fbpx
วิกิพีเดีย

ลักษณะ (ศาสนาพุทธ)

ลักษณะ(ลกฺขณํ) แปลว่า เครื่องทำสัญลักษณ์, เครื่องกำหนด, เครื่องบันทึก, เครื่องทำจุดสังเกต, ตราประทับ เปรียบได้กับภาษาอังกฤษในคำว่า marker

คำว่าลักษณะนี้ ในพระไตรปิฎกและอรรถกถาใช้เรียกทั้งบัญญัติและปรมัตถ์ โดยมีหลักการแบ่งเป็นหลักอยู่ดังนี้ :-

  1. ถ้าเป็นปรมัตถธรรม มีสภาวะอยู่จริง เรียกว่า ปัจจัตตลักษณะ หรือ วิเสสลักษณะ เช่น การรับรู้เป็นลักษณะของจิต เพราะทำให้เราสามารถกำหนดเจาะจงลงไปได้ว่า "นี้เป็นจิต ไม่ใช่ดิน" เป็นต้น. จะสังเกตได้ว่าลักษณะแบบนี้ก็คือตัวสภาวะนั้นๆนั่นเอง เพราะสามารถกำหนดหมายลงไปได้ด้วยตัวเอง เช่น จิตก็คือการรับบรู้-การรับรู้ก็คือจิต เป็นต้น ฉะนั้น ท่านจึงตั้งชื่อว่า ปัจจัตตลักษณะ(ปฏิ+อัตต+ลักขณะ) แปลว่า เอกลักษณ์, เอกลักษณ์เฉพาะตัว, สัญลักษณ์ส่วนตัว, ตราส่วนตัว.
  2. ถ้าไม่ใช่ปรมัตถธรรม ไม่มีสภาวะอยู่จริง เรียกว่า "บัญญัติ" เช่น อนิจจลักษณะเป็นลักษณะของขันธ์ ๕ เพราะทำให้เราสามารถกำหนดเจาะจงลงไปได้ว่า "สิ่งนี้เป็นตัวอนิจจัง(ขันธ์) ไม่ใช่นิพพาน", เช่นเดียวกัน นิจจลักษณะก็เป็นลักษณะของนิพพาน เพราะทำให้เราทราบได้ว่า "สิ่งนี้เป็นนิพพาน ไม่ใช่ขันธ์", คำว่า "จักขุปสาท" เป็นลักษณะของตัวจักขุปสาท เพราะทำให้เราระลึกถึงจักขุปสาทนั้นได้ เป็นต้น. จะสังเกตได้ว่าลักษณะแบบนี้เป็นสิ่งที่ทำให้ทราบถึงตัวสภาวะได้(เช่นคำว่า "จักขุปสาท") หรือไม่ก็สามารถจะทำให้ทราบถึงบัญญัติที่มีความเกี่ยวเนื่องกับสภาวะได้ (เช่น อนิจจลักษณะ) เป็นต้น. อนึ่ง ไตรลักษณ์ ก็จัดเข้าในลักษณะประเภทที่ ๒ นี้ด้วย เพราะท่านระบุไว้ว่าเป็นบัญญัติ.

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. อภิ.ธ.อ.มกุฏ 75/-/620", บาลีอยู่ใน "โลกุตฺตรกุสลวณฺณนา - -34- อฏฺฐสาลินี ธมฺมสงฺคณี-อฏฺฐกถา (พุทฺธโฆส) - อภิ.อฏฺ. 1 ข้อ ๓๕๐"

กษณะ, ศาสนาพ, ทธ, กษณะ, ลก, ขณ, แปลว, เคร, องทำส, ญล, กษณ, เคร, องกำหนด, เคร, องบ, นท, เคร, องทำจ, ดส, งเกต, ตราประท, เปร, ยบได, บภาษาอ, งกฤษในคำว, markerคำว, าล, กษณะน, ในพระไตรป, ฎกและอรรถกถาใช, เร, ยกท, งบ, ญญ, และปรม, ตถ, โดยม, หล, กการแบ, งเป, นหล, กอย, ง. lksna lk khn aeplwa ekhruxngthasylksn ekhruxngkahnd ekhruxngbnthuk ekhruxngthacudsngekt traprathb epriybidkbphasaxngkvsinkhawa markerkhawalksnani inphraitrpidkaelaxrrthkthaicheriykthngbyytiaelaprmtth odymihlkkaraebngepnhlkxyudngni thaepnprmtththrrm misphawaxyucring eriykwa pccttlksna hrux wiesslksna echn karrbruepnlksnakhxngcit ephraathaiherasamarthkahndecaacnglngipidwa niepncit imichdin epntn casngektidwalksnaaebbnikkhuxtwsphawannnnexng ephraasamarthkahndhmaylngipiddwytwexng echn citkkhuxkarrbbru karrbrukkhuxcit epntn chann thancungtngchuxwa pccttlksna pti xtt lkkhna aeplwa exklksn exklksnechphaatw sylksnswntw traswntw thaimichprmtththrrm immisphawaxyucring eriykwa byyti echn xnicclksnaepnlksnakhxngkhnth 5 ephraathaiherasamarthkahndecaacnglngipidwa singniepntwxniccng khnth imichniphphan echnediywkn nicclksnakepnlksnakhxngniphphan ephraathaiherathrabidwa singniepnniphphan imichkhnth khawa ckkhupsath epnlksnakhxngtwckkhupsath ephraathaiheraralukthungckkhupsathnnid epntn casngektidwalksnaaebbniepnsingthithaihthrabthungtwsphawaid echnkhawa ckkhupsath hruximksamarthcathaihthrabthungbyytithimikhwamekiywenuxngkbsphawaid echn xnicclksna epntn xnung itrlksn kcdekhainlksnapraephththi 2 nidwy ephraathanrabuiwwaepnbyyti 1 duephim aekikhbyyti itrlksn lkkhnwntaxangxing aekikh xphi th x mkut 75 620 balixyuin olkut trkuslwn nna 34 xt thsalini thm msng khni xt thktha phuth thokhs xphi xt 1 khx 350 bthkhwamekiywkbsasnaphuththniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phraphuththsasna ekhathungcak https th wikipedia org w index php title lksna sasnaphuthth amp oldid 8577877, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม