fbpx
วิกิพีเดีย

ระบบการออกเสียงภาษาบาลี

ชื่อระบบการออกเสียงบาลีหรือฐานกรณ์เป็นการอธิบายการเกิดเสียงและการออกเสียงในภาษาบาลี โดยฐานกรณ์ คือ คำซึ่งใช้เรียกอวัยวะต่าง ๆ ในช่องปากที่ใช้ในการออกเสียง ฐานกรณ์ประกอบด้วย ฐานและกรณ์ ฐาน นั้นหมายถึง ตำแหน่งที่เกิดของเสียงซึ่งจะเป็นตำแหน่งในช่องปากที่ไม่เคลื่อนที่ในการออกเสียง ได้แก่ ริมฝีปากบน ฟันบน แนวปุ่มเหงือก หลังปุ่มเหงือก หน้าเพดานแข็ง เพดานแข็ง เพดานอ่อน ลิ้นไก่ และผนังคอ ส่วนกรณ์ นั้นหมายถึงอวัยวะต่าง ๆ ในช่องทางเดินเสียง ซึ่งเคลื่อนไปประชิดหรือใกล้กับฐานในการออกเสียง ได้แก่ ริมฝีปากล่าง ปลายลิ้น ส่วนปลายลิ้น หน้าลิ้น หลังลิ้น กลางลิ้น และโคนลิ้น ในการออกเสียงต้องใช้อวัยวะที่เป็นฐานและกรณ์คู่กันเสมอ การใช้ฐานกรณ์ต่างกันเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้เกิดเสียงแตกต่างกันไป

ระบบการออกเสียงบาลี นำเสนอระบบเสียงที่สืบทอดมา ในคัมภีร์บริวารพระไตรปิฎกในพระพุทธศาสนาเถรวาท ได้แก่ สัททาวิเสส และสัทนีติสุตตมาลา โดยเปรียบเทียบ กับหลักการทางภาษาศาสตร์ในปัจจุบัน ทั้งเสียงสระ พยัญชนะ และการออกเสียงพิเศษ

ระบบเสียงสระ

สระเป็นเสียงพูดประเภทหนึ่งใน 2 ประเภทใหญ่ ซึ่งได้แก่ สระ และพยัญชนะ ในทางสัททศาสตร์ สระหมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาโดยทางลมเปิด ลมต้องผ่านออกกลางลิ้นเสมอ และขณะออกเสียง เส้นเสียงจะสั่น เสียงสระจึงมักเป็นเสียงก้อง ส่วนในทางสัททวิทยาหรือระบบเสียง สระหมายถึงหน่วยทางภาษาหรือหน่วยเสียง (phoneme) ซึ่งทำหน้าที่เป็นแกน (nucleus) ของพยางค์

ในการเปล่งเสียงสระ ตามปกติเพดานอ่อนยกสูงขึ้นติดผนังคอปิดกั้นมิให้ลมออกทางจมูก จึงเรียกสระเหล่านั้นว่าสระที่เปล่งเสียงในช่องปาก (oral sound) แต่ในบางครั้ง ขณะเปล่งเสียงสระเพดานอ่อนลดต่ำลง พร้อมกับการเปิดทางช่องปาก ลมจึงออกทั้งทางช่องปากและช่องจมูก จึงเรียกสระประเภทนี้ว่า สระลักษณะนาสิก (nasalised vowel)

ในการบรรยายวิธีการเปล่งเสียงสระ เราอาจจำแนกความแตกต่างได้ตามตำแหน่งลิ้นภายในช่องปากเป็นสำคัญ คือ สระที่เปล่งโดยลิ้นอยู่ในบริเวณส่วนหน้าของช่องปากเรียกว่า สระหน้า หากลิ้นอยู่ในบริเวณส่วนหลังของช่องปาก เรียกว่า สระหลัง ถ้าลิ้นอยู่ในบริเวณระหว่างส่วนหน้าและส่วนหลังของช่องปากเรียกว่า สระกลาง (central vowel) นอกจากนี้เราอาจจำแนกสระตามระดับของลิ้น คือ ลิ้นยกสูง ลิ้นลดต่ำ เป็นต้น ตลอดจนพิจารณาตามลักษณะของริมฝีปาก คือ ห่อหรือเหยียดมากน้อยเพียงใด

ในทางสัททวิทยา เมื่อบรรยายสระในภาษาต่าง ๆ อาจใช้คำว่าสระสูง (high vowel) หรือสระปิด (close vowel) เมื่อลิ้นยกสูง

ใช้คำว่าสระต่ำ (low vowel) หรือสระเปิด (open vowel) ในกรณีที่ลิ้นลดต่ำ และสระกลาง (mid vowel) หมายถึง สระลิ้นระดับกลาง

นอกจากนี้สระลักษณะนาสิก (nasalized vowel) อาจจัดกลุ่มเป็นสระนาสิก (nasal vowel) ได้ในลักษณะตรงข้ามกับสระที่เปล่งเสียงในช่องปาก (oral vowel)

เสียงสระในบาลี

เสียงสระในบาลีจำแนกออกได้ตามตำแหน่งหน้า-หลังของลิ้น คือ สระหน้า สระกลาง หรือสระหลัง และตามระดับสูง-ต่ำของลิ้น คือ สระสูง สระกลาง หรือสระต่ำ ตลอดจนจำแนกออกตามลักษณะของริมฝีปาก คือ ห่อ หรือไม่ห่อ ได้ดังนี้

ตารางแสดงเสียงสระในบาลี

1. สระ อะ a [a], aṃ [ã] สระกลาง-ต่ำ เสียงสั้น ปากไม่ห่อ
2. สระ อา ā [aː] สระกลาง-ต่ำ เสียงยาว ปากไม่ห่อ
3. สระ อิ i [i], iṃ [ĩ] สระหน้า-สูง เสียงสั้น ปากไม่ห่อ
4. สระ อี ī [iː] สระหน้า-สูง เสียงยาว ปากไม่ห่อ
5. สระ อุ u [u] สระหลัง-สูง เสียงสั้น ปากห่อ
6. สระ อู ū [uː], uṃ [ũ] สระหลัง-สูง เสียงยาว ปากไม่ห่อ
7. สระ เอ e [eː] หรือ [eˑ] สระหน้า-กลาง เสียงยาวหรือเสียงกึ่งยาว ปากไม่ห่อ
8. สระ โอ o [oː] หรือ [oˑ] สระหลัง-กลาง เสียงยาวหรือเสียงกึ่งยาว ปากห่อ

ตารางแสดงเสียงสระในบาลี

หน้า
กลาง
หลัง
สูง
i
iṃ
ī
u
uṃ
ū
[i]
[ĩ]
[]
[u]
[ũ]
[]
กลาง
e
o
[]
[]
[]
[]
ต่ำ
a
aṃ
ā
[a]
[ã]
[]

หน่วยเสียงสระในบาลี

หน่วยเสียงสระ หมายถึง เสียงที่ทำหน้าที่เป็นแกน (nucleus) ของพยางค์ เป็นเสียงที่มีความสำคัญ คือ แยกความหมายของคำได้ ดังในตัวอย่างคำคู่เทียบเสียง 4 คู่ ต่อไปนี้

ตารางแสดงหน่วยเสียงสระทั่วไป

เสียงสระ
ตัวอย่างคำบาลี
ไทย
โรมัน
สากล
อักษรไทย
อักษรโรมัน
สัทอักษรสากล
1
อิ - อี
i – ī
[i – iː]
อิติ - อีติ
iti – īti
[it̪i – t̪i]
2
อะ - อา
a – ā
[a – aː]
วร16 - วาร
vara – vāra
aɻa – ʋɻa]
3
อุ - อู
u – ū
[u – uː]
กุล - กูล
kula – kūla
[kul̪a – kl̪a]
4
เอ - โอ
e – o
[eː – oː]
เย - โย
ye – yo
[j - j]

ในระบบเสียงบาลีจะมีหน่วยเสียงสระอยู่รวม 11 หน่วยเสียง เป็นหน่วยเสียงสระนาสิก (nasal vowel) 3 หน่วยเสียง และหน่วยเสียงสระทั่วไปที่เปล่งเสียงในช่องปาก (oral vowel) 8 หน่วยเสียง คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ซึ่งเขียนด้วยอักษรโรมันเป็น a ā i ī u ū e o โดยมีเครื่องหมาย (–) เหนือตัวอักษรแสดงว่าเป็นสระเสียงยาว ถือว่าเป็นคนละหน่วยเสียงกับสระเสียงสั้น ซึ่งมีอยู่เป็นคู่กันรวม 3 คู่ เป็น 6 หน่วยเสียง คือ a /a/ - ā /aː/, i /i/ - ī /iː/, u /u/ - ū /uː/

ส่วนตัวอักษร e o แทนหน่วยเสียงสระยาวรวม 2 หน่วยเสียง /e/, /o/ แต่ละหน่วยเสียงจะมีรูปย่อยหน่วยเสียงเป็นเสียงสระยาว [eː], [oː] หรือเสียงสระกึ่งยาว [eˑ], [oˑ] ก็ได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะพยางค์และเสียงแวดล้อมในพยางค์ เอ e ในพยางค์เปิด คือ พยางค์ที่ลงท้ายด้วยสระ จะเป็นเสียงสระยาว เอ [eː] เช่นในคำ เม /me/ = [meː] ส่วนในพยางค์ปิด คือ พยางค์ที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะ จะเป็นเสียงสระกึ่งยาว เอ [eˑ] เช่นพยางค์ /met-/ = [meˑt̪] ในคำ เมตตา /mettā/ = [meˑt̪t̪aː] ในทำนองเดียวกัน โอ o ในพยางค์เปิด คือพยางค์ที่ลงท้ายด้วยสระ จะเป็นเสียงสระยาว โอ [oː] เช่นในคำ โส /so/ = [soː] ส่วนในพยางค์ปิด จะเป็นเสียงสระกึ่งยาว โอ [oˑ] เช่น พยางค์ /oˑṭ/ = [oˑʈ] ในคำ โอฏฺ  (โอฏฺฐ)/oṭṭha/ = [oˑʈʈʰa]

ในประเทศศรีลังกาและประเทศไทยส่วนใหญ่จะออกเสียงนิคคหิตนี้เป็นเสียงนาสิกฐานเพดานอ่อน คือ ṅ [ŋ] ตัวอย่าง 3 คำนี้จะออกเสียงเป็น กิง - กัง - กุง /kiṅ - kaṅ - kuṅ/ [kiŋ - kaŋ - kuŋ]

หน่วยเสียงสระนาสิก ซึ่งเขียนด้วยอักษรโรมันเป็น ṃ แทน นิคคหิต (˚) (=[ ̃]) ในบาลี โดยจะเขียนไว้ข้างหลังสระ ซึ่งเป็นสระเสียงสั้น 3 เสียง คือ iṃ [ĩ], aṃ [ã] และ uṃ [ũ] จัดเป็น 3 หน่วยเสียง เนื่องจากสามารถแยกความหมายของคำชุดเทียบเสียงซึ่งประกอบด้วยคำ 3 คำในตัวอย่างต่อไปนี้ได้ คือ

กิ˚ - ก˚ - กุ˚ /kiṃ – kaṃ– kuṃ/ [kĩ – kã – kũ]

การออกเสียงสระ เอ /e/, โอ /o/ ในบาลี หน่วยเสียงยาว ในที่นี้ได้อธิบายลักษณะพิเศษของหน่วยเสียง สระยาว เอ /e/, โอ /o/ ในบาลีว่าเป็น 2 หน่วยเสียง แต่ละหน่วยเสียงจะมีรูปย่อยหน่วยเสียง 2 รูป คือ เป็นเสียงสระยาว หรืออาจจะเป็นเสียงสระกึ่งยาว (half-long) ก็ได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะพยางค์และเสียงแวดล้อมในพยางค์ ดังนี้

รูปย่อยที่เป็นเสียงสระยาว [eː], [oː] จะเกิดในพยางค์เปิด คือ พยางค์ที่ไม่มีพยัญชนะท้ายหลังสระ ดังในตัวอย่าง เช่น

ตารางแสดง การออกเสียงสระ เอ, โอ ในบาลี

เสียงสระ
ตัวอย่างคำบาลี
ไทย
โรมัน
สากล
อักษรไทย
อักษรโรมัน
สัทอักษรสากล
1
อิ - อี
i – ī
[i – iː]
อิติ - อีติ
iti – īti
[it̪i – t̪i]
2
อะ - อา
a – ā
[a – aː]
วร16 - วาร
vara – vāra
aɻa – ʋɻa]
3
อุ - อู
u – ū
[u – uː]
กุล - กูล
kula – kūla
[kul̪a – kl̪a]
4
เอ - โอ
e – o
[eː – oː]
เย - โย
ye – yo
[j - j]

รูปย่อยที่เป็นเสียงสระกึ่งยาว [eˑ] และ [oˑ] จะเกิดในพยางค์ปิด หมายถึง พยางค์ที่มีพยัญชนะท้ายหลังสระ พยางค์ปิดในพระพุทธพจน์บาลี จะมีลักษณะเฉพาะคือ เป็นพยางค์ที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะซ้อน คือ พยัญชนะซ้อนกัน 2 เสียง โดยเสียงแรกทำหน้าที่เป็นพยัญชนะท้าย (พยัญชนะสะกด) ของพยางค์แรก ส่วนพยัญชนะที่ตามมาจะทำหน้าที่เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป

สระ e o ในบาลี เมื่ออยู่หน้าพยัญชนะซ้อน จึงมีรูปย่อยที่เป็นเสียงสระกึ่งยาว (half-long) [eˑ], [oˑ]

ตารางแสดง เสียงสระกึ่งยาว

เสียงสระ
ตัวอย่างคำบาลี
สยาม
ไทย
โรมัน
สากล
อักษรสยาม
อักษรไทย
อักษรโรมัน
สัทอักษรสากล
เอ
เอ
e
[]
เมต๎ตา
เมตฺตา
mettā
[mt̪t̪aː]
โอ
โอ
o
[]
โสต๎ถิ
โสตฺถิ
sotthi
[st̪t̪i]

สระ เอ /e/, โอ /o/ เป็นสระเดี่ยว

ในที่นี้จะอธิบายว่า สระ เอ /e/, โอ /o/ เป็นสระเดี่ยว ซึ่งเป็นเสียงที่อยู่ในตำแหน่งระหว่างสระ 2 เสียง ซึ่งมีฐานต่างกัน

สระ เอ /e/ เกิดในตำแหน่งระหว่างสระ อะ [a] กับ อิ [i]

สระ โอ /o/ เกิดในตำแหน่งระหว่างสระ อะ [a] กับ อุ [u]

ทั้งนี้พิจารณาตามเสียงที่สืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบันเป็นหลักฐานสำคัญ ในที่นี้ถือว่าไม่ใช่สระประสมเพราะหากเป็นสระประสมจะเป็นสระเลื่อนเริ่มด้วยการออกเสียงที่สระหนึ่งและเลื่อนไปจบที่อีกสระหนึ่ง

ระบบเสียงพยัญชนะ

ในทางสัทศาสตร์ เสียงพยัญชนะหมายถึงเสียงที่เปล่งออกมาโดยมีอวัยวะในการเปล่งเสียงหรือฐานกรณ์ (articulators) ดัดแปลงลมในช่องทางเดินเสียงในลักษณะต่าง ๆ เช่น ปิดสนิทกักลมไว้ ปล่อยให้ลมผ่านออกมาได้ ทั้งนี้ลมอาจผ่านออกกลางลิ้นหรือข้างลิ้นในลักษณะเสียงเสียดแทรกหรือเสียงเปิด ลมที่ผ่านออกมา อาจเป็นเสียงก้องหรือไม่ก้องก็ได้

ในทางสัททวิทยา พยัญชนะ หมายถึง หน่วยทางภาษาซึ่งทำหน้าที่เป็นส่วนประกอบของพยางค์ปรากฏหน้าหรือหลังสระซึ่งเป็นแกนของพยางค์

จากเกณฑ์การพิจารณาพยัญชนะดังกล่าวข้างบนนี้ในทางสัทศาสตร์ เสียงบางเสียงเช่น [j] มีคุณสมบัติทางสัทศาสตร์เช่นเดียวกับเสียงสระ ได้แก่ [i] แต่ในทางสัทวิทยา เสียงนี้หากปรากฏในตำแหน่งขอบพยางค์คือ ในตำแหน่งต้นหรือท้ายพยางค์ เสียงประเภทนี้จะทำหน้าที่เป็นพยัญชนะและมีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน เช่น เสียงกึ่งสระ (semi-vowel) เสียงเปิด (approximant) เป็นต้น

การจำแนกเสียงพยัญชนะ

การจำแนกเสียงพยัญชนะตามแนววิชาสัทศาสตร์ (phonetics) จะใช้ลักษณะ 3 ประการต่อไปนี้เป็นเกณฑ์คือ การจำแนกเสียงพยัญชนะโดยพิจารณาตามฐานที่เกิดของเสียง การจำแนกพยัญชนะตามสภาพของเส้นเสียง และการจำแนกเสียงพยัญชนะตามลักษณะของการเปล่งเสียง

การจำแนกเสียงพยัญชนะโดยพิจารณาฐานที่เกิดของเสียง

เสียงพยัญชนะในบาลีจำแนกตามฐานที่เกิดเสียงได้เป็น 8 ประเภท คือ

  1. ฐานช่องเส้นเสียง (glottal กัณฐชะ) หมายถึง พยัญชนะที่มีฐานกรณ์อยู่ที่ช่องเส้นเสียง ได้แก่ h [ɦ]
  2. ฐานเพดานอ่อน (velar กัณฐชะ) หมายถึง พยัญชนะที่เปล่งเสียงโดยมีฐานเพดานอ่อน และกรณ์ คือ ลิ้นส่วนหลัง ได้แก่ k [k], kh [kʰ], g [g], gh [gʱ], ṅ [ŋ]
  3. ฐานเพดานแข็ง (palatal ตาลุชะ) หมายถึง พยัญชนะที่เปล่งเสียงโดยใช้กรณ์ คือ ลิ้นส่วนหน้ากับฐานเพดานแข็ง ได้แก่ c [c], ch [cʰ], j [ɟ], jh [ɟʱ], ñ [ɲ], y [j]
  4. ฐานปลายลิ้นม้วน (retroflex มุทธชะ) มีฐานอยู่ที่ส่วนหลังของปุ่มเหงือกหรือส่วนหน้าของเพดานแข็ง หมายถึง พยัญชนะที่เปล่งเสียงโดยใช้ปลายลิ้นเป็นกรณ์ม้วนขึ้นไปแตะหรือใกล้ฐานหลังปุ่มเหงือกหรือหน้าเพดานแข็ง ได้แก่ ṭ [ʈ], ṭh [ʈʰ], ḍ [ɖ], ḍh [ɖʱ], ṇ [ɳ], r [ɻ], ḷ [ɭ]
  5. ฐานฟัน (dental ทันตชะ) หมายถึง พยัญชนะที่เปล่งเสียงโดยใช้กรณ์คือ ปลายลิ้นกับฐาน คือ ฟันบน ได้แก่ t [t̪], th [t̪ʰ], d [d̪], dh [d̪ʱ], n [n̪], s [s̪], l [l̪]
  6. ฐานริมฝีปาก (bilabial โอฏฐชะ) หมายถึง พยัญชนะที่เปล่งเสียงโดยใช้ริมฝีปากทั้งคู่ เป็นฐานและกรณ์ ได้แก่ p [p], ph [pʰ], b [b], bh [bʱ], m [m]
  7. ฐานริมฝีปากกับฟัน (labio-dental ทันโตฏฐชะ) หมายถึง พยัญชนะที่เปล่งเสียงโดยใช้ริมฝีปากล่างกับฐาน คือ ฟันบน ได้แก่ v [ʋ]
  8. ฐานช่องจมูก (nasal cavity นาสิกา) หมายถึง เสียงนิคคหิต (ํ) = ṃ [ ̃ ] ช่องจมูกที่เป็นทางเดินลมของสระสั้น 3 เสียง ซึ่งเป็นเสียงลักษณะนาสิก ได้แก่ /iṃ/ [ĩ], /aṃ/ [ã] และ /uṃ/ [ũ]

ในการออกเสียงพยัญชนะตามฐานที่เกิดเสียงทั้งหมดนี้ จะต้องมีการปรับสภาพของเส้นเสียงด้วย

การจำแนกเสียงพยัญชนะตามสภาพของเส้นเสียง

เสียงพยัญชนะในบาลีอาจจำแนกออกได้ตามลักษณะการทำงานของเส้นเสียงในสภาพที่แตกต่างกันเป็น 2 ชนิด คือ เสียงไม่ก้องหรืออโฆษะ (voiceless sound) และเสียงก้องหรือโฆษะ (voiced sound) ดังนี้

เส้นเสียงสามารถทำงานในลักษณะคล้ายริมฝีปากคืออาจจะอยู่ห่างจากกัน หรือที่เรียกว่าเส้นเสียงเปิด ลมที่ผ่านเส้นเสียงในลักษณะนี้มีลักษณะเป็นลมหายใจ (breath) เส้นเสียงจะไม่สั่นจึงเรียกว่าเสียงไม่ก้องหรือเสียงอโฆษะ ตรงข้ามกับกรณีที่เส้นเสียงเข้ามาประชิดกัน และมีความตึงพอเหมาะ เมื่อมีลมผ่านก็จะดันให้เส้นเสียงเปิดออก ในขณะเดียวกันความตึงของเส้นเสียงก็จะดึงให้เส้นเสียงเข้ามาประชิดกันอีกจนทำให้มีการเปิดและปิดเป็นจังหวะที่เรียกว่า เส้นเสียงสั่น หรือเสียงก้อง หรือเสียงโฆษะ

ตัวอย่างพยัญชนะเสียงอโฆษะ เช่น p [p], ph [pʰ], t [t̪], th [t̪ʰ], s [s̪] ตัวอย่างพยัญชนะเสียงโฆษะ เช่น b [b], bh [bʱ], d [d], m [m], n [n̪], l [l̪]

การจำแนกเสียงพยัญชนะตามลักษณะการออกเสียง

เสียงพยัญชนะในบาลีจำแนกตามลักษณะการเปล่งเสียง กล่าวคือ การดัดแปลงลมในช่องทางเดินเสียงขณะที่ออกเสียงพูด ทำให้เกิดเสียงลักษณะต่าง ๆ ได้เป็น 6 ประเภท ดังนี้

  1. เสียงกัก (stop) เสียงที่เกิดจากการออกเสียงโดยมีการกักลมในช่วงที่กรณ์เข้าประชิดฐานอย่างสนิท (complete closure) ในช่วงเวลาหนึ่ง เมื่อกรณ์แยกออกจากฐาน คือช่วงการเปิดช่องทางเดินเสียง ถ้าเป็นเสียงระเบิด (plosive) ลมก็จะระเบิดออกมา เช่น p [p], t [t̪], b [b] เสียงระเบิดมีลักษณะที่แตกต่างจากเสียงกัก คือ ในช่วงหลังการกักลม เสียงกักบางประเภท อวัยวะในการเปล่งเสียง เพียงแต่แยกออกจากกัน แต่ไม่มีเสียงระเบิดตามมา แต่บางเสียงมีกระแสลมตามออกมาหลังการระเบิด จึงเรียกว่า เสียงกักที่มีกลุ่มลมหรือเสียงธนิต (aspirated stop) เช่น เสียง ph [pʰ], th [t̪ʰ], bh [bʱ] เป็นต้น ส่วนเสียงกักที่ไม่มีกลุ่มลมตามมาเรียกว่า เสียงกักไม่มีลม หรือ เสียงสิถิล (unaspirated stop) เช่น เสียง p [p], t [t̪], b [b] เป็นต้น
  2. เสียงเสียดแทรก (fricative) คือเสียงที่เกิดจากการออกเสียงโดยฐานและกรณ์ประชิดกันก่อให้เกิดช่องทางเดินเสียงที่แคบ กระแสลมผ่านออกมาจะเป็นเสียงซ่า หรือเสียงเสียดแทรกในบาลีมี 2 เสียง ได้แก่ s [s̪], h [ɦ]
  3. เสียงนาสิก (nasal) เสียงที่เกิดจากการกักลมให้สนิทในปาก เพดานอ่อนลดต่ำลงทำให้ลมผ่านขึ้นไปทางช่องจมูกได้ เช่น m [m], n [n̪], ṅ [ŋ] เป็นต้น และในกรณีที่เป็นเสียงสระ หากเปิดช่องจมูกพร้อมกันไปกับการออกเสียงสระก็จะได้เสียงสระลักษณะนาสิกที่แทนด้วยนิคคหิต (˚) = ṃ [ ̃] เช่นในคำ กึ /kiṃ/ [kĩ] เสียงลักษณะนาสิกนี้เกิดขึ้นได้กับสระเสียงสั้น 3 เสียง คือ อ [a], อิ [i], อุ [u] เป็น [ĩ], [ã], [ũ]เสียงลักษณะนาสิกที่เกิดกับสระนี้ในภาษาไทยไม่มี คนไทยจึงออกเสียงลักษณะนาสิกนี้เป็นเสียงสระกับพยัญชนะนาสิกฐานเพดานอ่อน ง [ŋ] สะกด เช่น เอตํ /etaṃ/ [etã] แต่คนไทยมักจะออกเสียงว่า เอตัง [etaŋ]
  4. เสียงเปิด หรือ เสียงกึ่งสระ (approximant / semi-vowel) เสียงเปิดทำหน้าที่เป็นพยัญชนะ คือเสียงที่เกิดจากการออกเสียงในลักษณะที่ฐานกรณ์อยู่ใกล้กันไม่มากนัก ทำให้กระแสลมผ่านช่องปากออกไปโดยสะดวก เช่นเดียวกับการเปล่งเสียงสระ ถ้าเสียงนี้ทำหน้าที่เป็นเสียงขอบพยางค์ (marginal sound) หรือเป็นพยัญชนะ เราจะเรียกว่า เสียงเปิด (approximant) หรือ เสียงกึ่งสระ (semi-vowel) คือมีคุณลักษณะเป็นเสียงสระ แต่ทำหน้าที่เป็นพยัญชนะ เช่น เสียง [j] ใน yo [joː] และเสียง [ʋ] ใน vo [ʋoː] คำ yo [joː] และ vo [ʋoː] เริ่มออกเสียงในช่วงสั้น ๆ ในลักษณะช่องทางเดินเสียงเปิดเช่นเดียวกับสระ i [i] แล้วจึงเลื่อนไปยังเสียงสระ o [oː] ที่เป็นแกนพยางค์ ทำให้เกิดเสียง y [j] ซึ่งมีกรณ์คือ ลิ้นส่วนหน้ายกขึ้นสูงไปยังฐานเพดานแข็ง ริมฝีปากเหยียดเส้นเสียงสั่น [j] เป็นเสียงพยัญชนะของอักษร y ในบาลี ส่วนคำ vo [ʋoː] เริ่มออกเสียงในช่วงสั้น ๆ ในลักษณะช่องทางเดินเสียงเปิดเช่นเดียวกับสระ u [u] แล้วจึงเลื่อนไปยังสระ o [oː] ที่เป็นแกนพยางค์ทำให้เกิดเสียง v [ʋ] ซึ่งมีกรณ์คือลิ้นส่วนหลังยกขึ้นสูงไปยังฐานเพดานอ่อน ริมฝีปากห่อเส้นเสียงสั่น [ʋ] เป็นเสียงพยัญชนะของอักษร v ในบาลี สรุปว่าเสียง “กึ่งสระ” หรือ “อัฒสระ” คือเสียงที่มีลักษณะการออกเสียงเช่นเดียวกับเสียงสระ แต่มีหน้าที่พยัญชนะ หรือเป็นเสียงขอบพยางค์ คือเกิดในช่วงสั้น ๆ ของพยางค์ ซึ่งในไวยากรณ์บาลี เรียกว่า อัฑฒสระพยัญชนะ ได้แก่ y [j], v [ʋ], r [ɻ], l [l̪] , ḷ [ɭ] เป็นต้น
  5. เสียงเปิดข้างลิ้น (lateral approximant) คือเสียงที่เกิดจากการออกเสียงในลักษณะที่ลมออกข้างลิ้น คือกรณ์เข้าประชิดฐานโดยสนิท แต่ส่วนข้างของลิ้นจะอยู่ห่างจากฐานในลักษณะเปิดให้กระแสลมออกมาได้สะดวก จากคำจำกัดความนี้ ในบาลีมีอยู่ 2 เสียง คือ l [l̪] ซึ่งเป็นเสียงที่เกิดจากปลายลิ้นยกขึ้นไปแตะฟันบนและข้างลิ้นลดลง และเสียงลิ้นม้วน ḷ [ɭ] ซึ่งปลายลิ้นม้วนขึ้นไปแตะหลังปุ่มเหงือกหรือหน้าเพดานแข็ง และข้างลิ้นเปิด
  6. เสียงเปิดลิ้นม้วน (retroflex approximant) คือเสียงที่เกิดจากการม้วนลิ้นขึ้นไปใกล้ฐานส่วนหลังของปุ่มเหงือกหรือส่วนหน้าของเพดานแข็งในลักษณะเปิดให้กระแสลมออกมาได้สะดวก ได้แก่ r [ɻ]

ตารางแสดงเสียงสระในบาลี เมื่อประกอบกับเสียงพยัญชนะ

อักษรโรมัน
ที่ใช้แทนเสียงบาลี
สัทอักษรสากล
(IPA)
เสียงสระในคำบาลี
(ตัวอย่างในพระไตรปิฎกบาลี)
i
[i]
cittam
[cit̪t̪ã]
ī
[]
devī
[d̪eːʋ]
a
[a]
atha
[at̪ʰa]
ā
[]
devā
[d̪eːʋ]
u
[u]
pubbe
[pubbeː]
ū
[]
bahū
[baɦ]
e
[]
etaṃ
[t̪ã]
o
[]
bodhi
[bd̪ʱi]
iṃ
[ĩ]
kiṃ
[kĩ]
aṃ
[ã]
kaṃ
[kã]
ūṃ
[ũ]
kuṃ
[kũ]

การออกเสียงพิเศษของบาลี : การออกเสียงพยัญชนะอัฒฑสระควบกล้ำของบาลี

การออกเสียงพยัญชนะควบกล้ำของบาลี เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพยัญชนะอัฒสระและพยัญชนะอื่น ๆ บางเสียง เมื่อเป็นส่วนประกอบของเสียงพยัญชนะควบกล้ำ ซึ่งหมายถึงพยัญชนะ 2 เสียงที่เรียงติดต่อกันโดยไม่มีเสียงสระคั่นกลาง ในพระไตรปิฎกบาลีอักษรสยามใช้เครื่องหมาย “ยามักการ คือ๎ ” (แสดงเสียงคู่หรือเสียงควบ) และในบางกรณ่ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดในพยางค์ที่นำหน้าในคำเดียวกันด้วย ซึ่งในฉบับอักษรสยามใช้เครื่องหมาย “ไม้หันอากาศ” (แสดงเสียงสระอะ เมื่อมีตัวสะกด) ในพยางค์ที่นำหน้าในคำเดียวกันเพื่อแสดงการพิมพ์พยัญชนะเสียงควบกล้ำที่ทำหน้าที่เป็นเสียงสะกดพร้อมกันไปด้วย พยัญชนะควบกล้ำบาลีแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ พยัญชนะควบกล้ำที่เป็นพยัญชนะต้นคำและพยัญชนะควบกล้ำที่เกิดกลางคำระหว่างสระ เป็นพยัญชนะสะกดควบกล้ำ

ในการเรียงพิมพ์พระไตรปิฎกอักษรโรมัน ได้ดำเนินตามการสืบทอดเสียงบาลีในฉบับอักษรสยาม โดยได้พิมพ์สัททอักษรสากลบาลีเทียบไว้ด้วยเพื่อช่วยให้ผู้อ่านพระไตรปิฎกบาลีอักษรโรมันได้ออกเสียงถูกต้องชัดเจนยิ่งขึ้น ตัวอย่างที่สำคัญ แบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ ดังกล่าวคือ

พยัญชนะควบกล้ำที่เป็นพยัญชนะต้นคำ

พยัญชนะควบกล้ำบาลีซึ่งเกิดต้นคำเป็นพยัญชนะต้น อาจประกอบด้วยพยัญชนะอัฒสระหรือพยัญชนะเปิด ได้แก่ ย ร ว ล ฬ [ j ɻ v l̪ ɭ ] โดยพยัญชนะเหล่านี้ จะเกิดร่วมกับพยัญชนะเสียงกัก เช่น ก ต ท ป พ [ k t̪ d p b ] เป็นเสียงพยัญชนะควบกล้ำ ดังในตัวอย่างต่อไปนี้

ตารางแสดง พยัญชนะเสียงควบกล้ำต้นคำ

เสียงควบ
ตัวอย่างคำบาลี
สยาม
ไทย
โรมัน
สากล
อักษรสยาม
อักษรไทย
อักษรโรมัน
สัทอักษรสากล
พ๎ย
พฺย
by
[bj]
พ๎ยัค์ฆ
พฺยคฺฆ
byaggha
[bjaɡɡʱa]
พ๎ร
พฺร
br
[]
พ๎รูติ
พฺรูติ
brūti
[uːt̪i]
ท๎ว
ทฺว
dv
[d̪ʋ]
ท๎วาร
ทฺวาร
dvāra
[d̪ʋaːɻa]
ต๎ว
ตฺว
tv
[t̪ʋ]
ต๎วํ
ตฺวํ
tvaṃ
[t̪ʋ„]
ป๎ล
ปฺล
pl
[ p l ̪ ]
ป๎ลวติ
ปฺลวติ
plavati
[ pl ̪ aʋati]
ก๎ล
กฺล
kl
[ kl ̪ ]
เก๎ลสมเล
เกฺลสมเล
klesamale
[ kl ̪ eamal̪e]

พยัญชนะสะกดควบกล้ำ

พยัญชนะควบกล้ำบาลีที่เกิดกลางคำระหว่างสระจะออกเสียงเป็นพยัญชนะสะกดต่อเนื่องไป เป็นเสียงควบกล้ำ กล่าวคือนอกจากเป็นเสียงพยัญชนะสะกดของพยางค์แรกแล้วยังทำหน้าที่ร่วมเป็นเสียงพยัญชนะต้นควบกล้ำของพยางค์ถัดไปด้วย ซึ่งเรียกว่า “พยัญชนะสะกดควบกล้ำ” พยัญชนะสะกดควบกล้ำประเภทนี้ อาจประกอบด้วยพยัญชนะอวรรค ทั้ง 7 เสียง ซึ่งรวมพยัญชนะอัฒสระหรือพยัญชนะเปิด คือ ย ร ว ล ฬ [ j ɻ v l̪ ɭ ] และพยัญชนะเสียงเสียดแทรก ส ห [ s̪ ɦ ]

เมื่อพยัญชนะควบกล้ำบาลีเกิดในตำแหน่งระหว่างสระ ส่วนที่เริ่มออกเสียงเป็นพยัญชนะควบกล้ำจะทำหน้าที่เป็นเสียงสะกดท้ายพยางค์แรกด้วย ดังนั้น เสียงนี้จึงทำหน้าที่ 2 อย่าง คือ เป็นเสียงสะกดของพยางค์แรกและต่อเนื่องไปเป็นเสียงเริ่มต้นพยัญชนะควบกล้ำในพยางค์ถัดไป

ตารางแสดง พยัญชนะสะกดควบกล้ำ

เสียงควบ
ตัวอย่างคำบาลี
สยาม
ไทย
โรมัน
สากล
อักษรสยาม
อักษรไทย
อักษรโรมัน
สัทอักษรสากล
ล๎ย
ลฺย
ly
[ l ̪j]
กัล๎ยา
กลฺยา
ka‿lyā
[kal ̪jaː]
พ๎ร
พฺร
br
[]
อิทมัพ๎รวี
อิทมพฺรวี
idama‿bra
[id̪amaaʋiː]
ป๎ล
ปฺล
pl
[ pl ̪ ]
อุป๎ลว
อฺปฺลว
u‿plava
[ u pl ̪ aʋa]
ก๎ล
กฺล
kl
[ kl ̪ ]
จิต์ตัก๎เลเสหิ
จิตฺตเกฺลเสหิ
citta‿klesehi
[ cit̪t̪a kl ̪eːɦi]
ต๎ว
ตฺว
tv
[t̪ʋ]
กัต๎วา
กตฺวา
ka‿tvā
[kat̪ʋaː]
ส๎ม
สฺม
sm
[s̪m]
ตัส๎มา
ตสฺมา
ta‿smā
[t̪as̪maː]

ตัวอย่างในภาพที่ 27 ไม่ใส่เครื่องหมายเชื่อมเสียง [‿] ในช่องสัททอักษรสากล ซึ่งอาจทำให้ผู้ไม่คุ้นเคยกับบาลีไม่ออกเสียงตัวสะกดของพยางค์แรก ดังนั้นเพื่อช่วยให้ผู้อ่านสามารถออกเสียงได้ถูกต้องตามหน้าที่ทั้งสองของเสียงพยัญชนะที่เริ่มเสียงควบกล้ำ คือ เป็นเสียงสะกดข้างหลังอยู่ท้ายพยางค์แรก และต่อเนื่องไปเป็นเสียงที่เริ่มต้นพยัญชนะต้นควบกล้ำในพยางค์ถัดไป ตลอดจนเชื่อมกับเสียงควบกล้ำด้วย โดยการเพิ่มเครื่องหมายเชื่อมเสียง

ตารางแสดง พยัญชนะสะกดควบกล้ำ พร้อมทั้งเสนอเพิ่มเครื่องหมายเชื่อมเสียง

เสียงควบ
ตัวอย่างคำบาลี
สยาม
ไทย
โรมัน
สากล
อักษรสยาม
อักษรไทย
อักษรโรมัน
สัทอักษรสากล
ล๎ย
ลฺย
ly
[ l ̪j]
กัล๎ย
ลฺย
ka‿lyā
[ka‿l ̪jaː]
พ๎ร
พฺร
br
[]
อิทมัพ๎รวี
อิทมพฺรวี
idama‿bra
[id̪ama‿b'̪'ɻaʋiː]
ป๎ล
ปฺล
pl
[ pl ̪ ]
อุป๎ล
อฺปฺล
u‿plava
[ u‿pl ̪ aʋa]
ก๎ล
กฺล
kl
[ kl ̪ ]
จิต์ตัก๎เสหิ
จิตฺตเกฺลเสหิ
citta‿klesehi
[ cit̪t̪a‿kl ̪eːɦi]
ต๎ว
ตฺว
tv
[t̪ʋ]
กัต๎ว
ตฺว
ka‿tvā
[ka‿t̪ʋaː]
ส๎ม
สฺม
sm
[s̪m]
ตัส๎ม
สฺม
ta‿smā
[t̪a‿s̪maː]

นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างอื่น ๆ เช่น เมื่อ ห [ɦ] มาประกอบกับพยัญชนะสะกดควบกล้ำที่เป็นพยัญชนะเปิดดังกล่าวข้างต้น และกับพยัญชนะนาสิก เช่น   ณ ม [ ɲ ɳ m ]

ตารางแสดง ตัวอย่างเมื่อ ห มาประกอบเป็นพยัญชนะสะกดควบกล้ำ

เสียงควบ
ตัวอย่างคำบาลี
สยาม
ไทย
โรมัน
สากล
อักษรสยาม
อักษรไทย
อักษรโรมัน
สัทอักษรสากล
 
ญฺห
ñh
[ɲɦ]
ปั หา
ปญฺหา
pa‿ñhā
[paɲɦaː]
ณ๎ห
ณฺห
ṇh
[ɳɦ]
ตัณ๎หา
ตณฺหา
ta‿ṇhā
[t̪aɳɦaː]
ม๎ห
มฺห
mh
[]
ตุเม๎ห
ตุเมฺห
tu‿mhe
[t̪ueː]
ย๎ห
ยฺห
yh
[]
มุย๎หเต
มุยฺหเต
'mu‿'yhate
[muat̪eː]
ล๎ห
ลฺห
lh
[l ̪ɦ]
วุล๎หเต
วุลฺหเต
vu‿lhate
[ʋul ̪ɦat̪eː]
ว๎ห
วฺห
vh
[ʋɦ]
อว๎หิโต
อวฺหิโต
a‿vhito
[aʋɦit̪oː]
ฬ๎ห
ฬฺห
ḷh
[ɭɦ]
รูฬ๎หิ
รูฬฺหิ
rū‿ḷhi
[ɻuːɭɦi]

ตัวอย่างในภาพที่ 29 ไม่ใส่เครื่องหมายเชื่อมเสียง [‿] ในช่องสัทอักษรสากล ส่วนในภาพที่ 30 ขอเสนอการเพิ่มเครื่องหมายเชื่อมเสียง ซึ่งเริ่มจากเสียงสระซึ่งเป็นเสียงต่อเนื่องกับเสียงส่วนแรกของพยัญชนะควบกล้ำในพยางค์ถัดไป ทำนองเดียวกับในภาพที่ 28 ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตารางแสดง ตัวอย่างเมื่อ ห มาประกอบเป็นพยัญชนะสะกดควบกล้ำ พร้อมทั้งเสนอเพิ่มเครื่องหมายเชื่อมเสียง

เสียงควบ
ตัวอย่างคำบาลี
สยาม
ไทย
โรมัน
สากล
อักษรสยาม
อักษรไทย
อักษรโรมัน
สัทอักษรสากล
 
ญฺห
ñh
[ɲɦ]
ปั 
ญฺห
pa‿ñhā
[pa‿ɲɦaː]
ณ๎ห
ณฺห
ṇh
[ɳɦ]
ตัณ๎ห
ณฺห
ta‿ṇhā
[t̪a‿ɳɦaː]
ม๎ห
มฺห
mh
[]
ตุเม๎ห
ตุเมฺห
tu‿mhe
[t̪u‿eː]
ย๎ห
ยฺห
yh
[]
มุย๎หเต
มุยฺหเต
'mu‿'yhate
[mu‿at̪eː]
ล๎ห
ลฺห
lh
[l ̪ɦ]
วุล๎หเต
วุลฺหเต
vu‿lhate
[ʋu‿at̪eː]
ว๎ห
วฺห
vh
[ʋɦ]
ว๎หิโต
วฺหิโต
a‿vhito
[a‿ʋɦit̪oː]
ฬ๎ห
ฬฺห
ḷh
[ɭɦ]
รูฬ๎ห
รูฬฺห
rū‿ḷhi
[ɻu‿ːɭɦi]

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

วิกิตำรา มีคู่มือ ตำรา หรือวิธีการเกี่ยวกับ:
ระบบการออกเสียงภาษาบาลี
  • สิริ เพ็ชรไชย ป.ธ.9 และวิจินตน์ ภาณุพงศ์, "พระไตรปิฎกปาฬิจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 อักษรสยาม" ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล, กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ 2551.
  • Siri Petchai and Vichin Phanupong, "Chulachomklao of Siam Pāḷi Tipiṭaka, 1893", Digital Preservation Edition, Dhamma Society Fund 2009.
  • ร.ต.ฉลาด บุญลอย, ประวัติวรรณคดีบาลี, 2527
  • ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์, ประวัติภาษาบาลี : ความเป็นมาและที่สัมพันธ์กับภาษาปรากฤตและสันสกฤต, 2535.
  • ปราณี ฬาพานิช, ภาษาสันสกฤต: คุณค่าในการพัฒนาความเข้าใจภาษาบาลี,2536, หน้า 113-145.
  • Wilhem Geiger, Pali Literatur und Sprache,1892
  • Charles Duroiselle, A Practical Grammar of the Pāli Language 3rd Edition, 1997

ระบบการออกเส, ยงภาษาบาล, อระบบการออกเส, ยงบาล, หร, อฐานกรณ, เป, นการอธ, บายการเก, ดเส, ยงและการออกเส, ยงในภาษาบาล, โดยฐานกรณ, คำซ, งใช, เร, ยกอว, ยวะต, าง, ในช, องปากท, ใช, ในการออกเส, ยง, ฐานกรณ, ประกอบด, วย, ฐานและกรณ, ฐาน, นหมายถ, ตำแหน, งท, เก, ดของเส, ยงซ. chuxrabbkarxxkesiyngbalihruxthankrnepnkarxthibaykarekidesiyngaelakarxxkesiynginphasabali odythankrn khux khasungicheriykxwywatang inchxngpakthiichinkarxxkesiyng thankrnprakxbdwy thanaelakrn than nnhmaythung taaehnngthiekidkhxngesiyngsungcaepntaaehnnginchxngpakthiimekhluxnthiinkarxxkesiyng idaek rimfipakbn fnbn aenwpumehnguxk hlngpumehnguxk hnaephdanaekhng ephdanaekhng ephdanxxn linik aelaphnngkhx swnkrn nnhmaythungxwywatang inchxngthangedinesiyng sungekhluxnipprachidhruxiklkbthaninkarxxkesiyng idaek rimfipaklang playlin swnplaylin hnalin hlnglin klanglin aelaokhnlin inkarxxkesiyngtxngichxwywathiepnthanaelakrnkhuknesmx karichthankrntangknepnpccysakhyprakarhnungthithaihekidesiyngaetktangkniprabbkarxxkesiyngbali naesnxrabbesiyngthisubthxdma inkhmphirbriwarphraitrpidkinphraphuththsasnaethrwath idaek sththawiess aelasthnitisuttmala odyepriybethiyb kbhlkkarthangphasasastrinpccubn thngesiyngsra phyychna aelakarxxkesiyngphiess enuxha 1 rabbesiyngsra 1 1 esiyngsrainbali 1 2 hnwyesiyngsrainbali 2 rabbesiyngphyychna 2 1 karcaaenkesiyngphyychna 2 1 1 karcaaenkesiyngphyychnaodyphicarnathanthiekidkhxngesiyng 2 1 2 karcaaenkesiyngphyychnatamsphaphkhxngesnesiyng 2 1 3 karcaaenkesiyngphyychnatamlksnakarxxkesiyng 3 karxxkesiyngphiesskhxngbali karxxkesiyngphyychnaxththsrakhwbklakhxngbali 3 1 phyychnakhwbklathiepnphyychnatnkha 3 2 phyychnasakdkhwbkla 4 hnngsuxxanephimetimrabbesiyngsra aekikhsraepnesiyngphudpraephthhnungin 2 praephthihy sungidaek sra aelaphyychna inthangsththsastr srahmaythung esiyngthieplngxxkmaodythanglmepid lmtxngphanxxkklanglinesmx aelakhnaxxkesiyng esnesiyngcasn esiyngsracungmkepnesiyngkxng swninthangsththwithyahruxrabbesiyng srahmaythunghnwythangphasahruxhnwyesiyng phoneme sungthahnathiepnaekn nucleus khxngphyangkhinkareplngesiyngsra tampktiephdanxxnyksungkhuntidphnngkhxpidknmiihlmxxkthangcmuk cungeriyksraehlannwasrathieplngesiynginchxngpak oral sound aetinbangkhrng khnaeplngesiyngsraephdanxxnldtalng phrxmkbkarepidthangchxngpak lmcungxxkthngthangchxngpakaelachxngcmuk cungeriyksrapraephthniwa sralksnanasik nasalised vowel inkarbrryaywithikareplngesiyngsra eraxaccaaenkkhwamaetktangidtamtaaehnnglinphayinchxngpakepnsakhy khux srathieplngodylinxyuinbriewnswnhnakhxngchxngpakeriykwa srahna haklinxyuinbriewnswnhlngkhxngchxngpak eriykwa srahlng thalinxyuinbriewnrahwangswnhnaaelaswnhlngkhxngchxngpakeriykwa sraklang central vowel nxkcaknieraxaccaaenksratamradbkhxnglin khux linyksung linldta epntn tlxdcnphicarnatamlksnakhxngrimfipak khux hxhruxehyiydmaknxyephiyngidinthangsththwithya emuxbrryaysrainphasatang xacichkhawasrasung high vowel hruxsrapid close vowel emuxlinyksungichkhawasrata low vowel hruxsraepid open vowel inkrnithilinldta aelasraklang mid vowel hmaythung sralinradbklangnxkcaknisralksnanasik nasalized vowel xaccdklumepnsranasik nasal vowel idinlksnatrngkhamkbsrathieplngesiynginchxngpak oral vowel esiyngsrainbali aekikh esiyngsrainbalicaaenkxxkidtamtaaehnnghna hlngkhxnglin khux srahna sraklang hruxsrahlng aelatamradbsung takhxnglin khux srasung sraklang hruxsrata tlxdcncaaenkxxktamlksnakhxngrimfipak khux hx hruximhx iddngnitarangaesdngesiyngsrainbali 1 sra xa a a aṃ a sraklang ta esiyngsn pakimhx2 sra xa a aː sraklang ta esiyngyaw pakimhx3 sra xi i i iṃ ĩ srahna sung esiyngsn pakimhx4 sra xi i iː srahna sung esiyngyaw pakimhx5 sra xu u u srahlng sung esiyngsn pakhx6 sra xu u uː uṃ ũ srahlng sung esiyngyaw pakimhx7 sra ex e eː hrux eˑ srahna klang esiyngyawhruxesiyngkungyaw pakimhx8 sra ox o oː hrux oˑ srahlng klang esiyngyawhruxesiyngkungyaw pakhxtarangaesdngesiyngsrainbali hna klang hlngsung i iṃ i u uṃ u i ĩ iː u ũ uː klang e o eː oː eˑ oˑ ta a aṃ a a a aː hnwyesiyngsrainbali aekikh hnwyesiyngsra hmaythung esiyngthithahnathiepnaekn nucleus khxngphyangkh epnesiyngthimikhwamsakhy khux aeykkhwamhmaykhxngkhaid dngintwxyangkhakhuethiybesiyng 4 khu txipnitarangaesdnghnwyesiyngsrathwip esiyngsra twxyangkhabaliithy ormn sakl xksrithy xksrormn sthxksrsakl1 xi xi i i i iː xiti xiti iti iti it i iːt i 2 xa xa a a a aː wr16 war vara vara ʋaɻa ʋaːɻa 3 xu xu u u u uː kul kul kula kula kul a kuːl a 4 ex ox e o eː oː ey oy ye yo jeː joː inrabbesiyngbalicamihnwyesiyngsraxyurwm 11 hnwyesiyng epnhnwyesiyngsranasik nasal vowel 3 hnwyesiyng aelahnwyesiyngsrathwipthieplngesiynginchxngpak oral vowel 8 hnwyesiyng khux xa xa xi xi xu xu ex ox sungekhiyndwyxksrormnepn a a i i u u e o odymiekhruxnghmay ehnuxtwxksraesdngwaepnsraesiyngyaw thuxwaepnkhnlahnwyesiyngkbsraesiyngsn sungmixyuepnkhuknrwm 3 khu epn 6 hnwyesiyng khux a a a aː i i i iː u u u uː swntwxksr e o aethnhnwyesiyngsrayawrwm 2 hnwyesiyng e o aetlahnwyesiyngcamirupyxyhnwyesiyngepnesiyngsrayaw eː oː hruxesiyngsrakungyaw eˑ oˑ kid khunxyukblksnaphyangkhaelaesiyngaewdlxminphyangkh ex e inphyangkhepid khux phyangkhthilngthaydwysra caepnesiyngsrayaw ex eː echninkha em me meː swninphyangkhpid khux phyangkhthilngthaydwyphyychna caepnesiyngsrakungyaw ex eˑ echnphyangkh met meˑt inkha emtta metta meˑt t aː inthanxngediywkn ox o inphyangkhepid khuxphyangkhthilngthaydwysra caepnesiyngsrayaw ox oː echninkha os so soː swninphyangkhpid caepnesiyngsrakungyaw ox oˑ echn phyangkh oˑṭ oˑʈ inkha oxt oxt th oṭṭha oˑʈʈʰa inpraethssrilngkaaelapraethsithyswnihycaxxkesiyngnikhkhhitniepnesiyngnasikthanephdanxxn khux ṅ ŋ twxyang 3 khanicaxxkesiyngepn king kng kung kiṅ kaṅ kuṅ kiŋ kaŋ kuŋ hnwyesiyngsranasik sungekhiyndwyxksrormnepn ṃ aethn nikhkhhit inbali odycaekhiyniwkhanghlngsra sungepnsraesiyngsn 3 esiyng khux iṃ ĩ aṃ a aela uṃ ũ cdepn 3 hnwyesiyng enuxngcaksamarthaeykkhwamhmaykhxngkhachudethiybesiyngsungprakxbdwykha 3 khaintwxyangtxipniid khuxki k ku kiṃ kaṃ kuṃ kĩ ka kũ karxxkesiyngsra ex e ox o inbali hnwyesiyngyaw inthiniidxthibaylksnaphiesskhxnghnwyesiyng srayaw ex e ox o inbaliwaepn 2 hnwyesiyng aetlahnwyesiyngcamirupyxyhnwyesiyng 2 rup khux epnesiyngsrayaw hruxxaccaepnesiyngsrakungyaw half long kid khunxyukblksnaphyangkhaelaesiyngaewdlxminphyangkh dngnirupyxythiepnesiyngsrayaw eː oː caekidinphyangkhepid khux phyangkhthiimmiphyychnathayhlngsra dngintwxyang echntarangaesdng karxxkesiyngsra ex ox inbali esiyngsra twxyangkhabaliithy ormn sakl xksrithy xksrormn sthxksrsakl1 xi xi i i i iː xiti xiti iti iti it i iːt i 2 xa xa a a a aː wr16 war vara vara ʋaɻa ʋaːɻa 3 xu xu u u u uː kul kul kula kula kul a kuːl a 4 ex ox e o eː oː ey oy ye yo jeː joː rupyxythiepnesiyngsrakungyaw eˑ aela oˑ caekidinphyangkhpid hmaythung phyangkhthimiphyychnathayhlngsra phyangkhpidinphraphuththphcnbali camilksnaechphaakhux epnphyangkhthilngthaydwyphyychnasxn khux phyychnasxnkn 2 esiyng odyesiyngaerkthahnathiepnphyychnathay phyychnasakd khxngphyangkhaerk swnphyychnathitammacathahnathiepnphyychnatnkhxngphyangkhthdipsra e o inbali emuxxyuhnaphyychnasxn cungmirupyxythiepnesiyngsrakungyaw half long eˑ oˑ tarangaesdng esiyngsrakungyaw esiyngsra twxyangkhabalisyam ithy ormn sakl xksrsyam xksrithy xksrormn sthxksrsaklex ex e eˑ emtta emt ta metta meˑt t aː ox ox o oˑ ostthi ost thi sotthi soˑt t i sra ex e ox o epnsraediywinthinicaxthibaywa sra ex e ox o epnsraediyw sungepnesiyngthixyuintaaehnngrahwangsra 2 esiyng sungmithantangknsra ex e ekidintaaehnngrahwangsra xa a kb xi i sra ox o ekidintaaehnngrahwangsra xa a kb xu u thngniphicarnatamesiyngthisubthxdknmacnthungpccubnepnhlkthansakhy inthinithuxwaimichsraprasmephraahakepnsraprasmcaepnsraeluxnerimdwykarxxkesiyngthisrahnungaelaeluxnipcbthixiksrahnungrabbesiyngphyychna aekikhinthangsthsastr esiyngphyychnahmaythungesiyngthieplngxxkmaodymixwywainkareplngesiynghruxthankrn articulators ddaeplnglminchxngthangedinesiynginlksnatang echn pidsnithkklmiw plxyihlmphanxxkmaid thngnilmxacphanxxkklanglinhruxkhanglininlksnaesiyngesiydaethrkhruxesiyngepid lmthiphanxxkma xacepnesiyngkxnghruximkxngkidinthangsththwithya phyychna hmaythung hnwythangphasasungthahnathiepnswnprakxbkhxngphyangkhprakthnahruxhlngsrasungepnaeknkhxngphyangkhcakeknthkarphicarnaphyychnadngklawkhangbnniinthangsthsastr esiyngbangesiyngechn j mikhunsmbtithangsthsastrechnediywkbesiyngsra idaek i aetinthangsthwithya esiyngnihakpraktintaaehnngkhxbphyangkhkhux intaaehnngtnhruxthayphyangkh esiyngpraephthnicathahnathiepnphyychnaaelamichuxeriyktang kn echn esiyngkungsra semi vowel esiyngepid approximant epntn karcaaenkesiyngphyychna aekikh karcaaenkesiyngphyychnatamaenwwichasthsastr phonetics caichlksna 3 prakartxipniepneknthkhux karcaaenkesiyngphyychnaodyphicarnatamthanthiekidkhxngesiyng karcaaenkphyychnatamsphaphkhxngesnesiyng aelakarcaaenkesiyngphyychnatamlksnakhxngkareplngesiyng karcaaenkesiyngphyychnaodyphicarnathanthiekidkhxngesiyng aekikh esiyngphyychnainbalicaaenktamthanthiekidesiyngidepn 8 praephth khux thanchxngesnesiyng glottal knthcha hmaythung phyychnathimithankrnxyuthichxngesnesiyng idaek h ɦ thanephdanxxn velar knthcha hmaythung phyychnathieplngesiyngodymithanephdanxxn aelakrn khux linswnhlng idaek k k kh kʰ g g gh gʱ ṅ ŋ thanephdanaekhng palatal talucha hmaythung phyychnathieplngesiyngodyichkrn khux linswnhnakbthanephdanaekhng idaek c c ch cʰ j ɟ jh ɟʱ n ɲ y j thanplaylinmwn retroflex muththcha mithanxyuthiswnhlngkhxngpumehnguxkhruxswnhnakhxngephdanaekhng hmaythung phyychnathieplngesiyngodyichplaylinepnkrnmwnkhunipaetahruxiklthanhlngpumehnguxkhruxhnaephdanaekhng idaek ṭ ʈ ṭh ʈʰ ḍ ɖ ḍh ɖʱ ṇ ɳ r ɻ ḷ ɭ thanfn dental thntcha hmaythung phyychnathieplngesiyngodyichkrnkhux playlinkbthan khux fnbn idaek t t th t ʰ d d dh d ʱ n n s s l l thanrimfipak bilabial oxtthcha hmaythung phyychnathieplngesiyngodyichrimfipakthngkhu epnthanaelakrn idaek p p ph pʰ b b bh bʱ m m thanrimfipakkbfn labio dental thnottthcha hmaythung phyychnathieplngesiyngodyichrimfipaklangkbthan khux fnbn idaek v ʋ thanchxngcmuk nasal cavity nasika hmaythung esiyngnikhkhhit ṃ chxngcmukthiepnthangedinlmkhxngsrasn 3 esiyng sungepnesiynglksnanasik idaek iṃ ĩ aṃ a aela uṃ ũ inkarxxkesiyngphyychnatamthanthiekidesiyngthnghmdni catxngmikarprbsphaphkhxngesnesiyngdwy karcaaenkesiyngphyychnatamsphaphkhxngesnesiyng aekikh esiyngphyychnainbalixaccaaenkxxkidtamlksnakarthangankhxngesnesiynginsphaphthiaetktangknepn 2 chnid khux esiyngimkxnghruxxokhsa voiceless sound aelaesiyngkxnghruxokhsa voiced sound dngniesnesiyngsamarththanganinlksnakhlayrimfipakkhuxxaccaxyuhangcakkn hruxthieriykwaesnesiyngepid lmthiphanesnesiynginlksnanimilksnaepnlmhayic breath esnesiyngcaimsncungeriykwaesiyngimkxnghruxesiyngxokhsa trngkhamkbkrnithiesnesiyngekhamaprachidkn aelamikhwamtungphxehmaa emuxmilmphankcadnihesnesiyngepidxxk inkhnaediywknkhwamtungkhxngesnesiyngkcadungihesnesiyngekhamaprachidknxikcnthaihmikarepidaelapidepncnghwathieriykwa esnesiyngsn hruxesiyngkxng hruxesiyngokhsatwxyangphyychnaesiyngxokhsa echn p p ph pʰ t t th t ʰ s s twxyangphyychnaesiyngokhsa echn b b bh bʱ d d m m n n l l karcaaenkesiyngphyychnatamlksnakarxxkesiyng aekikh esiyngphyychnainbalicaaenktamlksnakareplngesiyng klawkhux karddaeplnglminchxngthangedinesiyngkhnathixxkesiyngphud thaihekidesiynglksnatang idepn 6 praephth dngni esiyngkk stop esiyngthiekidcakkarxxkesiyngodymikarkklminchwngthikrnekhaprachidthanxyangsnith complete closure inchwngewlahnung emuxkrnaeykxxkcakthan khuxchwngkarepidchxngthangedinesiyng thaepnesiyngraebid plosive lmkcaraebidxxkma echn p p t t b b esiyngraebidmilksnathiaetktangcakesiyngkk khux inchwnghlngkarkklm esiyngkkbangpraephth xwywainkareplngesiyng ephiyngaetaeykxxkcakkn aetimmiesiyngraebidtamma aetbangesiyngmikraaeslmtamxxkmahlngkarraebid cungeriykwa esiyngkkthimiklumlmhruxesiyngthnit aspirated stop echn esiyng ph pʰ th t ʰ bh bʱ epntn swnesiyngkkthiimmiklumlmtammaeriykwa esiyngkkimmilm hrux esiyngsithil unaspirated stop echn esiyng p p t t b b epntn esiyngesiydaethrk fricative khuxesiyngthiekidcakkarxxkesiyngodythanaelakrnprachidknkxihekidchxngthangedinesiyngthiaekhb kraaeslmphanxxkmacaepnesiyngsa hruxesiyngesiydaethrkinbalimi 2 esiyng idaek s s h ɦ esiyngnasik nasal esiyngthiekidcakkarkklmihsnithinpak ephdanxxnldtalngthaihlmphankhunipthangchxngcmukid echn m m n n ṅ ŋ epntn aelainkrnithiepnesiyngsra hakepidchxngcmukphrxmknipkbkarxxkesiyngsrakcaidesiyngsralksnanasikthiaethndwynikhkhhit ṃ echninkha ku kiṃ kĩ esiynglksnanasikniekidkhunidkbsraesiyngsn 3 esiyng khux x a xi i xu u epn ĩ a ũ esiynglksnanasikthiekidkbsraniinphasaithyimmi khnithycungxxkesiynglksnanasikniepnesiyngsrakbphyychnanasikthanephdanxxn ng ŋ sakd echn ext etaṃ eta aetkhnithymkcaxxkesiyngwa extng etaŋ esiyngepid hrux esiyngkungsra approximant semi vowel esiyngepidthahnathiepnphyychna khuxesiyngthiekidcakkarxxkesiynginlksnathithankrnxyuiklknimmaknk thaihkraaeslmphanchxngpakxxkipodysadwk echnediywkbkareplngesiyngsra thaesiyngnithahnathiepnesiyngkhxbphyangkh marginal sound hruxepnphyychna eracaeriykwa esiyngepid approximant hrux esiyngkungsra semi vowel khuxmikhunlksnaepnesiyngsra aetthahnathiepnphyychna echn esiyng j in yo joː aelaesiyng ʋ in vo ʋoː kha yo joː aela vo ʋoː erimxxkesiynginchwngsn inlksnachxngthangedinesiyngepidechnediywkbsra i i aelwcungeluxnipyngesiyngsra o oː thiepnaeknphyangkh thaihekidesiyng y j sungmikrnkhux linswnhnaykkhunsungipyngthanephdanaekhng rimfipakehyiydesnesiyngsn j epnesiyngphyychnakhxngxksr y inbali swnkha vo ʋoː erimxxkesiynginchwngsn inlksnachxngthangedinesiyngepidechnediywkbsra u u aelwcungeluxnipyngsra o oː thiepnaeknphyangkhthaihekidesiyng v ʋ sungmikrnkhuxlinswnhlngykkhunsungipyngthanephdanxxn rimfipakhxesnesiyngsn ʋ epnesiyngphyychnakhxngxksr v inbali srupwaesiyng kungsra hrux xthsra khuxesiyngthimilksnakarxxkesiyngechnediywkbesiyngsra aetmihnathiphyychna hruxepnesiyngkhxbphyangkh khuxekidinchwngsn khxngphyangkh sunginiwyakrnbali eriykwa xththsraphyychna idaek y j v ʋ r ɻ l l ḷ ɭ epntn esiyngepidkhanglin lateral approximant khuxesiyngthiekidcakkarxxkesiynginlksnathilmxxkkhanglin khuxkrnekhaprachidthanodysnith aetswnkhangkhxnglincaxyuhangcakthaninlksnaepidihkraaeslmxxkmaidsadwk cakkhacakdkhwamni inbalimixyu 2 esiyng khux l l sungepnesiyngthiekidcakplaylinykkhunipaetafnbnaelakhanglinldlng aelaesiynglinmwn ḷ ɭ sungplaylinmwnkhunipaetahlngpumehnguxkhruxhnaephdanaekhng aelakhanglinepid esiyngepidlinmwn retroflex approximant khuxesiyngthiekidcakkarmwnlinkhunipiklthanswnhlngkhxngpumehnguxkhruxswnhnakhxngephdanaekhnginlksnaepidihkraaeslmxxkmaidsadwk idaek r ɻ tarangaesdngesiyngsrainbali emuxprakxbkbesiyngphyychna xksrormn thiichaethnesiyngbali sthxksrsakl IPA esiyngsrainkhabali twxyanginphraitrpidkbali i i cittam cit t a i iː devi d eːʋiː a a atha at ʰa a aː deva d eːʋaː u u pubbe pubbeː u uː bahu baɦuː e eː etaṃ eːt a o oː bodhi boːd ʱi iṃ ĩ kiṃ kĩ aṃ a kaṃ ka uṃ ũ kuṃ kũ karxxkesiyngphiesskhxngbali karxxkesiyngphyychnaxththsrakhwbklakhxngbali aekikhkarxxkesiyngphyychnakhwbklakhxngbali epneruxngthiekiywkhxngkbphyychnaxthsraaelaphyychnaxun bangesiyng emuxepnswnprakxbkhxngesiyngphyychnakhwbkla sunghmaythungphyychna 2 esiyngthieriyngtidtxknodyimmiesiyngsrakhnklang inphraitrpidkbalixksrsyamichekhruxnghmay yamkkar khux aesdngesiyngkhuhruxesiyngkhwb aelainbangkrnthahnathiepntwsakdinphyangkhthinahnainkhaediywkndwy sunginchbbxksrsyamichekhruxnghmay imhnxakas aesdngesiyngsraxa emuxmitwsakd inphyangkhthinahnainkhaediywknephuxaesdngkarphimphphyychnaesiyngkhwbklathithahnathiepnesiyngsakdphrxmknipdwy phyychnakhwbklabaliaebngxxkidepn 2 lksna khux phyychnakhwbklathiepnphyychnatnkhaaelaphyychnakhwbklathiekidklangkharahwangsra epnphyychnasakdkhwbklainkareriyngphimphphraitrpidkxksrormn iddaenintamkarsubthxdesiyngbaliinchbbxksrsyam odyidphimphsththxksrsaklbaliethiybiwdwyephuxchwyihphuxanphraitrpidkbalixksrormnidxxkesiyngthuktxngchdecnyingkhun twxyangthisakhy aebngxxkidepn 2 lksna dngklawkhux phyychnakhwbklathiepnphyychnatnkha aekikh phyychnakhwbklabalisungekidtnkhaepnphyychnatn xacprakxbdwyphyychnaxthsrahruxphyychnaepid idaek y r w l l j ɻ v l ɭ odyphyychnaehlani caekidrwmkbphyychnaesiyngkk echn k t th p ph k t d p b epnesiyngphyychnakhwbkla dngintwxyangtxipnitarangaesdng phyychnaesiyngkhwbklatnkha esiyngkhwb twxyangkhabalisyam ithy ormn sakl xksrsyam xksrithy xksrormn sthxksrsaklphy ph y by bj phykhkh ph ykh kh byaggha bjaɡɡʱa phr ph r br bɻ phruti ph ruti bruti bɻuːt i thw th w dv d ʋ thwar th war dvara d ʋaːɻa tw t w tv t ʋ tw t w tvaṃ t ʋ pl p l pl p l plwti p lwti plavati pl aʋati kl k l kl kl eklsmel ek lsmel klesamale kl es amal e phyychnasakdkhwbkla aekikh phyychnakhwbklabalithiekidklangkharahwangsracaxxkesiyngepnphyychnasakdtxenuxngip epnesiyngkhwbkla klawkhuxnxkcakepnesiyngphyychnasakdkhxngphyangkhaerkaelwyngthahnathirwmepnesiyngphyychnatnkhwbklakhxngphyangkhthdipdwy sungeriykwa phyychnasakdkhwbkla phyychnasakdkhwbklapraephthni xacprakxbdwyphyychnaxwrrkh thng 7 esiyng sungrwmphyychnaxthsrahruxphyychnaepid khux y r w l l j ɻ v l ɭ aelaphyychnaesiyngesiydaethrk s h s ɦ emuxphyychnakhwbklabaliekidintaaehnngrahwangsra swnthierimxxkesiyngepnphyychnakhwbklacathahnathiepnesiyngsakdthayphyangkhaerkdwy dngnn esiyngnicungthahnathi 2 xyang khux epnesiyngsakdkhxngphyangkhaerkaelatxenuxngipepnesiyngerimtnphyychnakhwbklainphyangkhthdiptarangaesdng phyychnasakdkhwbkla esiyngkhwb twxyangkhabalisyam ithy ormn sakl xksrsyam xksrithy xksrormn sthxksrsaklly l y ly l j klya kl ya ka lya kal jaː phr ph r br bɻ xithmphrwi xithmph rwi idama bravi id amabɻaʋiː pl p l pl pl xuplw x p lw u plava u pl aʋa kl k l kl kl cittkeleshi cit tek leshi citta klesehi cit t a kl eːs eːɦi tw t w tv t ʋ ktwa kt wa ka tva kat ʋaː sm s m sm s m tsma ts ma ta sma t as maː twxyanginphaphthi 27 imisekhruxnghmayechuxmesiyng inchxngsththxksrsakl sungxacthaihphuimkhunekhykbbaliimxxkesiyngtwsakdkhxngphyangkhaerk dngnnephuxchwyihphuxansamarthxxkesiyngidthuktxngtamhnathithngsxngkhxngesiyngphyychnathierimesiyngkhwbkla khux epnesiyngsakdkhanghlngxyuthayphyangkhaerk aelatxenuxngipepnesiyngthierimtnphyychnatnkhwbklainphyangkhthdip tlxdcnechuxmkbesiyngkhwbkladwy odykarephimekhruxnghmayechuxmesiyngtarangaesdng phyychnasakdkhwbkla phrxmthngesnxephimekhruxnghmayechuxmesiyng esiyngkhwb twxyangkhabalisyam ithy ormn sakl xksrsyam xksrithy xksrormn sthxksrsaklly l y ly l j klya kl ya ka lya ka l jaː phr ph r br bɻ xithmphrwi xithmph rwi idama bravi id ama b ɻaʋiː pl p l pl pl xuplw x p lw u plava u pl aʋa kl k l kl kl cittkeleshi cit tek leshi citta klesehi cit t a kl eːs eːɦi tw t w tv t ʋ ktwa kt wa ka tva ka t ʋaː sm s m sm s m tsma ts ma ta sma t a s maː nxkcakniyngmitwxyangxun echn emux h ɦ maprakxbkbphyychnasakdkhwbklathiepnphyychnaepiddngklawkhangtn aelakbphyychnanasik echn n m ɲ ɳ m tarangaesdng twxyangemux h maprakxbepnphyychnasakdkhwbkla esiyngkhwb twxyangkhabalisyam ithy ormn sakl xksrsyam xksrithy xksrormn sthxksrsakl h y h nh ɲɦ p ha py ha pa nha paɲɦaː nh n h ṇh ɳɦ tnha tn ha ta ṇha t aɳɦaː mh m h mh mɦ tuemh tuem h tu mhe t umɦeː yh y h yh jɦ muyhet muy het mu yhate mujɦat eː lh l h lh l ɦ wulhet wul het vu lhate ʋul ɦat eː wh w h vh ʋɦ xwhiot xw hiot a vhito aʋɦit oː lh l h ḷh ɭɦ rulhi rul hi ru ḷhi ɻuːɭɦi twxyanginphaphthi 29 imisekhruxnghmayechuxmesiyng inchxngsthxksrsakl swninphaphthi 30 khxesnxkarephimekhruxnghmayechuxmesiyng sungerimcakesiyngsrasungepnesiyngtxenuxngkbesiyngswnaerkkhxngphyychnakhwbklainphyangkhthdip thanxngediywkbinphaphthi 28 dngtwxyangtxipnitarangaesdng twxyangemux h maprakxbepnphyychnasakdkhwbkla phrxmthngesnxephimekhruxnghmayechuxmesiyng esiyngkhwb twxyangkhabalisyam ithy ormn sakl xksrsyam xksrithy xksrormn sthxksrsakl h y h nh ɲɦ p ha py ha pa nha pa ɲɦaː nh n h ṇh ɳɦ tnha tn ha ta ṇha t a ɳɦaː mh m h mh mɦ tuemh tuem h tu mhe t u mɦeː yh y h yh jɦ muyhet muy het mu yhate mu jɦat eː lh l h lh l ɦ wulhet wul het vu lhate ʋu lɦat eː wh w h vh ʋɦ xwhiot xw hiot a vhito a ʋɦit oː lh l h ḷh ɭɦ rulhi rul hi ru ḷhi ɻu ːɭɦi hnngsuxxanephimetim aekikh wikitara mikhumux tara hruxwithikarekiywkb rabbkarxxkesiyngphasabali siri ephchrichy p th 9 aelawicintn phanuphngs phraitrpidkpaliculcxmeklabrmthmmikmharach r s 112 xksrsyam chbbxnurksdicithl kxngthunsnthnathmmnasukh 2551 Siri Petchai and Vichin Phanupong Chulachomklao of Siam Paḷi Tipiṭaka 1893 Digital Preservation Edition Dhamma Society Fund 2009 r t chlad buylxy prawtiwrrnkhdibali 2527 pthmphngs ophthiprasiththinnth prawtiphasabali khwamepnmaaelathismphnthkbphasaprakvtaelasnskvt 2535 prani laphanich phasasnskvt khunkhainkarphthnakhwamekhaicphasabali 2536 hna 113 145 Wilhem Geiger Pali Literatur und Sprache 1892 Charles Duroiselle A Practical Grammar of the Pali Language 3rd Edition 1997ekhathungcak https th wikipedia org w index php title rabbkarxxkesiyngphasabali amp oldid 8961000, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม