fbpx
วิกิพีเดีย

ริชาร์ด ไฟน์แมน

ริชาร์ด ฟิลลิปส์ ไฟน์แมน (อังกฤษ: Richard Phillips Feynman) นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1918 เสียชีวิต 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1988 เป็นหนึ่งในนักฟิสิกส์ ที่ทรงคุณค่าและมีอิทธิพลมากที่สุดของคริสต์ศตวรรษที่ 20

ริชาร์ด ไฟน์แมน
ริชาร์ด ฟิลิปป์ ไฟน์แมน (1918–1988)
เกิด11 พฤษภาคม ค.ศ. 1918(1918-05-11)
ควีนส์, นิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา
เสียชีวิต15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1988 (69 ปี)
ลอสแอนเจลิส  รัฐแคลิฟอร์เนีย  สหรัฐ
สัญชาติ ชาวอเมริกัน
ศิษย์เก่าสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน
มีชื่อเสียงจากFeynman diagrams
Feynman point
Feynman–Kac formula
Wheeler–Feynman absorber theory
Feynman sprinkler
Feynman Long Division Puzzles
Hellmann–Feynman theorem
Feynman slash notation
Feynman parametrization
Sticky bead argument
One-electron universe
Quantum cellular automata
หนังสือ Cosmos
รางวัลรางวัลอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (1954)
E. O. Lawrence Award (1962)
รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (1965)
Oersted Medal (1972)
National Medal of Science (1979)
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาฟิสิกส์
สถาบันที่ทำงานโครงการแมนฮัตตัน
มหาวิทยาลัยคอร์แนล
สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอกJohn Archibald Wheeler
อาจารย์ที่ปรึกษาอื่น ๆManuel Sandoval Vallarta
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอกAl Hibbs
George Zweig
Giovanni Rossi Lomanitz
Thomas Curtright
ลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงอื่น ๆDouglas D. Osheroff
มีอิทธิพลต่อJohn C. Slater
ได้รับอิทธิพลจากHagen Kleinert
Rod Crewther
José Leite Lopes
ลายมือชื่อ
หมายเหตุ
เขาเป็นบิดาของ คาร์ล ไฟน์แมน และ มิเชล ไฟน์แมน และเป็นพี่ชายของ โจน ไฟน์แมน

ในการจัดอันดับนักฟิสิกส์ยอดเยี่ยมตลอดกาลของโลก โดยสำนักข่าวบีบีซี ที่ให้นักฟิสิกส์ชั้นนำของโลกร่วม 100 คนช่วยกันตัดสิน ไฟน์แมน เป็นนักฟิสิกส์สมัยใหม่เพียงคนเดียว ที่ชนะใจเหล่านักฟิสิกส์ชั้นนำทั่วโลก โดยติดอันดับ 10 คนแรกของโลก (สมัยใหม่ในที่นี้ คือนับหลังจากยุคทองของทฤษฎีควอนตัม คือในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน ค.ศ. 2005) แม้แต่นักฟิสิกส์ผู้โด่งดังอย่างสตีเฟ่น ฮอว์คิง ก็ยังได้เพียงอันดับ 16 ในผลโหวต แน่นอนผลโหวตนี้ไม่สามารถตัดสินอะไรได้ แต่ก็เป็นเครื่องบ่งชี้อย่างดีว่า ไฟน์แมนมีอิทธิพลต่อวงการฟิสิกส์ยุคปัจจุบันแค่ไหน ทั้งในแง่ผลงานทางวิชาการ การสอนหนังสือ และการใช้ชีวิต

ผลงานของไฟน์แมนมีมากมาย เช่น การขยายทฤษฎีพลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัมให้กว้างใหญ่ขึ้นมาก ซึ่งนำไปสู่รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ เมื่อปี ค.ศ. 1965 ซึ่งเขาได้ร่วมกับจูเลียน ชวิงเกอร์ และโทะโมะนะกะ ชินอิจิโร ไฟน์แมนปฏิเสธตำแหน่งนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ที่ที่ไอน์สไตน์อยู่, เพียงเพราะเขาต้องการสอนหนังสือให้กับเด็ก ครั้งหนึ่งเขาเคยพูดว่า "ผมอยากสอน เพราะในตอนที่ผมไม่มีไอเดียอะไรใหม่ ๆ ในงานวิจัย ผมก็ยังสามารถให้อะไรกับสังคมได้"

ไฟน์แมนตัดสินใจรับตำแหน่งที่สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย (แคลเทค) สร้างยุคทองของมหาวิทยาลัย ร่วมกับเมอเรย์ เกลมานน์ ผู้คิดค้นทฤษฎีควาร์ก, ไลนัส พอลิง หนึ่งในนักเคมีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในศตวรรษที่ 20 หนึ่งในผู้คิดค้นทฤษฎีควอนตัมเคมี และนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำท่านอื่น ๆ ในแง่ของการเป็นอาจารย์ เขาได้เขียนคำบรรยายฟิสิกส์ของไฟน์แมน (Feynman Lectures on Physics) อันโด่งดัง ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้สอนวิชาฟิสิกส์เป็นจำนวนมาก ทั้งในแง่เนื้อหาและการนำเสนอ เป็นการพลิกการเรียนการสอนฟิสิกส์แบบเก่า ๆ ให้เข้าใจง่าย

นอกจากนั้นเขายังเป็นหนึ่งในผู้พัฒนาระเบิดนิวเคลียร์ลูกแรกของโลก ในโครงการแมนฮัตตัน เป็นหนึ่งในผู้ตรวจสอบการระเบิดของกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ และเป็นผู้ริเริ่มเสนอแนวคิดของนาโนเทคโนโลยี

ผลงานเกี่ยวกับไฟน์แมน

  • ผลงานของ ริชาร์ด ไฟน์แมน ที่ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบล คือ "The Development of the Space-Time View of Quantum Electrodynamics"
  • The Feynman Lectures on Physics

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • การจัดอันดับนักฟิสิกส์ยอดเยี่ยมตลอดกาลของโลก โดยสำนักข่าวบีบีซีของอังกฤษ
  • Richard P. Feynman - Nobel Lecture
  • Feynman Online!
  • Unique freeview videos of Feynman's lectures on QED courtesy of The Vega Science Trust and The University of Auckland
  • Los Alamos National Laboratory Richard Feynman page
  • The Nobel Prize Winners in Physics 1965
  • About Richard Feynman
  • Feynman's classic 1959 talk:There's Plenty of Room at the Bottom
  • Richard Feynman and The Connection Machine
  • Infinity ที่อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส
  • PhysicsWeb review of the play QED
  • BBC Horizon: The Pleasure of Finding Things Out — with Richard Feynman. A 50-minute documentary interview with Feynman recorded in 1981
  • Richard Feynman, Winner of the 1965 Nobel Prize in Physics

อ้างอิง

  1. NNDB profile of Richard Feynman
  2. "I told him I was as strong an atheist as he was likely to find" (Feynman 2005)

ชาร, ไฟน, แมน, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, ดบทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดย. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudbthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir richard fillips ifnaemn xngkvs Richard Phillips Feynman nkfisikschawxemrikn ekidemuxwnthi 11 phvsphakhm kh s 1918 esiychiwit 15 kumphaphnth kh s 1988 epnhnunginnkfisiks thithrngkhunkhaaelamixiththiphlmakthisudkhxngkhriststwrrsthi 20richard ifnaemnrichard filipp ifnaemn 1918 1988 ekid11 phvsphakhm kh s 1918 1918 05 11 khwins niwyxrk shrthxemrikaesiychiwit15 kumphaphnth kh s 1988 69 pi lxsaexneclis rthaekhlifxreniy shrthsychati chawxemriknsisyekasthabnethkhonolyiaemssachuestsmhawithyalyphrinstnmichuxesiyngcakFeynman diagramsFeynman pointFeynman Kac formulaWheeler Feynman absorber theoryFeynman sprinklerFeynman Long Division PuzzlesHellmann Feynman theoremFeynman slash notationFeynman parametrizationSticky bead argumentOne electron universeQuantum cellular automatahnngsux Cosmosrangwlrangwlxlebirt ixnsitn 1954 E O Lawrence Award 1962 rangwloneblsakhafisiks 1965 Oersted Medal 1972 National Medal of Science 1979 xachiphthangwithyasastrsakhafisikssthabnthithanganokhrngkaraemnhttnmhawithyalykhxraenlsthabnethkhonolyiaekhlifxreniyxacarythipruksainradbpriyyaexkJohn Archibald Wheelerxacarythipruksaxun Manuel Sandoval VallartaluksisyinradbpriyyaexkAl HibbsGeorge ZweigGiovanni Rossi Lomanitz Thomas Curtrightluksisythimichuxesiyngxun Douglas D OsheroffmixiththiphltxJohn C SlateridrbxiththiphlcakHagen KleinertRod CrewtherJose Leite Lopeslaymuxchuxhmayehtuekhaepnbidakhxng kharl ifnaemn aela miechl ifnaemn aelaepnphichaykhxng ocn ifnaemninkarcdxndbnkfisiksyxdeyiymtlxdkalkhxngolk odysankkhawbibisi thiihnkfisikschnnakhxngolkrwm 100 khnchwykntdsin ifnaemn epnnkfisikssmyihmephiyngkhnediyw thichnaicehlankfisikschnnathwolk odytidxndb 10 khnaerkkhxngolk smyihminthini khuxnbhlngcakyukhthxngkhxngthvsdikhwxntm khuxinchwngkhrunghlngkhxngkhriststwrrsthi 20 thungpccubn kh s 2005 aemaetnkfisiksphuodngdngxyangstiefn hxwkhing kyngidephiyngxndb 16 inphlohwt aennxnphlohwtniimsamarthtdsinxairid aetkepnekhruxngbngchixyangdiwa ifnaemnmixiththiphltxwngkarfisiksyukhpccubnaekhihn thnginaengphlnganthangwichakar karsxnhnngsux aelakarichchiwitphlngankhxngifnaemnmimakmay echn karkhyaythvsdiphlsastriffakhwxntmihkwangihykhunmak sungnaipsurangwloneblsakhafisiks emuxpi kh s 1965 sungekhaidrwmkbcueliyn chwingekxr aelaothaomanaka chinxicior ifnaemnptiesthtaaehnngnkwicythimhawithyalyphrinstn thithiixnsitnxyu ephiyngephraaekhatxngkarsxnhnngsuxihkbedk khrnghnungekhaekhyphudwa phmxyaksxn ephraaintxnthiphmimmiixediyxairihm innganwicy phmkyngsamarthihxairkbsngkhmid ifnaemntdsinicrbtaaehnngthisthabnethkhonolyiaekhlifxreniy aekhlethkh srangyukhthxngkhxngmhawithyaly rwmkbemxery eklmann phukhidkhnthvsdikhwark ilns phxling hnunginnkekhmithiyingihythisudinstwrrsthi 20 hnunginphukhidkhnthvsdikhwxntmekhmi aelankwithyasastrchnnathanxun inaengkhxngkarepnxacary ekhaidekhiynkhabrryayfisikskhxngifnaemn Feynman Lectures on Physics xnodngdng sungepnaerngbndalicihkbphusxnwichafisiksepncanwnmak thnginaengenuxhaaelakarnaesnx epnkarphlikkareriynkarsxnfisiksaebbeka ihekhaicngaynxkcaknnekhayngepnhnunginphuphthnaraebidniwekhliyrlukaerkkhxngolk inokhrngkaraemnhttn epnhnunginphutrwcsxbkarraebidkhxngkraswyxwkasaechlelnecxr aelaepnphurierimesnxaenwkhidkhxngnaonethkhonolyi enuxha 1 phlnganekiywkbifnaemn 2 duephim 3 aehlngkhxmulxun 4 xangxingphlnganekiywkbifnaemn aekikhphlngankhxng richard ifnaemn thithaihekhaidrbrangwlonebl khux The Development of the Space Time View of Quantum Electrodynamics The Feynman Lectures on Physicsduephim aekikhraychuxphuidrbrangwloneblaehlngkhxmulxun aekikhkarcdxndbnkfisiksyxdeyiymtlxdkalkhxngolk odysankkhawbibisikhxngxngkvs Richard P Feynman Nobel Lecture Feynman Online Unique freeview videos of Feynman s lectures on QED courtesy of The Vega Science Trust and The University of Auckland Los Alamos National Laboratory Richard Feynman page The Nobel Prize Winners in Physics 1965 About Richard Feynman Feynman s classic 1959 talk There s Plenty of Room at the Bottom Richard Feynman and The Connection Machine Infinity thixinethxrentmuwiedtaebs PhysicsWeb review of the play QED BBC Horizon The Pleasure of Finding Things Out with Richard Feynman A 50 minute documentary interview with Feynman recorded in 1981 Richard Feynman Winner of the 1965 Nobel Prize in Physicsxangxing aekikh NNDB profile of Richard Feynman I told him I was as strong an atheist as he was likely to find Feynman 2005 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title richard ifnaemn amp oldid 8951651, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม