aelaphasaewiydnam epnphlmacakkartidtxknthangdanphasa aelakhwamiklchidkninthangphumisastr aelaphasacincakkarxphyph phasafrngesscakkartkepnxananikhmchwngewlahnung aelaphasamlayucakkhwamsmphnthinxditaelakarthiekhymixanackrcampaintxnklangkhxngpraethsewiydnamphasaekhmrភ ស ខ ម រxxkesiyng pʰiːesaː kʰmaːe ephiysakhaempraethsthimikarphudkmphucha ewiydnam ithycanwnphuphud15 7 21 6 lan ph s 2547 imphbwnthi trakulphasaxxsotrexechiytik mxy ekhmrmxy ekhmrtawnxxkphasaekhmrrabbkarekhiynxksrekhmrsthanphaphthangkarphasathangkarkmphuchaphuwangraebiybphuththsasnbnthityrhsphasaISO 639 1kmISO 639 2khmISO 639 3xyangidxyanghnung khm ekhmrklangkxm ekhmrehnuxphasaekhmraeplkipcakphasainpraethsephuxnban phasaithy phasalaw aelaphasaewiydnam enuxngcakimmiesiyngwrrnyukt enuxha 1 sthwithya 1 1 phyychna 1 2 sra 1 3 phyangkhaelakha 2 phasathin 3 iwyakrn 4 xksrekhiyn 5 xiththiphlkhxngphasaekhmrinphasaithy 6 xiththiphlkhxngphasaithyinphasaekhmr 1 6 1 khayumphasaithy 6 2 khayumphasaithythiepnkarnbelkh 7 phasaekhmrinpraethsithy 8 xangxing 9 aehlngkhxmulxunsthwithya aekikhphasaekhmrmatrthaninpccubn miesiyngsraaelaphyychnadngtxipni ekhiyntam IPA phyychna aekikh p pʰ t tʰ c cʰ k kʰ ʔɓ b ɗ d f s hm n ɲ ŋw jlrpraktintaaehnngphyychnathayid 13 hnwyesiyngkhux p t c k ʔ h m n ɲ ŋ w j l nxkcakni inkhayumbangkhapraktesiyngphyychna f f cakphasaithy cin frngess xngkvs ewiydnam aela ʃ z aela g inkhayumcakphasafrngess xngkvs sra aekikh i e ɨ e a ɑ u oi eː ɛː ɨː eː aː ɑː uː oː ɔːiːe eːi aːe ɨːe eːɨ aːe ɑːo uːe oːu ɔːeee ue oehmayehtu mikhxotaeyngekiywkbcanwnaelakhathangsthwithyakhxngsraehlani phyangkhaelakha aekikh khainphasaekhmrmkcaprakxbdwy 1 hrux 2 phyangkh miesiyngxksrkhwbcakphyychna 2 twxyuthipraktthitnphyangkhxyu 85 esiyng aelamixksrkhwbcakcak phyychna 3 twxyu 2 esiyng dngtarang pʰt pʰc pʰk pʰʔ pɗ pʰn pʰɲ pʰŋ pʰj pʰl pɽ ps ph tʰp tʰk tʰʔ tɓ tʰm tʰn tʰŋ tw tj tl tɽ th cʰp cʰk cʰʔ cɓ cɗ cʰm cʰn cʰŋ cʰw cʰl cɽ ch kʰp kʰt kʰc kʰʔ kɓ kɗ kʰm kʰn kʰɲ kŋ kʰw kʰj kʰl kʰɽ ks kh sp st sk sʔ sɓ sɗ sm sn sɲ sŋ sw sl sɽ sth ʔew met mec meʔ meɗ men meɲ mel meɽ mes meh lep lek leʔ leɓ lem leŋ lew leh lekh aetlaphyangkhcaerimtndwyphyychnahruxphyychnakhwbkla tamdwyesiyngsra aetlaphyangkhsamarthcamiesiyngphyychnatxipnilngthay emuxichesiyngsrasn catxnglngthaydwyphyychnaokhrngsrangkhxngkhainphasaekhmrthimimakthisudepnphyangkhetmtamthixthibayiwkhangbn txhnadwyphyangkhsnthimiokhrngsrang CV CɽV CVN hrux CɽVN C epnphyychna V epnsra N epn m m n n ɲ hrux ŋ ng srainphyangkhsnehlanimkcaxxkesiyngepn e inphasaphud karngdxxkesiyngbangesiynginphyangkhaerkkhxngkhasxngphyangkhthaihphasaekhmrodyechphaaphasaphudklayepnkhaphyangkhkhrung sesquisyllable khatang samarthprakxbdwy 2 phyangkhetmidkhathimi 3 phyangkhkhunipswnihyepnkhayummacakphasabali snskvt frngess hrux phasaxun phasathin aekikhphasathinmikaraesdngxyangchdecninbangkrni mikhxaetktangthisngektehnidrahwangkhnphudcakemuxngphnmepy emuxnghlwng aelaemuxngphratabxnginchnbth odyphasaekhmrcaaebngepnphasathinid 5 thin idaek saeniyngphratabxng phudthangaethbphakhehnuxkhxngpraethskmphucha saeniyngphnmepy epnsaeniyngklangkhxngkmphucha odycaphudinphnmepyaelacnghwdodyrxbethann saeniyngekhmrbn hrux phasaekhmrthinsurinthr phudodychawithyechuxsayekhmrinaethbxisanit odyechphaaincnghwdsurinthr cnghwdburirmy cnghwdsrisaeks cnghwdrxyexd cnghwdxublrachthani epntn saeniyngaekhmrkrxm hrux phasaekhmrthinit phudodychawekhmrthixasyaethbsamehliympakaemnaokhnginpraethsewiydnam saeniyngtawntk hrux phasaekhmrthincnthburi thuxepnphasathinthiichphudthangphakhtawntkkhxngpraethskmphuchabriewnthiwekhabrrthd miphuichcanwnnxylksnakhxngsaeniynginphnmepy khuxkarxxkesiyngxyangimekhrngkhrd odythibangswnkhxngkhacanamarwmkn hruxtdxxkipely echn phnmepy caklayepn xum epy xiklksnahnungkhxngsaeniynginphnmepy praktinkhathimiesiyng r r epnphyychnathi 2 inphyangkhaerk klawkhux caimxxkesiyng r r xxkesiyngphyychnatwaerkaekhngkhun aelacaxanihmiradbesiyngtk echnediywkbwrrnyuktesiyngoth twxyangechn trej etry aeplwa pla xanepn ethy ody d caklayepn t aelamisrakhlayesiyng ex aelaesiyngsracasungkhun xiktwxyanghnungkhux khawa sm xxkesiyngwa kroic okrc inchnbth swninemuxngxxkesiyngepn khoic okhciwyakrn aekikhtamaebblksnphasa chnidkhxngkhainphasaekhmrcdxyuinklumsxngklum khuxphasakhaoddaelaphasakhatidtx khaswnihyepnkhaodd aetmikarsrangkhacakkaretimhnakhaaelakaretimphayinkhasungepnlksnakhxngphasakhatidtxkmimak swnokhrngsrangpraoykhphunthanepn prathan kriya krrm aelakhakhyaymkcaxyudanhlngkhxngkhahlk ykewnkhakhyaykriyasamarthprakthnahruxhlngkhxngkhakriyaidodymikhwamhmayediywkn phasaekhmrmilksnnam mikhalngthaypraoykhthiaesdngthsnkhtihruxxarmn swnlksnabangprakarthangiwyakrnkhxngphasaekhmriklekhiyngkbiwyakrninphasaithyaelaphasainexechiytawnxxkechiyngitodyechphaaswnphakhphunthwipxksrekhiyn aekikhphasaekhmrekhiyndwyxksrekhmr aelaelkhekhmr milksnaehmuxnelkhithy ichknthwipmakkwaelkhxarbik chawekhmridrbtwxksraelatwelkhcakxinediyfayit xksrekhmrnnmidwykn 2aebb xksrechriyng xksxecriyng hruxxksrexn hruxxksrechiyng epntwxksrthiniymichthwip edimnnniymekhiynepnesnexiyng aetphayhlngemuxmirabbkarphimph idpradisthxksnaebbesntrngkhun aelamichuxxikxyangwa xksryun xksxoch xksrexnniepntwyaw miehliym ekhiynngay thuxidwaepnxksraebbhwd xksrmul hruxxksrklm epnxksrthiichekhiynbrrcng twkwangkwaxksrechriyng niymichekhiynhnngsuxthrrm echn khmphirinphraphuththsasna hruxkarekhiynhwkhx thitxngkarkhwamoddedn hruxkarcarukinthisatharna Romanization ekhiynphasaekhmrdwyxksrormninsmykxn miphuniymichxksrekhmrekhiynphasaithy hruxphasabali dwy eriykxksrxyangniwa xksrkhxmithyxiththiphlkhxngphasaekhmrinphasaithy aekikhphasakhxmmixiththiphlinphasaithymachanan thangdan 1 ruplksnatwxksr 2 khayum 3 rupaebbiwyakrnbangprakar 4 karepliynaeplngesiyngbangprakarcakesiyngediminphasabalisnskvt echn p gt b t gt d odymihlkthanchdecnyxnhlngipxyangnxyinsmysuokhthy carukhlkthihnung odypraktinpribthtang dngni inwrrnkhdi echn lilitywnphay okhlngkasrwl khachnthdusdisngewyklxmchang idaek ephy phr ithng phka phxun aekh xykhym chna cars l inphasaphudthwip echn cmuk thnn xac xanac l inxachiphtang echn esmiyn tarwc l inrachasphth echn khnng okhnng ekhny brrthm esdc l inchuxbukhkhl echn smphr sman l inchuxsthanthi echn chaechingethra xanacecriy ekaaekrd stuk lxiththiphlkhxngphasaithyinphasaekhmr 1 aekikhkhayumphasaithy aekikh inphasaekhmrnnmikaryumkhaphasaithymaichepncanwnmak odytidmakbkarkhakhay odykhathiyummacamihlksngektidngay echn inphasaekhmraeth caimmihnwyesiyng f esiyng f f phyychnaekhmrcungimmikarpradisthxksrthiaethnhnwyesiyngniodychdecn aetcaichtw ហ sxnkbechingkhxng វ epn ហ វ aethnesiyng f thiepnkhayuminphasatang odyechphaaphasaithy khayumphasaithythiepnkarnbelkh aekikh elkhekhmr tngaetelkh 30 40 50 60 70 80 90 caeriykwa samesb aesyesb haesb hkesb ecdesb aepdesb ekaesb tamladb sngektidwaepnkhayumkarnbelkhcakphasaithy aelasngektwanbmaidchananaelwphasaekhmrinpraethsithy aekikhphasaekhmrinpraethsithyphbphuphudkracayxyuinphakhtawnxxkkhxngpraethsithy phakhtawnxxkechiyngehnuxsungphbcanwnphuphudkracuktwxyumakthisud inphakhklangkhxngpraethsithymiprawtiwamiphuphudphasaekhmrinrachburi suphrrnburi aetmiphuphudnxyaelw inkrungethphmhankhryngmichumchnaekhkbankhrwthiepnchawekhmraelachawcamxphyphmacakphratabxng khnsungwybangkhnyngcaphasaekhmridbangimkikhaxangxing aekikh https khmerspelling wordpress com tag E1 9E 95 E1 9F 92 E1 9E 89 E1 9E BE E2 80 8B E1 9E 87 E1 9E BE E1 9E 84 aehlngkhxmulxun aekikhkhathamekiywkbyuniokhdsahrbphasaekhmr karichyuniokhdsahrbphasaekhmr Ethnologue ekiywkbekhmr bthkhwamthi Omniglot ekiywkbphasaekhmr tarangxksrekhmrthi Geonames sunykmphuchasuksa mhawithyalyrachphtxublrachthani wikiphiediy saranukrmesri inphasaekhmrekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaekhmr amp oldid 9407527, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม