fbpx
วิกิพีเดีย

มหากาพย์กิลกาเมช

มหากาพย์กิลกาเมช (อังกฤษ: Gilgamesh) เป็นตำนานน้ำท่วมโลกที่เก่าแก่ของเมโสโปเตเมียโบราณ เป็นหนึ่งในงานวรรณกรรมประเภทนิยายที่เก่าแก่ที่สุดในโลก นักวิชาการเชื่อว่ามหากาพย์เรื่องนี้มีกำเนิดมาจากตำนานกษัตริย์สุเมเรียนและบทกวีเกี่ยวกับวีรบุรุษในตำนานที่ชื่อว่า กิลกาเมช ซึ่งถูกรวบรวมเอาไว้กับบรรดาบทกวีอัคคาเดียนในยุคต่อมา มหากาพย์ชุดที่สมบูรณ์ที่สุดในปัจจุบันปรากฏในแผ่นดินเหนียว 12 แท่งซึ่งเก็บรักษาไว้ที่หอเก็บจารึกของกษัตริย์แห่งอัสซีเรีย เมื่อราวศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล มีชื่อดั้งเดิมว่า ผู้มองเห็นเบื้องลึก (He who Saw the Deep; Sha naqba īmuru) หรือ ผู้ยิ่งใหญ่กว่าราชันทั้งปวง (Surpassing All Other Kings; Shūtur eli sharrī) กิลกาเมชอาจจะเป็นผู้ปกครองที่มีตัวตนจริงในอดีตระหว่างราชวงศ์ที่ 2 ของยุคต้นของสุเมเรีย (ประมาณ 2,700 ปีก่อนคริสตกาล)

มหากาพย์กิลกาเมช  
ประเทศเมโสโปเตเมีย
ภาษาซูเมอร์
ชนิดสื่อclay tablet
จารึกมหากาพย์กิลกาเมช ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์น้ำท่วมโลก ในอัคคาเดียน

สาระสำคัญของเรื่องเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างกิลกาเมช ผู้กำลังท้อใจกับการปกครองของตน กับเพื่อนของเขาชื่อ เอนกิดู ซึ่งเข้ารับภารกิจเสี่ยงภัยร่วมกับกิลกาเมช เนื้อหาส่วนใหญ่ในมหากาพย์เน้นย้ำถึงความรู้สึกสูญเสียของกิลกาเมชหลังจากเอนกิดูเสียชีวิต และกล่าวถึงการกลับเป็นมนุษย์อีกครั้งพร้อมกับเน้นย้ำเรื่องความเป็นอมตะ เรื่องราวในหนังสือเล่าถึงการที่กิลกาเมชออกเสาะหาความเป็นอมตะหลังจากการเสียชีวิตของเอนกิดู

มหากาพย์เรื่องนี้ได้แปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากมาย ส่วนวีรบุรุษกิลกาเมชก็ได้เป็นตัวเอกอยู่ในวัฒนธรรมมวลชนยุคใหม่

ประวัติ

มีแหล่งข้อมูลทั้งที่เป็นต้นฉบับและข้อมูลพิเศษหลายชิ้นที่พบว่ามีอายุอยู่ในช่วงที่แตกต่างกันเป็นเวลา 2,000 ปี ทว่าเฉพาะข้อมูลที่เก่าแก่ที่สุดและต้นฉบับอื่น ๆ ที่มีอายุใกล้เคียงกันเท่านั้นที่พบว่ามีเนื้อหาสำคัญโดดเด่นพอจะพิสูจน์ได้ว่าเกี่ยวข้องกับการแปล ดังนั้น มหากาพย์ฉบับสุเมเรียนโบราณ กับฉบับอัคคาเดียนซึ่งมีอายุน้อยกว่า เป็นแหล่งข้อมูลที่ถูกอ้างอิงถึงมากที่สุดและยอมรับเป็นฉบับมาตรฐานในการศึกษาปัจจุบัน มหากาพย์ฉบับมาตรฐานนี้เป็นหลักเกณฑ์ในการแปลมหากาพย์ยุคใหม่ ส่วนแหล่งข้อมูลเก่าแก่อื่น ๆ ใช้สำหรับเติมเต็มฉบับมาตรฐานเมื่อมีช่องว่างของคูนิฟอร์มมากเกินไป (พึงทราบด้วยว่า ได้มีการจัดทำฉบับปรับปรุงแก้ไขตามข้อมูลใหม่ ๆ ออกมาตลอดช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา และตัวมหากาพย์เองก็ยังไม่อาจเรียกได้ว่าสมบูรณ์แม้จนปัจจุบัน)

มหากาพย์ในต้นฉบับสุเมเรียนที่เก่าแก่ที่สุดมีอายุอยู่ในช่วงราชวงศ์ที่ 3 ของอูร์ (Ur) คือระหว่าง 2150-2000 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนฉบับอัคคาเดียนที่เก่าแก่ที่สุดอยู่ในช่วงต้น ๆ ของสหัสวรรษที่ 2 มหากาพย์อัคคาเดียนฉบับ "มาตรฐาน" ประกอบด้วยแผ่นดินเหนียว 12 แผ่น บันทึกโดย Sin-liqe-unninni ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งระหว่าง 1300-1000 ปีก่อนคริสตกาล ค้นพบอยู่ในหอจารึกของ Ashurbanipal ที่ Nineveh

ปัจจุบัน มหากาพย์กิลกาเมชเป็นที่รู้จักกันทั่วไป การแปลมหากาพย์ในยุคใหม่ครั้งแรกเกิดขึ้นในราวคริสต์ทศวรรษ 1880 โดย จอร์จ สมิท การแปลเป็นภาษาอังกฤษในครั้งหลัง ๆ นี้รวมถึงการแปลครั้งหนึ่งซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากนักเขียนชาวอเมริกัน จอห์น การ์ดเนอร์ และจอห์น ไมเยอร์ ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1984 ต่อมาในปี ค.ศ. 2001 เบนจามิน ฟอสเตอร์ได้เรียบเรียงฉบับ Norton Critical ขึ้นโดยเติมเต็มช่องว่างมากมายที่มีอยู่ในชุดมาตรฐานโดยอาศัยหลักฐานอื่น ๆ ที่มีมาก่อนหน้า มหากาพย์ฉบับมาตรฐานชุดล่าสุดเป็นการเรียบเรียงอย่างระมัดระวังโดย แอนดรูว์ จอร์จ ตีพิมพ์เป็นฉบับพิเศษ 2 เล่ม เป็นฉบับที่แสดงเนื้อหาต่าง ๆ อย่างสมบูรณ์ที่สุด ทั้งยังจัดพิมพ์แบบสองภาษาเทียบเคียงกันด้วย ฉบับแปลของจอร์จชุดนี้ได้ตีพิมพ์เป็นฉบับสำหรับผู้อ่านทั่วไปโดยสำนักพิมพ์เพนกวินคลาสสิกเมื่อปี ค.ศ. 2003 แต่ในปี 2004 สตีเฟน มิตเชลล์ได้ออกผลงานมหากาพย์ฉบับโต้แย้ง ซึ่งเป็นผลงานการแปลของเขาจากการแปลของเหล่าบัณฑิตก่อนหน้า เขาเรียกงานชิ้นนี้ว่า "ฉบับแปลอังกฤษใหม่"

การค้นพบวัตถุโบราณอายุประมาณ 2,600 ปีก่อนคริสตกาลที่มีความเกี่ยวข้องกับ Enmebaragesi แห่ง Kish ผู้ปรากฏชื่ออยู่ในตำนานว่าเป็นบิดาของศัตรูคนหนึ่งของกิลกาเมช ทำให้มหากาพย์เรื่องนี้มีความเป็นไปได้ในทางประวัติศาสตร์มากขึ้น และช่วยยืนยันว่ากิลกาเมชน่าจะมีตัวตนจริง

โครงเรื่อง

นักโบราณคดีชาวอังกฤษชื่อ ออสเตน เฮนรี ลายาร์ด เป็นผู้ค้นพบมหากาพย์ฉบับมาตรฐานในหอสมุดของ Ashurbanipal ใน Nineveh เมื่อปี ค.ศ. 1849 ซึ่งเขียนเอาไว้ด้วยภาษาบาบิโลนมาตรฐาน ใช้อักษรแบบอัคคาเดียนซึ่งเป็นแบบที่ใช้สำหรับจารึกงานวรรณกรรมโดยเฉพาะ เขียนขึ้นโดย Sin-liqe-unninni ในช่วงใดช่วงหนึ่งระหว่าง 1300-1000 ปีก่อนคริสตกาล

ข้อแตกต่างระหว่างฉบับมาตรฐานอัคคาเดียนกับฉบับสุเมเรียนโบราณ คือคำเปิดเรื่องที่แตกต่างกัน ฉบับโบราณขึ้นต้นด้วยคำว่า "ผู้ยิ่งใหญ่เหนือปวงราชัน" ในขณะที่ฉบับมาตรฐานขึ้นต้นว่า "ผู้มองเห็นในห้วงลึก" คำว่า nagbu (ลึก) ในภาษาอัคคาเดียนยังมีความหมายถึง "ความลึกลับไม่อาจหยั่งรู้" ได้ด้วย อย่างไรก็ดี แอนดรูว์ จอร์จ เชื่อว่ามันอ้างถึงความรู้พิเศษบางอย่างที่กิลกาเมชนำกลับมาด้วยหลังจากได้ไปพบ Uta-Napishti (Utnapishtim) เขาได้รับความรู้เกี่ยวกับอาณาจักรแห่งเออาโดยมองเห็นผ่านน้ำพุแห่งปัญญา โดยทั่วไปแล้วผู้แปลเห็นว่ากิลกาเมชได้รับความรู้ว่าจะบูชาพระเจ้าได้อย่างไร ทำไมมนุษย์จึงต้องตาย จะเป็นกษัตริย์ที่ดีได้อย่างไร และธรรมชาติที่แท้ของการมีชีวิตที่ดี Utnapishtim ในตำนานน้ำท่วมโลกเล่าเรื่องของเขาให้กิลกาเมชฟัง ซึ่งสอดคล้องเกี่ยวพันกับมหากาพย์บาบิโลนเรื่อง Atrahasis

จารึกแผ่นที่ 12 มีเนื้อหาที่ดูเหมือนจะเป็นเรื่องต่อกับจารึก 11 แผ่นก่อนหน้า ในเวลาต่อมาจึงมักจะนำเรื่องราวในจารึกแผ่นที่ 12 นี้รวมเข้าไปในเรื่องด้วย ทั้งที่ในช่วงต้นของจารึกบรรยายถึงเรื่องราวสมัยที่เอนกิดูยังมีชีวิตอยู่ ซึ่งดูไม่ค่อยสอดคล้องกันนัก ไม่ค่อยเกี่ยวกับเรื่องตอนท้ายของจารึกแผ่นที่ 11 ที่คล้ายจะจบบริบูรณ์ไปแล้ว เรื่องราวมหากาพย์ดูเหมือนจะถูกวางกรอบโครงสร้างไว้เป็นวงกลม โดยที่ประโยคเริ่มต้นของมหากาพย์เป็นประโยคเดียวกันกับประโยคสุดท้ายในจารึกแผ่นที่ 11 ทำให้เรื่องสามารถดำเนินต่อไปแบบเป็นวงกลม และเป็นอันสิ้นสุด จารึกแผ่นที่ 12 เป็นเหมือนฉบับสำเนาของเรื่องราวก่อนหน้านั้น สมัยที่กิลกาเมชส่งเอนกิดูไปนำสิ่งของของตนมาจากดินแดนใต้พิภพ แต่เอนกิดูตายเสียก่อนและหวนกลับมาหากิลกาเมชในรูปของวิญญาณตามธรรมชาติของโลกใต้พิภพ ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกินไปจากความฝันของเอนกิดูในโลกใต้พิภพตามที่ปรากฏในจารึกแผ่นที่ 7

เรื่องย่อตามฉบับมาตรฐาน

เรื่องย่อตามฉบับบาบิโลนโบราณ

เนื้อเรื่องตามฉบับสุเมเรียน

อิทธิพลต่อมหากาพย์ในยุคหลัง

นักปราชญ์กรีกชื่อ Ioannis Kakridis กล่าวว่ามีถ้อยคำสำนวนจำนวนมาก รวมถึงรูปแบบของเรื่องมหากาพย์กิลกาเมชที่ปรากฏชัดว่ามีอิทธิพลต่อมหากาพย์โอดิสซีย์ ซึ่งเป็นวรรณกรรมกรีกประพันธ์โดย โฮเมอร์ ตำนานส่วนที่เกี่ยวกับน้ำท่วมโลกในมหากาพย์กิลกาเมชยังมีความเกี่ยวข้องกับตำนานน้ำท่วมโลกของโนอาห์ ในพระคัมภีร์ไบเบิลด้วย

ตำนานของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ในวัฒนธรรมชาวอิสลามและซีเรีย ก็น่าเชื่อว่าได้รับอิทธิพลจากตำนานของกิลกาเมชเช่นกัน อเล็กซานเดอร์ได้เดินทางร่อนเร่ไปในดินแดนแห่งความมืดและความน่าสะพรึงกลัว เพื่อค้นหาสายน้ำแห่งชีวิต เขาได้เผชิญหน้ากับสิ่งแปลกประหลาด ได้พบกับน้ำที่ค้นหา แต่ก็ไม่สามารถเป็นอมตะได้ เช่นเดียวกับกิลกาเมช

กิลกาเมชในวัฒนธรรมปัจจุบัน

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Dalley, Stephanie, Myths from Mesopotamia, Oxford University Press, 1989
  2. Smith, George (1872-12-03). "The Chaldean Account of the Deluge" (HTML). Sacred-Texts.com.
  3. MythHome: Gilgamesh the 12th Tablet
  4. Ioannis Kakridis: "Eisagogi eis to Omiriko Zitima" (Introduction to the Homeric Question) In: Omiros: Odysseia. Edited with translation and comments by Zisimos Sideris, Daidalos Press, I. Zacharopoulos Athens.
  5. Jastrow M.The religion of Babylonia and Assyria.GIN & COMPANY. Boston 1898
  6. Sattari J. Astudy on the epic of Gilgamesh and the legend of Alexander. Markaz Publications 2001 (In Persian)

แหล่งข้อมูลอื่น

  • คำแปลจารึกอย่างย่อ (อังกฤษ)
  • คำแปลจารึกทั้ง 12 แผ่นอย่างละเอียด (อังกฤษ)

มหากาพย, ลกาเมช, งกฤษ, gilgamesh, เป, นตำนานน, ำท, วมโลกท, เก, าแก, ของเมโสโปเตเม, ยโบราณ, เป, นหน, งในงานวรรณกรรมประเภทน, ยายท, เก, าแก, ดในโลก, กว, ชาการเช, อว, ามหากาพย, เร, องน, กำเน, ดมาจากตำนานกษ, ตร, เมเร, ยนและบทกว, เก, ยวก, บว, รบ, ษในตำนานท, อว, ลกาเ. mhakaphykilkaemch xngkvs Gilgamesh epntanannathwmolkthiekaaekkhxngemosopetemiyobran epnhnunginnganwrrnkrrmpraephthniyaythiekaaekthisudinolk nkwichakarechuxwamhakaphyeruxngnimikaenidmacaktanankstriysuemeriynaelabthkwiekiywkbwirburusintananthichuxwa kilkaemch sungthukrwbrwmexaiwkbbrrdabthkwixkhkhaediyninyukhtxma mhakaphychudthismburnthisudinpccubnpraktinaephndinehniyw 12 aethngsungekbrksaiwthihxekbcarukkhxngkstriyaehngxssieriy emuxrawstwrrsthi 7 kxnkhristkal michuxdngedimwa phumxngehnebuxngluk He who Saw the Deep Sha naqba imuru hrux phuyingihykwarachnthngpwng Surpassing All Other Kings Shutur eli sharri kilkaemchxaccaepnphupkkhrxngthimitwtncringinxditrahwangrachwngsthi 2 khxngyukhtnkhxngsuemeriy praman 2 700 pikxnkhristkal mhakaphykilkaemch praethsemosopetemiyphasasuemxrchnidsuxclay tabletcarukmhakaphykilkaemch thiekiywkhxngkbehtukarnnathwmolk inxkhkhaediyn sarasakhykhxngeruxngekiywkbkhwamsmphnthrahwangkilkaemch phukalngthxickbkarpkkhrxngkhxngtn kbephuxnkhxngekhachux exnkidu sungekharbpharkicesiyngphyrwmkbkilkaemch enuxhaswnihyinmhakaphyennyathungkhwamrusuksuyesiykhxngkilkaemchhlngcakexnkiduesiychiwit aelaklawthungkarklbepnmnusyxikkhrngphrxmkbennyaeruxngkhwamepnxmta eruxngrawinhnngsuxelathungkarthikilkaemchxxkesaahakhwamepnxmtahlngcakkaresiychiwitkhxngexnkidumhakaphyeruxngniidaeplepnphasatang makmay swnwirburuskilkaemchkidepntwexkxyuinwthnthrrmmwlchnyukhihm enuxha 1 prawti 2 okhrngeruxng 2 1 eruxngyxtamchbbmatrthan 2 2 eruxngyxtamchbbbabiolnobran 2 3 enuxeruxngtamchbbsuemeriyn 3 xiththiphltxmhakaphyinyukhhlng 4 kilkaemchinwthnthrrmpccubn 5 duephim 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunprawti aekikhmiaehlngkhxmulthngthiepntnchbbaelakhxmulphiesshlaychinthiphbwamixayuxyuinchwngthiaetktangknepnewla 2 000 pi thwaechphaakhxmulthiekaaekthisudaelatnchbbxun thimixayuiklekhiyngknethannthiphbwamienuxhasakhyoddednphxcaphisucnidwaekiywkhxngkbkaraepl dngnn mhakaphychbbsuemeriynobran kbchbbxkhkhaediynsungmixayunxykwa epnaehlngkhxmulthithukxangxingthungmakthisudaelayxmrbepnchbbmatrthaninkarsuksapccubn mhakaphychbbmatrthanniepnhlkeknthinkaraeplmhakaphyyukhihm swnaehlngkhxmulekaaekxun ichsahrbetimetmchbbmatrthanemuxmichxngwangkhxngkhunifxrmmakekinip phungthrabdwywa idmikarcdthachbbprbprungaekikhtamkhxmulihm xxkmatlxdchwnghlaythswrrsthiphanma aelatwmhakaphyexngkyngimxaceriykidwasmburnaemcnpccubn mhakaphyintnchbbsuemeriynthiekaaekthisudmixayuxyuinchwngrachwngsthi 3 khxngxur Ur khuxrahwang 2150 2000 pikxnkhristkal 1 swnchbbxkhkhaediynthiekaaekthisudxyuinchwngtn khxngshswrrsthi 2 1 mhakaphyxkhkhaediynchbb matrthan prakxbdwyaephndinehniyw 12 aephn bnthukody Sin liqe unninni chwngewlaidewlahnungrahwang 1300 1000 pikxnkhristkal khnphbxyuinhxcarukkhxng Ashurbanipal thi Ninevehpccubn mhakaphykilkaemchepnthiruckknthwip karaeplmhakaphyinyukhihmkhrngaerkekidkhuninrawkhristthswrrs 1880 ody cxrc smith 2 karaeplepnphasaxngkvsinkhrnghlng nirwmthungkaraeplkhrnghnungsungidrbkhwamchwyehluxcaknkekhiynchawxemrikn cxhn kardenxr aelacxhn imeyxr tiphimphinpi kh s 1984 txmainpi kh s 2001 ebncamin fxsetxrideriyberiyngchbb Norton Critical khunodyetimetmchxngwangmakmaythimixyuinchudmatrthanodyxasyhlkthanxun thimimakxnhna mhakaphychbbmatrthanchudlasudepnkareriyberiyngxyangramdrawngody aexndruw cxrc tiphimphepnchbbphiess 2 elm epnchbbthiaesdngenuxhatang xyangsmburnthisud thngyngcdphimphaebbsxngphasaethiybekhiyngkndwy chbbaeplkhxngcxrcchudniidtiphimphepnchbbsahrbphuxanthwipodysankphimphephnkwinkhlassikemuxpi kh s 2003 aetinpi 2004 stiefn mitechllidxxkphlnganmhakaphychbbotaeyng sungepnphlngankaraeplkhxngekhacakkaraeplkhxngehlabnthitkxnhna ekhaeriyknganchinniwa chbbaeplxngkvsihm karkhnphbwtthuobranxayupraman 2 600 pikxnkhristkalthimikhwamekiywkhxngkb Enmebaragesi aehng Kish phupraktchuxxyuintananwaepnbidakhxngstrukhnhnungkhxngkilkaemch thaihmhakaphyeruxngnimikhwamepnipidinthangprawtisastrmakkhun aelachwyyunynwakilkaemchnacamitwtncring 1 okhrngeruxng aekikhnkobrankhdichawxngkvschux xxsetn ehnri layard epnphukhnphbmhakaphychbbmatrthaninhxsmudkhxng Ashurbanipal in Nineveh emuxpi kh s 1849 sungekhiynexaiwdwyphasababiolnmatrthan ichxksraebbxkhkhaediynsungepnaebbthiichsahrbcaruknganwrrnkrrmodyechphaa ekhiynkhunody Sin liqe unninni inchwngidchwnghnungrahwang 1300 1000 pikxnkhristkalkhxaetktangrahwangchbbmatrthanxkhkhaediynkbchbbsuemeriynobran khuxkhaepideruxngthiaetktangkn chbbobrankhuntndwykhawa phuyingihyehnuxpwngrachn inkhnathichbbmatrthankhuntnwa phumxngehninhwngluk khawa nagbu luk inphasaxkhkhaediynyngmikhwamhmaythung khwamluklbimxachyngru iddwy xyangirkdi aexndruw cxrc echuxwamnxangthungkhwamruphiessbangxyangthikilkaemchnaklbmadwyhlngcakidipphb Uta Napishti Utnapishtim ekhaidrbkhwamruekiywkbxanackraehngexxaodymxngehnphannaphuaehngpyya odythwipaelwphuaeplehnwakilkaemchidrbkhwamruwacabuchaphraecaidxyangir thaimmnusycungtxngtay caepnkstriythidiidxyangir aelathrrmchatithiaethkhxngkarmichiwitthidi Utnapishtim intanannathwmolkelaeruxngkhxngekhaihkilkaemchfng sungsxdkhlxngekiywphnkbmhakaphybabiolneruxng Atrahasiscarukaephnthi 12 mienuxhathiduehmuxncaepneruxngtxkbcaruk 11 aephnkxnhna inewlatxmacungmkcanaeruxngrawincarukaephnthi 12 nirwmekhaipineruxngdwy thngthiinchwngtnkhxngcarukbrryaythungeruxngrawsmythiexnkiduyngmichiwitxyu sungduimkhxysxdkhlxngknnk imkhxyekiywkberuxngtxnthaykhxngcarukaephnthi 11 thikhlaycacbbriburnipaelw eruxngrawmhakaphyduehmuxncathukwangkrxbokhrngsrangiwepnwngklm odythipraoykherimtnkhxngmhakaphyepnpraoykhediywknkbpraoykhsudthayincarukaephnthi 11 thaiheruxngsamarthdaenintxipaebbepnwngklm aelaepnxnsinsud carukaephnthi 12 epnehmuxnchbbsaenakhxngeruxngrawkxnhnann smythikilkaemchsngexnkiduipnasingkhxngkhxngtnmacakdinaednitphiphph aetexnkidutayesiykxnaelahwnklbmahakilkaemchinrupkhxngwiyyantamthrrmchatikhxngolkitphiphph sungepnehtukarnthiekinipcakkhwamfnkhxngexnkiduinolkitphiphphtamthipraktincarukaephnthi 7 3 eruxngyxtamchbbmatrthan aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniideruxngyxtamchbbbabiolnobran aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidenuxeruxngtamchbbsuemeriyn aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxiththiphltxmhakaphyinyukhhlng aekikhnkprachykrikchux Ioannis Kakridis klawwamithxykhasanwncanwnmak rwmthungrupaebbkhxngeruxngmhakaphykilkaemchthipraktchdwamixiththiphltxmhakaphyoxdissiy sungepnwrrnkrrmkrikpraphnthody ohemxr 4 tananswnthiekiywkbnathwmolkinmhakaphykilkaemchyngmikhwamekiywkhxngkbtanannathwmolkkhxngonxah inphrakhmphiribebildwytanankhxngphraecaxelksanedxrmharach inwthnthrrmchawxislamaelasieriy knaechuxwaidrbxiththiphlcaktanankhxngkilkaemchechnkn 5 6 xelksanedxridedinthangrxneripindinaednaehngkhwammudaelakhwamnasaphrungklw ephuxkhnhasaynaaehngchiwit ekhaidephchiyhnakbsingaeplkprahlad idphbkbnathikhnha aetkimsamarthepnxmtaid echnediywkbkilkaemchkilkaemchinwthnthrrmpccubn aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidduephim aekikhwrrnkrrmsuemeriyn wrrnkrrmbabioleniyn tanannathwmolkxangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 Dalley Stephanie Myths from Mesopotamia Oxford University Press 1989 Smith George 1872 12 03 The Chaldean Account of the Deluge HTML Sacred Texts com MythHome Gilgamesh the 12th Tablet Ioannis Kakridis Eisagogi eis to Omiriko Zitima Introduction to the Homeric Question In Omiros Odysseia Edited with translation and comments by Zisimos Sideris Daidalos Press I Zacharopoulos Athens Jastrow M The religion of Babylonia and Assyria GIN amp COMPANY Boston 1898 Sattari J Astudy on the epic of Gilgamesh and the legend of Alexander Markaz Publications 2001 In Persian aehlngkhxmulxun aekikhwikisxrs mingantnchbbekiywkb mhakaphykilkaemchkhaaeplcarukxyangyx xngkvs khaaeplcarukthng 12 aephnxyanglaexiyd xngkvs bthkhwamekiywkbwrrnkrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy olkwrrnsilpekhathungcak https th wikipedia org w index php title mhakaphykilkaemch amp oldid 8974330, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม