fbpx
วิกิพีเดีย

ลิมิตของลำดับ

ในวิชาคณิตศาสตร์ ลิมิตของลำดับเป็นค่าซึ่งพจน์ของลำดับ "โน้มเอียง" (tend to) หากมีลิมิต ลำดับนั้นเรียก ลู่เข้า (convergent) หากลำดับไม่ลู่เข่าจะเรียก ลู่ออก (divergent) มีคำกล่าวว่าลิมิตของลำดับเป็นความคิดมูลฐานซึ่งสุดท้ายเป็นที่ลงเอยของการวิเคราะห์ทั้งหมด

n n sin(1/n)
1 0.841471
2 0.958851
...
10 0.998334
...
100 0.999983

เมื่อจำนวนเต็มบวก มีค่ามากขึ้น ค่า จะเข้าใกล้ กล่าวได้ว่า "ลิมิตของลำดับ เท่ากับ "

สามารถนิยามลิมิตในปริภูมิเมตริกหรือทอพอโลยีใดก็ได้ แต่ปกติพบในจำนวนจริง

จำนวนจริง

 
การลงจุดของลำดับลู่เข้า {an} แสดงในสีน้ำเงิน จะเห็นได้ว่าลำดับลู่เข้าลิมิตเมื่อ n เพิ่ม

ในจำนวนจริง จำนวน   เป็นลิมิตของลำดับ   ถ้าจำนวนในลำดับมีค่าเข้าใกล้   มากขึ้น ๆ และไม่เข้าใกล้จำนวนอื่น

ตัวอย่าง

  • ถ้า   สำหรับค่าคงตัว c แล้ว  
  • ถ้า   แล้ว  
  • ถ้า   เมื่อ   เป็นคู่ และ   เมื่อ   เป็นคี่ แล้ว   (ข้อเท็จจริงว่า   ต่อเมื่อ   เป็นคู่นั้นไม่เกี่ยวข้องกัน)
  • สำหรับจำนวนจริงใด ๆ อาจสามารถสร้างลำดับที่ลู่เข้าจำนวนนั้นได้โดยการใช้การประมาณทศนิยม ตัวอย่างเช่น ลำดับ   ลู่เข้า   หมายเหตุว่า ตัวแทนทศนิยม   เป็นลิมิตของลำดับก่อนหน้า นิยามโดย
 
  • การค้นหาลิมิตของลำดับอาจไม่ชัดเจนเสมอไป สองตัวอย่างได้แก่   (ซึ่งมีลิมิตเป็น จำนวน e) และ มัชฌิมเลขคณิต–เรขาคณิต (arithmetic–geometric mean) ในกรณีนี้ ทฤษฎีบทบีบ (squeeze theorem) มักมีประโยชน์ในการหาลิมิต

ข้อพิสูจน์

  1. Proof: choose  . For every  ,  
  2. Proof: choose   + 1 (the floor function). For every  ,  .

อ้างอิง

  • Courant, Richard (1961). "Differential and Integral Calculus Volume I", Blackie & Son, Ltd., Glasgow.
  • Frank Morley and James Harkness A treatise on the theory of functions (New York: Macmillan, 1893)

ตของลำด, ในว, ชาคณ, ตศาสตร, เป, นค, าซ, งพจน, ของลำด, โน, มเอ, ยง, tend, หากม, ลำด, บน, นเร, ยก, เข, convergent, หากลำด, บไม, เข, าจะเร, ยก, ออก, divergent, คำกล, าวว, าเป, นความค, ดม, ลฐานซ, งส, ดท, ายเป, นท, ลงเอยของการว, เคราะห, งหมดn, 8414712, 958851, 9983. inwichakhnitsastr limitkhxngladbepnkhasungphcnkhxngladb onmexiyng tend to hakmilimit ladbnneriyk luekha convergent hakladbimluekhacaeriyk luxxk divergent mikhaklawwalimitkhxngladbepnkhwamkhidmulthansungsudthayepnthilngexykhxngkarwiekhraahthnghmdn n sin 1 n 1 0 8414712 0 958851 10 0 998334 100 0 999983 emuxcanwnetmbwk n displaystyle n mikhamakkhun kha n sin 1 n displaystyle n cdot sin bigg frac 1 n bigg caekhaikl 1 displaystyle 1 klawidwa limitkhxngladb n sin 1 n displaystyle n cdot sin bigg frac 1 n bigg ethakb 1 displaystyle 1 samarthniyamlimitinpriphumiemtrikhruxthxphxolyiidkid aetpktiphbincanwncring enuxha 1 canwncring 1 1 twxyang 2 khxphisucn 3 xangxingcanwncring aekikh karlngcudkhxngladbluekha an aesdnginsinaengin caehnidwaladbluekhalimitemux n ephim incanwncring canwn L displaystyle L epnlimitkhxngladb x n displaystyle x n thacanwninladbmikhaekhaikl L displaystyle L makkhun aelaimekhaiklcanwnxun twxyang aekikh tha x n c displaystyle x n c sahrbkhakhngtw c aelw x n c displaystyle x n to c proof 1 tha x n 1 n displaystyle x n frac 1 n aelw x n 0 displaystyle x n to 0 proof 2 tha x n 1 n displaystyle x n 1 n emux n displaystyle n epnkhu aela x n 1 n 2 displaystyle x n frac 1 n 2 emux n displaystyle n epnkhi aelw x n 0 displaystyle x n to 0 khxethccringwa x n 1 gt x n displaystyle x n 1 gt x n txemux n displaystyle n epnkhunnimekiywkhxngkn sahrbcanwncringid xacsamarthsrangladbthiluekhacanwnnnidodykarichkarpramanthsniym twxyangechn ladb 0 3 0 33 0 333 0 3333 displaystyle 0 3 0 33 0 333 0 3333 luekha 1 3 displaystyle 1 3 hmayehtuwa twaethnthsniym 0 3333 displaystyle 0 3333 epnlimitkhxngladbkxnhna niyamody0 3333 lim n i 1 n 3 10 i displaystyle 0 3333 triangleq lim n to infty sum i 1 n frac 3 10 i karkhnhalimitkhxngladbxacimchdecnesmxip sxngtwxyangidaek lim n 1 1 n n displaystyle lim n to infty left 1 frac 1 n right n sungmilimitepn canwn e aela mchchimelkhkhnit erkhakhnit arithmetic geometric mean inkrnini thvsdibthbib squeeze theorem mkmipraoychninkarhalimitkhxphisucn aekikh Proof choose N 1 displaystyle N 1 For every n N displaystyle n geq N x n c 0 lt ϵ displaystyle x n c 0 lt epsilon Proof choose N 1 ϵ displaystyle N left lfloor frac 1 epsilon right rfloor 1 the floor function For every n N displaystyle n geq N x n 0 x N 1 1 ϵ 1 lt ϵ displaystyle x n 0 leq x N frac 1 lfloor 1 epsilon rfloor 1 lt epsilon xangxing aekikhCourant Richard 1961 Differential and Integral Calculus Volume I Blackie amp Son Ltd Glasgow Frank Morley and James Harkness A treatise on the theory of functions New York Macmillan 1893 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title limitkhxngladb amp oldid 7376571, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม