fbpx
วิกิพีเดีย

มหาปรัชญาปารมิตาสูตร

ปัญจวิงศติ สาหัสริกา ปรัชญาปารมิตาสูตร หรือ มหาปรัชญาปารมิตาสูตร เป็นพระสูตรที่สำคัญพระสูตรหนึ่งของพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน แปลจากภาษาสันสกฤตเป็นภาษาจีนโดยพระพระเสวียนจั้ง (พระถังซำจั๋ง) ในภาษาจีนว่า ต้าปัวเญ่ ปัวหลัวมี่ตัวจิง (大般若波羅蜜多經) หรือ มั่วเหอ ปัวเญ่ ปัวหลัวมี่ตัวจิง (摩訶般若波羅蜜多經) พระสูตรนี้เป็นการรวบรวมเอาสูตรต่างๆ ที่ว่าด้วยปรัชญา (ปัญญา) และปารมิตา (บารมี) มารวมกันเป็นจำนวน 600 ผูก 390 ปริเฉท พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดง ณ สถานที่ต่างๆ 16 แห่ง ดังนี้

  1. ภูเขาคิชฌกูฏ เมืองราชคฤห์ แสดง 6 ครั้ง (ผูกที่1 - 573)
  2. เมืองสาวัตถี แสดง 3 ครั้ง (ผูกที่ 574 - 577)
  3. สวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี แสดง 1 ครั้ง (ผูกที่ 578)
  4. เมืองสาวัตถี แสดง 4 ครั้ง (ผูกที่ 579 - 589)
  5. ภูเขาคิชฌกูฏ แสดง 1 ครั้ง ผูกที่ (591 - 592)
  6. วัดเวฬุวัน แสดง 1 ครั้ง (ผูกที่ 593 - 600)

ปัญจวิงศติ สาหัสริกา ปรัชญาปารมิตาสูตร ถือเป็นพระสูตรที่ใหญ่ที่สุดมีเนื้อหามากที่สุดในหมวดปรัชญาปารมิตา แห่งพระไตรปิฎกฝ่ายมหายาน เนื้อหาของพระสูตรว่าปรัชญาและปารมิตา เมื่อถึงปรัชญาและปารมิตาแล้วจะเข้าใจในหลักศูนยตา อันเป็นหัวใจแห่งมหายาน จึงกล่าวว่า ผู้เข้าใจศูนยตาแล้วมีปัญญาและบารมีเต็มเปี่ยม แต่แม้จะเข้าถึงหลักปรัชญาปารมิตาและศูนยตาแล้วยังไม่นับเป็นมหายานอย่างสมบูรณ์แบบ จนกว่าผู้ที่เข้าใจหลักเหล่านี้จะตั้งปณิธานนำสรรพสัตว์ให้เข้าถึงหลักปรัชญาปารมิตาและศูนยตา ผู้ที่ตั้งปณิธานนี้เรียกว่าโพธิสัตว์ ปัญจวิงศติ สาหัสริกา ปรัชญาปารมิตาสูตรจึงเน้นอธิบายหลักโพธิสัตว์มากเป็นพิเศษ มีการอธิบายจริยาและวิถีปฏิบัติของโพธิสัตว์เอาไว้อย่างชัดเจน โดยเฉพาะปารมิตาทั้ง 6 (บารมี 6) อันได้แก่

โดยเฉพาะปารมิตาทั้ง 6 (บารมี 6) อันได้แก่

  1. ทานะ (ทาน)
  2. ศีละ (สีล)
  3. กษานติ (ขันติ)
  4. วีรยะ (วิริยะ)
  5. ธยานะ (ฌาน)
  6. ปรัชญา (ปัญญา)

ต้นฉบับ

大般若波羅蜜多經

อ้างอิง

  1. A Short history of the twelve Japanese Buddhist sects, p. XVIII
  2. http://i80000.or.kr/english/html/cyber/popup_view.asp?f_num=1&f_lang=e

มหาปร, ชญาปารม, ตาส, ตร, ญจว, งศต, สาห, สร, กา, ปร, ชญาปารม, ตาส, ตร, หร, เป, นพระส, ตรท, สำค, ญพระส, ตรหน, งของพ, ทธศาสนาฝ, ายมหายาน, แปลจากภาษาส, นสกฤตเป, นภาษาจ, นโดยพระพระเสว, ยนจ, พระถ, งซำจ, ในภาษาจ, นว, าป, วเญ, วหล, วม, วจ, 大般若波羅蜜多經, หร, วเหอ, วเญ, วหล. pycwingsti sahsrika prchyaparmitasutr hrux mhaprchyaparmitasutr epnphrasutrthisakhyphrasutrhnungkhxngphuththsasnafaymhayan aeplcakphasasnskvtepnphasacinodyphraphraeswiyncng phrathngsacng inphasacinwa tapwey pwhlwmitwcing 大般若波羅蜜多經 hrux mwehx pwey pwhlwmitwcing 摩訶般若波羅蜜多經 phrasutrniepnkarrwbrwmexasutrtang thiwadwyprchya pyya aelaparmita barmi marwmknepncanwn 600 phuk 390 priechth phrasmmasmphuththecathrngaesdng n sthanthitang 16 aehng dngni phuekhakhichchkut emuxngrachkhvh aesdng 6 khrng phukthi1 573 emuxngsawtthi aesdng 3 khrng phukthi 574 577 swrrkhchnprnimmitwswtdi aesdng 1 khrng phukthi 578 emuxngsawtthi aesdng 4 khrng phukthi 579 589 phuekhakhichchkut aesdng 1 khrng phukthi 591 592 wdewluwn aesdng 1 khrng phukthi 593 600 1 pycwingsti sahsrika prchyaparmitasutr thuxepnphrasutrthiihythisudmienuxhamakthisudinhmwdprchyaparmita aehngphraitrpidkfaymhayan enuxhakhxngphrasutrwaprchyaaelaparmita emuxthungprchyaaelaparmitaaelwcaekhaicinhlksunyta xnepnhwicaehngmhayan cungklawwa phuekhaicsunytaaelwmipyyaaelabarmietmepiym aetaemcaekhathunghlkprchyaparmitaaelasunytaaelwyngimnbepnmhayanxyangsmburnaebb cnkwaphuthiekhaichlkehlanicatngpnithannasrrphstwihekhathunghlkprchyaparmitaaelasunyta phuthitngpnithannieriykwaophthistw pycwingsti sahsrika prchyaparmitasutrcungennxthibayhlkophthistwmakepnphiess mikarxthibaycriyaaelawithiptibtikhxngophthistwexaiwxyangchdecn 2 odyechphaaparmitathng 6 barmi 6 xnidaekodyechphaaparmitathng 6 barmi 6 xnidaek thana than sila sil ksanti khnti wirya wiriya thyana chan prchya pyya tnchbb aekikh大般若波羅蜜多經xangxing aekikh A Short history of the twelve Japanese Buddhist sects p XVIII http i80000 or kr english html cyber popup view asp f num 1 amp f lang eekhathungcak https th wikipedia org w index php title mhaprchyaparmitasutr amp oldid 9209951, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม