fbpx
วิกิพีเดีย

รีเฟล็กซ์

รีเฟล็กซ์ หรือ ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ (อังกฤษ: Reflex) เป็นการเคลื่อนไหวของร่างกายโดยนอกการควบคุมของจิตใจ (involuntary) ที่เกิดขึ้นอย่างแทบฉับพลันทันที (instantaneous) เพื่อเป็นการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น (stimulus) โดยปกติและเมื่อหมายถึงรีเฟล็กซ์ของมนุษย์แล้ว รีเฟล็กซ์จะเกิดผ่านระบบการนำกระแสประสาทที่เรียกว่า วงรีเฟล็กซ์ (reflex arc) ซึ่งเมื่อกล่าวถึงสัตว์ประเภทอื่นๆ คำว่ารีเฟล็กซ์อาจมีรายละเอียดของความหมายที่แตกต่างกันออกไปได้

เวลาตอบโต้

เวลาตอบโต้ (reaction time หรือ latency) คือช่วงเวลาที่ร่างกายเริ่มรับสัญญาณความรู้สึกจากสิ่งกระตุ้น จนร่างกายมีการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นนั้น

เวลาของปฏิกิริยาต่อสิ่งกระตุ้นสามารถมองเห็นได้ มักอยู่ในช่วงเวลา 150 ถึง 300 มิลลิวินาที (millisecond)

รีเฟล็กซ์ในมนุษย์

รีเฟล็กซ์ทั่วไป

รีเฟล็กซ์ทั่วไป (Typical Reflex) คือ รีเฟล็กซ์ที่มีรูปแบบโดยทั่วไป คือ วงจรเซลล์ประสาทที่รับรู้และทำให้เกิดรีเฟล็กซ์ ได้แก่

  • เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron)
  • เซลล์ประสาทที่สื่อสารภายในระบบประสาทส่วนกลาง (interneuron)
  • เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron)

รีเฟล็กซ์เอ็นลึก

รีเฟล็กซ์เอ็นลึก (deep tendon reflexes) เป็นปฏิกิริยาของร่างกายที่เกิดจากการทำงานร่วมกันของระบบประสาทส่วนกลางและระบบประสาทส่วนรยางค์ โดยปกติหากร่างกายมนุษย์มีรีเฟล็กซ์ที่ลดลง มักหมายถึงร่างกายมีความผิดปกติในระบบประสาทส่วนรยางค์ แต่หากมีรีเฟล็กซ์มากเกินไป มักหมายความว่าระบบประสาทส่วนกลางอาจมีความผิดปกติได้

  • รีเฟล็กซ์ไบเซ็ปส์ (Biceps reflex) (ใช้ C5, C6)
  • รีเฟล็กซ์เบรกิโอเรเดียลิส (Brachioradialis reflex) (ใช้ C5, C6, C7)
  • รีเฟล็กซ์เอกซ์เทนเซอร์ ดิจิทอรุม (Extensor digitorum reflex) (ใช้ C6, C7)
  • รีเฟล็กซ์ไตรเซ็ปส์ (Triceps reflex) (ใช้ C6, C7, C8)
  • รีเฟล็กซ์เอ็นสะบ้า (Patellar reflex) หรือ รีเฟล็กซ์เข่า (knee-jerk reflex) (ใช้ L2, L3, L4)
  • รีเฟล็กซ์ข้อเท้า (Ankle jerk reflex) หรือ รีเฟล็กซ์เอ็นร้อยหวาย (Achilles reflex) (ใช้ S1, S2)
  • รีเฟล็กซ์ฝ่าเท้า (Plantar reflex) หรือ รีเฟล็กซ์บาบินสกี (Babinski reflex) (ใช้ L5, S1, S2)
  • รีเฟล็กซ์ปรับสายตา (Accommodation reflex) (ใช้ CN II, CN III)
  • รีเฟล็กซ์ขากรรไกร (Jaw jerk reflex) (ใช้ CN V)
  • รีเฟล็กซ์กระจกตา หรือ รีเฟล็กซ์กะพริบตา (Corneal reflex or blink reflex) (ใช้ CN V, VII)
  • การทดสอบรีเฟล็กซ์แคลอริก หรือ รีเฟล็กซ์เวสทิบูโลโอคิวลาร์ (Caloric reflex test/Vestibulo-ocular reflex) (ใช้ CN VIII, CN III, CN IV, CN VI)
  • รีเฟล็กซ์ขย้อน (Gag reflex) (ใช้ CN IX, X)

รีเฟล็กซ์ที่มักพบเฉพาะในทารก

ดูบทความหลักที่: รีเฟล็กซ์ดั้งเดิม
 
Grasp reflex

เด็กแรกเกิดจะมีรีเฟล็กซ์บางอย่างที่มักไม่พบในผู้ใหญ่ เรียกว่า รีเฟล็กซ์ดั้งเดิม (primitive reflexes) เช่น

  • อะซิมเมทริเคิล โทนิค เน็ค รีเฟล็กซ์ (Asymmetrical tonic neck reflex ย่อว่า ATNR)
  • แกรสป รีเฟล็กซ์ (Grasp reflex)
  • แฮนด์ทูเมาธ์ รีเฟล็กซ์ (Hand-to-mouth reflex)
  • มอโร รีเฟล็กซ์ หรือสตาเติล รีเฟล็กซ์ (Moro reflex หรือ the startle reflex)
  • การดูด (Sucking)
  • ซิมเมทริเคิล โทนิค เน็ค รีเฟล็กซ์ (Symmetrical tonic neck reflex ย่อว่า STNR)
  • โทนิค แลบีริงธีน รีเฟล็กซ์ (Tonic labyrinthine reflex ย่อว่า TLR)

การวัดระดับรีเฟล็กซ์

มักเป็นระบบที่ให้คะแนนตั้งแต่ 0 ถึง 4:

เกรด ความหมาย
0 ไม่มี (Absent)
1+ หรือ + น้อยไป (Hypoactive)
2+ หรือ ++ ปกติ (Normal)
3+ หรือ +++ มากไปแต่ไม่มีโคลนัส (Hyperactive without clonus)
4+ หรือ ++++ มากไปและมีโคลนัส (Hyperactive with clonus)
  • ทั้งนี้ โคลนัส คือ อาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อนอกเหนืออำนาจจิตใจเมื่อมีการยืดตัวของกล้ามเนื้ออย่างทันที

ดูเพิ่ม

  • รายชื่อรีเฟล็กซ์
  • พฤติกรรมอัตโนมัติ
  • Involuntary action
  • Voluntary action
  • พรีเฟล็กซ์

อ้างอิง

  1. Purves (2004). Neuroscience: Third Edition. Massachusetts, Sinauer Associates, Inc.
  2. "Human Benchmark: Reaction Time Statistics". สืบค้นเมื่อ 2007-10-11.
  3. Neurologic Exam
  4. University of Florida > Neurologic Examination Retrieved on May 9, 2009

เฟล, กซ, หร, ปฏ, ยา, งกฤษ, reflex, เป, นการเคล, อนไหวของร, างกายโดยนอกการควบค, มของจ, ตใจ, involuntary, เก, ดข, นอย, างแทบฉ, บพล, นท, นท, instantaneous, เพ, อเป, นการตอบสนองต, อส, งกระต, stimulus, โดยปกต, และเม, อหมายถ, งของมน, ษย, แล, จะเก, ดผ, านระบบการนำกระ. rieflks hrux ptikiriyarieflks xngkvs Reflex epnkarekhluxnihwkhxngrangkayodynxkkarkhwbkhumkhxngcitic involuntary thiekidkhunxyangaethbchbphlnthnthi instantaneous ephuxepnkartxbsnxngtxsingkratun stimulus 1 odypktiaelaemuxhmaythungrieflkskhxngmnusyaelw rieflkscaekidphanrabbkarnakraaesprasaththieriykwa wngrieflks reflex arc sungemuxklawthungstwpraephthxun khawarieflksxacmiraylaexiydkhxngkhwamhmaythiaetktangknxxkipid enuxha 1 ewlatxbot 2 rieflksinmnusy 2 1 rieflksthwip 2 2 rieflksexnluk 2 3 rieflksthimkphbechphaainthark 2 4 karwdradbrieflks 3 duephim 4 xangxingewlatxbot aekikhewlatxbot reaction time hrux latency khuxchwngewlathirangkayerimrbsyyankhwamrusukcaksingkratun cnrangkaymikartxbsnxngtxsingkratunnnewlakhxngptikiriyatxsingkratunsamarthmxngehnid mkxyuinchwngewla 150 thung 300 milliwinathi millisecond 2 rieflksinmnusy aekikhrieflksthwip aekikh rieflksthwip Typical Reflex khux rieflksthimirupaebbodythwip khux wngcresllprasaththirbruaelathaihekidrieflks idaek esllprasathrbkhwamrusuk sensory neuron esllprasaththisuxsarphayinrabbprasathswnklang interneuron esllprasathsngkar motor neuron rieflksexnluk aekikh rieflksexnluk deep tendon reflexes epnptikiriyakhxngrangkaythiekidcakkarthanganrwmknkhxngrabbprasathswnklangaelarabbprasathswnryangkh odypktihakrangkaymnusymirieflksthildlng mkhmaythungrangkaymikhwamphidpktiinrabbprasathswnryangkh aethakmirieflksmakekinip mkhmaykhwamwarabbprasathswnklangxacmikhwamphidpktiid rieflksibesps Biceps reflex ich C5 C6 rieflksebrkioxerediylis Brachioradialis reflex ich C5 C6 C7 rieflksexksethnesxr dicithxrum Extensor digitorum reflex ich C6 C7 rieflksitresps Triceps reflex ich C6 C7 C8 rieflksexnsaba Patellar reflex hrux rieflksekha knee jerk reflex ich L2 L3 L4 rieflkskhxetha Ankle jerk reflex hrux rieflksexnrxyhway Achilles reflex ich S1 S2 rieflksfaetha Plantar reflex hrux rieflksbabinski Babinski reflex ich L5 S1 S2 rieflksprbsayta Accommodation reflex ich CN II CN III rieflkskhakrrikr Jaw jerk reflex ich CN V rieflkskrackta hrux rieflkskaphribta Corneal reflex or blink reflex ich CN V VII karthdsxbrieflksaekhlxrik hrux rieflksewsthibuoloxkhiwlar Caloric reflex test Vestibulo ocular reflex ich CN VIII CN III CN IV CN VI rieflkskhyxn Gag reflex ich CN IX X rieflksthimkphbechphaainthark aekikh dubthkhwamhlkthi rieflksdngedim Grasp reflex edkaerkekidcamirieflksbangxyangthimkimphbinphuihy eriykwa rieflksdngedim primitive reflexes 3 echn xasimemthriekhil othnikh enkh rieflks Asymmetrical tonic neck reflex yxwa ATNR aekrsp rieflks Grasp reflex aehndthuemath rieflks Hand to mouth reflex mxor rieflks hruxstaetil rieflks Moro reflex hrux the startle reflex kardud Sucking simemthriekhil othnikh enkh rieflks Symmetrical tonic neck reflex yxwa STNR othnikh aelbiringthin rieflks Tonic labyrinthine reflex yxwa TLR karwdradbrieflks aekikh mkepnrabbthiihkhaaenntngaet 0 thung 4 4 ekrd khwamhmay0 immi Absent 1 hrux nxyip Hypoactive 2 hrux pkti Normal 3 hrux makipaetimmiokhlns Hyperactive without clonus 4 hrux makipaelamiokhlns Hyperactive with clonus thngni okhlns khux xakarhdekrngkhxngklamenuxnxkehnuxxanacciticemuxmikaryudtwkhxngklamenuxxyangthnthiduephim aekikhraychuxrieflks phvtikrrmxtonmti Involuntary action Voluntary action phrieflksxangxing aekikh Purves 2004 Neuroscience Third Edition Massachusetts Sinauer Associates Inc Human Benchmark Reaction Time Statistics subkhnemux 2007 10 11 Neurologic Exam University of Florida gt Neurologic Examination Retrieved on May 9 2009ekhathungcak https th wikipedia org w index php title rieflks amp oldid 9179386, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม