fbpx
วิกิพีเดีย

มูลสรวาสติวาท

มูลสรวาสติวาท (Mūlasarvāstivāda ) เป็นหนึ่งในนิยายยุคต้นของพุทธศาสนาในอินเดีย ต้นกำเนิดของมูลสรวาสติวาทและความเกี่ยวโยงกับนิยายสรวาสติวาทยังไม่เป็นที่ทราบกันดีนัก แม้ว่าจะมีหลายทฤษฎีที่เสนอเรื่องนี้ก็ตาม ความต่อเนื่องของนิยายมูลสรวาสติวาทยังคงดำรวอยู่ในพุทธศาสนาในทิเบตจนกระทั่งเมื่อเร็วๆ นี้ ทว่า มีเพียงการสืบทอดมูลสรวาสติวาทสายภิกษุ ไม่มีการสืบทอดสายภิกษุณี

ประวัติ

ในอินเดีย

ทฤษฎีเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างมูลสรวาสติวาท กับสรวาสติวาท เป็นที่ขัดแย้งกันอยู่ นักวิชาการสมัยใหม่มีแนวโน้มที่จะจำแนกทั้ง 2 สำนักเป็นอิสระต่อกัน อี้จิ้งอ้างว่ามูลสรวาสติวาทได้รับชื่อเช่นนี้ เพราะแตกหน่อมาจากนิกายสรวาสติวาท แต่ บูโตน รินเชน ดรุบ (Buton Rinchen Drub) กล่าวว่า การใช้ชื่อว่า มูลสรวาสติวาทเป็นการแสดงความเคารพต่อนิกายสรวาสติวาท ในฐานะที่เป็น "รากเหง้า" (มูล) ของนิกายต่าางๆ ของพุทธศาสนา ในทัศนะของ Gregory Schopen มูลสรวาสติวาท พัฒนาขึ้นในอินเดียในช่วงศตวรรษที่ 2 และเสื่อมถอยลงไปในศตวรรษที่ 7

ในเอเชียกลาง

มูลสรวาสติวาทรุ่งเรืองทั่วเอเชียกลางเนื่องจากคณะพระธรรมทูตทำงานอย่างแข็งขันในพื้นที่ดังกล่าว โดยในเอเชียกลาง มีการเผยแพร่พุทธศาสนาสำนักต่างๆ ตามลำดับดังนี้

  1. ธรรมคุปต์
  2. สรวาสติวาท
  3. มูลสรวาสติวาท

ศรีวิชัย

อี้จิ้งบันทึกไว้ว่า ในศตวรรษที่ 7 มูลสรวาสติวาทเป็นนิกายที่โดดเด่นแพร่หลายไปทั่วอาณาจักรศรีวิชัย อี้จิ้งพักอยู่ที่ศรีวิชัยเป็นเวลาหกถึงเจ็ดปีในระหว่างนั้นท่านได้ศึกษาภาษาสันสกฤตและแปลคัมภีร์ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาจีน อี้จิ้งบันทึกไว้ว่ามูลสรวาสติวาทเป็นที่นับถือกันเกือบทั้งพื้นที่ดังกล่าว ท่านบันทึกว่าวิชาที่เรียนรวมถึงกฎและพิธีการต่างๆ ของมูลสรวาสติวาทในภูมิภาคนี้เหมือนอย่างที่มีอยู่ในอินเดีย อี้จิ้งกล่าวว่า พุทธศาสนาในดินแดนศรีวิชัยเป็นหีนยาน แต่ในอาณาจักรมลายูมีอิทธิพลของพุทธศาสนามหายาน โดยมีคำสอนของคณาจารย์มหายาน เช่น คัมภีร์โยคาจารภูมิศาสตร์ ของพระอสังคะ

การสืบทอดพระวินัย

พระวินัยของนิกายมูลสรวาสติวาท เป็นหนึ่งในสามสายการสืบทอดพระวินัยที่หลงเหลืออยู่ คือพระวินัยของนิกายธรรมคุปต์ และนิกายเถรวาท ปัจจุบัน มูลสรวาสติวาทวินัยสืบทอดกันในทิเบต โดยมีพระวินัยแปลเป็นภาษาทิเบตในศตวรรษที่ 9 และภาษจีนในศตวรรษที่ 8 และยังมีต้นฉบับพระวินัยมูลสรวาสติวาทในภาษสันสกฤตหลงเหลืออยู่ด้วย

อ้างอิง

  1. Charles Willemen, Bart Dessein, Collett Cox. Sarvāstivāda Buddhist scholasticism. Brill, 1988. p.88.
  2. Elizabeth Cook. Light of Liberation: A History of Buddhism in India. Dharma Publishing, 1992. p. 237
  3. Gregory Schopen. Figments and fragments of Māhāyana Buddhism in India. University of Hawaii Press, 2005. pp.76-77.
  4. Coedes, George. The Indianized States of South-East Asia. 1968. p. 84
  5. J. Takakusu (1896). A Record of the Buddhist Religion : As Practised in India and the Malay Archipelago (A.D. 671-695)/I-Tsing. Oxford: Clarendon. Reprint: New Delhi, AES 2005. ISBN 81-206-1622-7.

ลสรวาสต, วาท, mūlasarvāstivāda, เป, นหน, งในน, ยายย, คต, นของพ, ทธศาสนาในอ, นเด, นกำเน, ดของและความเก, ยวโยงก, บน, ยายสรวาสต, วาทย, งไม, เป, นท, ทราบก, นด, แม, าจะม, หลายทฤษฎ, เสนอเร, องน, ตาม, ความต, อเน, องของน, ยายย, งคงดำรวอย, ในพ, ทธศาสนาในท, เบตจนกระท, ง. mulsrwastiwath Mulasarvastivada epnhnunginniyayyukhtnkhxngphuththsasnainxinediy tnkaenidkhxngmulsrwastiwathaelakhwamekiywoyngkbniyaysrwastiwathyngimepnthithrabkndink aemwacamihlaythvsdithiesnxeruxngniktam khwamtxenuxngkhxngniyaymulsrwastiwathyngkhngdarwxyuinphuththsasnainthiebtcnkrathngemuxerw ni thwa miephiyngkarsubthxdmulsrwastiwathsayphiksu immikarsubthxdsayphiksuni enuxha 1 prawti 1 1 inxinediy 1 2 inexechiyklang 1 3 sriwichy 2 karsubthxdphrawiny 3 xangxing prawti aekikh inxinediy aekikh thvsdieruxngkhwamsmphnthrahwangmulsrwastiwath kbsrwastiwath epnthikhdaeyngknxyu nkwichakarsmyihmmiaenwonmthicacaaenkthng 2 sankepnxisratxkn 1 xicingxangwamulsrwastiwathidrbchuxechnni ephraaaetkhnxmacaknikaysrwastiwath aet buotn rinechn drub Buton Rinchen Drub klawwa karichchuxwa mulsrwastiwathepnkaraesdngkhwamekharphtxnikaysrwastiwath inthanathiepn rakehnga mul khxngnikaytaang khxngphuththsasna 2 inthsnakhxng Gregory Schopen mulsrwastiwath phthnakhuninxinediyinchwngstwrrsthi 2 aelaesuxmthxylngipinstwrrsthi 7 3 inexechiyklang aekikh mulsrwastiwathrungeruxngthwexechiyklangenuxngcakkhnaphrathrrmthutthanganxyangaekhngkhninphunthidngklaw odyinexechiyklang mikarephyaephrphuththsasnasanktang tamladbdngni thrrmkhupt srwastiwath mulsrwastiwathsriwichy aekikh xicingbnthukiwwa instwrrsthi 7 mulsrwastiwathepnnikaythioddednaephrhlayipthwxanackrsriwichy xicingphkxyuthisriwichyepnewlahkthungecdpiinrahwangnnthanidsuksaphasasnskvtaelaaeplkhmphirphasasnskvtepnphasacin xicingbnthukiwwamulsrwastiwathepnthinbthuxknekuxbthngphunthidngklaw 4 thanbnthukwawichathieriynrwmthungkdaelaphithikartang khxngmulsrwastiwathinphumiphakhniehmuxnxyangthimixyuinxinediy 5 xicingklawwa phuththsasnaindinaednsriwichyepnhinyan aetinxanackrmlayumixiththiphlkhxngphuththsasnamhayan odymikhasxnkhxngkhnacarymhayan echn khmphiroykhacarphumisastr khxngphraxsngkha karsubthxdphrawiny aekikh phrawinykhxngnikaymulsrwastiwath epnhnunginsamsaykarsubthxdphrawinythihlngehluxxyu khuxphrawinykhxngnikaythrrmkhupt aelanikayethrwath pccubn mulsrwastiwathwinysubthxdkninthiebt odymiphrawinyaeplepnphasathiebtinstwrrsthi 9 aelaphascininstwrrsthi 8 aelayngmitnchbbphrawinymulsrwastiwathinphassnskvthlngehluxxyudwyxangxing aekikh Charles Willemen Bart Dessein Collett Cox Sarvastivada Buddhist scholasticism Brill 1988 p 88 Elizabeth Cook Light of Liberation A History of Buddhism in India Dharma Publishing 1992 p 237 Gregory Schopen Figments and fragments of Mahayana Buddhism in India University of Hawaii Press 2005 pp 76 77 Coedes George The Indianized States of South East Asia 1968 p 84 J Takakusu 1896 A Record of the Buddhist Religion As Practised in India and the Malay Archipelago A D 671 695 I Tsing Oxford Clarendon Reprint New Delhi AES 2005 ISBN 81 206 1622 7 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title mulsrwastiwath amp oldid 8699592, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม