fbpx
วิกิพีเดีย

วัดชาวเหนือ

วัดชาวเหนือ เป็นวัดในพระพุทธศาสนา สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านไร่ อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ตั้งมาประมาณ ๖๖ ปี เป็นวัดที่มีความสำคัญในฐานะเป็นศูนย์กลางของชาวพุทธในบริเวณตำบลบ้านไร่

วัดชาวเหนือ
ชื่อสามัญวัดชาวเหนือ
ที่ตั้งตำบลบ้านไร่ อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี
ประเภทวัดราษฎร์
นิกายเถรวาท
เจ้าอาวาสพระครูปลัดศุภชัย ขนฺติโก
กิจกรรมศาสนสถานในพระพุทธศาสนาที่มีกิจกรรมเชิงพุทธตลอดปี
ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา

ประวัติวัดชาวเหนือ

จากคำบอกเล่าของผู้หลักผู้ใหญ่ สืบทอดกันมาว่า สมัยกรุงศรีอยุธยา เกิดศึกสงคราม จะชาวบ้านทุกหัวเมืองได้รวมตัวกัน ทำศึกสงครามเพื่อ ปกป้องบ้านเมือง รวมทั้งชาวบ้านจาก หัวเมืองภาคเหนือด้วย เมื่อสงครามสงบชาวบ้านจากภาคเหนือ ก็เดินทางกลับบ้าน ขณะแวะพักที่ริมหนองน้ำระหว่างทาง ได้สังเกตบริเวณที่พักนั้นเป็นบริเวณที่มีความสมบูรณ์ ทั้งพืชพันธ์ธัญญาหาร จึงได้ตั้ง “ปะลาม” (โรงที่พักชั่วคราวขึ้น) และได้อยู่อาศัยเรื่อยมา โดยเรียกหมู่บ้านนี้ว่า “ปะลาม”มาจนถึงทุกวันนี้ และด้วยความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธ์ธัญญาหาร และน้ำ ทำให้เกิดชุมชนขึ้น เรียกว่า “คลองอ้ายลาว” สันนิษฐานว่าน่าจะมีคนทางภาคอีสานมาอาศัยอยู่ด้วย และที่อยู่อาศัยเป็นลำคลอง จึงเรียกว่า “คลองอ้ายลาว” มาจนถึงทุกวันนี้ จึงได้เกิดเป็นชุมชนขึ้น

สมัยนั้นชุมชนแห่งนี้มีวัดเก่าที่ชาวบ้านเรียกว่า “วัดคุณตา” เพราะว่ามีพระหลวงตา จำพรรษาอยู่เพียงรูปเดียว วัดนี้อยู่ที่ลุ่ม มีน้ำท่วมอยู่บ่อยๆ ชาวบ้านจึงเห็นสมควรจะย้ายวัดไปอยู่อีกฝั่งคลองหนึ่ง ที่ตรงกันข้ามกับวัดคุณตา โดยสร้างวัดขึ้นมาใหม่ แต่วัดที่สร้างขึ้นมาใหม่นั้นยังไม่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ ชาวบ้านจึงเรียกกันติดปากว่า “วัดชาวเหนือ” ด้วยเหตุว่า ชาวบ้านที่ช่วยกันสร้างวัดนี้เป็นชาวภาคเหนือ

หลวงพ่อหวล ขนฺติสาโร ผู้บูรณปฏิสังขรณ์วัดชาวเหนือ บอกว่าแต่เดิม วัดนี้ มีเพียง อุโบสถเก่าหนึ่งหลัง ศาลาการเปรียญหลังเก่า และหอสวดมนต์ ซึ่งไม่พบหลักฐานว่าสร้างตั้งแต่สมัยใด สำหรับอุโบสถหลังใหม่สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๑ และสร้างเสร็จสมบูรณ์และ ปิดทองผูกพัทธสีมา เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๓ พร้อมกับตั้งชื่อใหม่ว่า (วัดอุดรราษฎร์สัทธาราม) (อุดร=เหนือ) เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ชาวเหนือที่ร่วมกันสร้างวัดนี้ขึ้น แต่ชาวบ้านยังคงเรียกว่า “วัดชาวเหนือ” เหมือนเดิม

ทำเนียบเจ้าอาวาสวัดชาวเหนือ

ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้มีเจ้าอาวาส ๑๐ รูป คือ

  • ๑. หลวงปู่ทองพูน
  • ๒. พระอาจารย์เจิม
  • ๓. พระอาจารย์ เป้า
  • ๔. พระอาจารย์เช้า
  • ๕. พระอาจารย์วุ่น
  • ๖. พระอาจารย์คล้อย
  • ๗. พระอาจารย์ทุ่น
  • ๘. พระครูวิชัยศีลคุณ (อาจารย์ครุฑ)
  • ๙. พระครูสุภัทราจารย์ (อาจารย์ทับ ปภทฺโท)
  • ๑๐. พระครูวินัยศุภชัย ขนฺติโก เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

(ส่วน หลวงพ่อหวล ขนฺติสาโร เป็นประธานคณะสงฆ์วัดชาวเหนือ)

ประวัติหลวงพ่อหวล

หลวงพ่อหวล ขนฺติสาโร ประธานคณะสงฆ์วัดชาวเหนือ (อุดรราษฎร์สัทธาราม) ตำบลบ้านไร่ อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี เป็นพระเถราจารย์ ที่เคร่งครัดในพระธรรมวินัย ยิ่งด้วยธุดงค์วัตรรุกขมูล เป็นผู้มีความสงบทั้งภายนอกและภายใน มีการปฏิบัติอย่างสมถะเรียบง่าย เป็นที่รักเคารพ และศรัทธาของพุทธศาสนิกชน และศิษยานุศิษย์ ศึกษาปฏิบัติธรรมกับพระเถระผู้ทรงคุณธรรมที่มีวัตรปฏิบัติเป็นที่น่าเคารพบูชายิ่งหลายรูป และได้ศึกษาวิชาอาคมรวมทั้งการศึกษาสมถะเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน ถวายเป็นพุทธบูชา อันเป็นหัวใจสำคัญของพุทธศาสนา หลวงพ่อหวล ขนฺติสาโร มีนามเดิมว่า หวล นามสกุล ทองปาน ท่านเป็นบุตรของ นายชื่น นางเปรม ทองปาน เกิดเมื่อวันจันทร์ ที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๙ แรม ๒ ค่ำ เดือน ๕ ปีขาล ที่ตำบลบ้านไร่ อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

มีพี่น้อง ทั้งหมด ๔ คน ๑. นางรุม ทองปาน ๒. นายรวม ทองปาน ๓. นายรัด ทองปาน ๔. หลวงพ่อหวล ขนฺติสาโร

ในสมัยวัยเด็กนั้น หลวงพ่อหวล นั้นตัวเล็กกว่าเพื่อน ๆ ชอบซุกซนแบบเด็ก ๆ เป็นเด็กซื่อสัตว์สุจริต พูดน้อย แต่มีความขยันหมั่นเพียรในการงาน และเป็นเด็กที่ชอบในการศึกษาทั้งทางโลกและทางธรรม ในทางโลกศึกษาจบชั้น ป. ๔ (ในขณะนั้น) หลังจากนั้นได้ออกมาช่วยครอบครัว ซึ่งมีอาชีพทำนาหลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน เป็นผู้ที่ประกอบ สัมมาอาชีพในทางสุจริต และตั้งตนอยู่ในศีลในธรรม จนมีความสุขความเจริญเรื่อยมา ต่อมาเมื่อ นายหวล ทองปาน อายุได้ ๒๔ ปี หลังจากเกณฑ์ทหารแล้ว ขอลาจากครอบครัวเพื่ออุปสมบท เนื่องจากมีความศรัทธาในพระพุทธศาสนา และเพื่อตอบแทนบุญคุณของบิดา มารดา ได้อุปสมบทที่วัดชาวเหนือ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๓ ตำบลบ้านไร่ อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี โดยมี พระครูโพธิสาทร (หลวงพ่อเฟื้อ) วัดบางลาน อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เป็นพระอุปัชฌาย์ หลวงพ่อสนาม วัดชาวเหนือ เป็น พระกรรมวาจาจารย์ หลวงพ่อปี วัดท่ามะขาม ตำบลดอนทราย อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า “ขนฺติสาโร”

เมื่ออุปสมบทแล้วได้จำพรรษา อยู่ที่วัดชาวเหนือ ๒ พรรษา สอบได้ นักธรรมโท พอถึงพรรษาที่ ๓ ได้ย้ายไปจำพรรษาที่ วัดอรุณรัตนคีรีราม ตำบลห้วยไผ่ อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ในขณะที่จำพรรษา ที่วัดอรุณรัตนคีรีราม ได้ร่วมสร้างหอฉันและเสนาสนะต่าง ๆ ต่อมาในพรรษาที่ ๔ หลวงพ่อก็เริ่มบำเพ็ญสมณะธรรม อยู่ที่ ถ้ำเขาพริก ตำบลห้วยไผ่ อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ซึ่งอยู่ในละแวกเดียวกันกับ วัดอรุณรัตนคีรีราม โดยท่านใช้เวลาเกือบทั้งคืนทั้งวัน ในการเจริญภาวนา และนั่งสมาธิปฏิบัติจิต จนวางรากฐานของจิต จนพอในขณะจิตเกิดความสงบเยือกเย็นพอที่จะปฏิบัติกัมมัฏฐาน ก้าวขึ้นสู่การบำเพ็ญสมณะธรรมขั้นสูงยิ่ง ๆ ขึ้นไปอีก

เนื่องจากความที่ท่านเป็นผู้ชอบแสวงหา และเป็นผู้ใฝ่ในความรู้จึงเกิดความคิดที่จะออกแสวงหาพระอาจารย์ ผู้ที่จะประสิทธิ์ประสาทความรู้ต่อไปอีก ในพรรษาที่ ๕ จึงได้ออกเดินทางธุดงค์ ไปตามสถานที่ต่าง ๆ จึงเดินทางไปหาหลวงพ่อแก้ว วัดหัวนา จังหวัดเพชรบุรี ได้ขอฝากตัวเป็นศิษย์ เพื่อขอเรียนธรรมปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน และวิชาอาคมต่าง ๆ และหลวงพ่อแก้ว มีจิตเมตตา สั่งสอนวิชาอาคมต่าง ๆ และยังได้แนะนำให้ฝากตัวเป็นศิษย์กับ หลวงปู่บุดดา ถาวโร วัดกลางชูศรีเจริญสุข จังหวัดสิงห์บุรี ซึ่งในขณะนั้นหลวงปู่บุดดา ได้ปฏิบัติเจริญสมณะธรรม อยู่ที่วัดบุญทวี ถ้ำแกลบ ตำบลธงชัย อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี และได้จำพรรษาอยู่ที่วัดบุญทวี ถ้ำแกลบ หลังจากการปฏิบัติธรรมวิปัสสนากัมมัฏฐาน กับหลวงปู่บุดดา แล้วได้ออกเดินทางธุดงค์ ไปตามสถานที่ต่างๆ และได้เข้าไปนมัสการ ขอฝากตัวเป็นศิษย์ หลวงพ่อสงฆ์ วัดแก้วฟ้าศาลาลอย จังหวัดชุมพร ในขณะที่หลวงพ่อสงฆ์ เดินธุดงค์มาปฏิบัติธรรมที่เขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งหลวงพ่อสงฆ์นั้น เป็นพระเกจิชื่อดังของภาคใต้รูปหนึ่ง ซึ่งมีวิชาอาคมสูง จากนั้นหลวงพ่อหวล ก็ได้ออกธุดงค์ไปสถานที่สำคัญต่าง ๆ ของพระพุทธศาสนา ไม่ว่าจะเป็นประเทศไทย หรือ พม่า ลาว จนถึง พ.ศ. ๒๕๐๔ จึงได้เดินทางกลับมาที่วัดชาวเหนือบ้านเกิดอีกครั้ง พร้อมกับได้ทำการก่อสร้างปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุ และพัฒนาวัดเรื่อยมา ตลอดเวลาที่หลวงพ่อท่านจำพรรษาอยู่ที่วัดชาวเหนือนั้นได้มีโอกาสเล่าเรียนวิชาอาคมเพิ่มเติมจาก หลวงพ่อสาย เกจิอาจารย์ชื่อดัง วัดหนองสองห้อง อำเภอบ้านแพร้ว จังหวัดสมุทรสาคร และได้นำวิชาความรู้ต่างๆ ที่สมารถนำมาช่วยเหลือ พุทธศาสนิกชนทุกคนทุกท่านตลอดมา

ปัจจุบัน หลวงพ่อหวล ขนฺติสาโร แห่งวัดชาวเหนือ ตำบลบ้านไร่ อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี อายุ ๘๔ ปี แม้ว่าหลวงพ่ออายุจะมากแล้วแต่ภารกิจของ หลวงพ่อนั้นปฏิบัติได้ด้วยดีเสมอมา ท่านสร้างความเลื่อมใสศรัทธาแก่พุทธศาสนิกชนทั่วไปที่ได้พบเห็น เป็นผู้พร้อมด้วยจริยาวัตร อันงดงาม ผู้ที่มาเคารพสักการะขอพรจากหลวงพ่อก็ประสบกับความสำเร็จเรื่อยมา จตุปัจจัยไทยธรรมที่สาธุชนได้มีจิตศรัทธาบริจาคมานั้น ท่านไม่เคยสะสม มีผู้บริจาคมาเท่าไร ท่านก็ได้นำไปบริจาคสร้าง ถาวรวัตถุ สร้างความเจริญให้แก่วัดชาวเหนือ ด้านสาธารณูปการ ด้านสาธารณะสงเคราะห์ โดยเฉพาะด้านศึกษาสงเคราะห์ และเผยแผ่พระธรรมวินัยได้ครบถ้วน สมกับเป็นพระสุปฏิปันโน และเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาอย่างแท้จริง (ข้อมูลเพิ่มเติมที่ ประวัติหลวงพ่อหวล. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.xn--b3ctq7ccyp0al7cvf.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%A5/[ลิงก์เสีย], [๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๗].

ศาสนาสถานในวัด

  • อุโบสถวัดชาวเหนือ (หลังเดิม)

แต่เดิมอุโบสถมีรูปลักษณะใดไม่มีหลักฐาน ในสมัยพระอาจารย์คล้อย ได้ร่วมกับชาวบ้านสร้างอุโบสถหลังใหม่ขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๘๙ และสร้างแล้วเสร็จและปิดทอง ผูกพัทธสีมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๓ โดยมี หลวงพ่อเชย วัดตาลบำรุงกิจเป็นประธาน

ลักษณะของอุโบสถเป็นอาคารทรงไทย ก่ออิฐถือปูน หลังคาเครื่องไม้ มุงกระเบื้องลดขึ้น ๒ ชั้น ซ้อนกันชั้นละสองตับ และมีมุขลดทั้งด้านหน้าและด้านหลังด้านละหนึ่งห้อง โดยมีเสาสี่เหลี่ยมสี่ต้น รองรับโครงหลังคาทั้งด้านหน้าและด้านหลัง ด้านข้างมีชายคาปีกนกคลุม มีเสาธงเรียงสี่เหลี่ยมรองรับด้านหน้าด้านละแปดต้น ช่อฟ้า ใบระกา ปูนปั้น ประดับกระเบื้องเคลือบ หน้าบันไดด้านหน้าเป็นปูนปั้น พุทธประวัติตอนบรรพชาทรงอธิษฐานตัดพระโมลี และลายไทยปูนปั้น หน้าบันไดด้านหลังเป็นรูปพุทธประวัติตอนเสด็จออกบรรพชา และลายนาคขด ฐานอุโบสถยกพื้นเป็นสองชั้น ชั้นแรกเป็นแนวเดียวกับกำแพงแก้ว ชั้นที่สองรองรับเสาธงเรียงรับชายคาตั้งซุ้มใบเสมาเป็นก่ออิฐถือปูน ย่อมุงสองซุ้ม และซุ้มใบเสมาเป็นการก่ออิฐถือปูน ทรงโค้งหกซุ้ม ผนังด้านหน้าและด้านหลังก่ออิฐถือปูนมีประตูด้านละสองประตู ด้านหนึ่งมีพระพุทธรูปปางห้ามญาติ อยู่ในซุ้มปิดกระจกสี ด้านหลังมีพระพุทธรูปปางรำพึงอยูในซุ้มประดับกระจกสี(ศาลาแลง) ก่อนเข้าอุโบสถมีบันใดขึ้นอีกสามขั้น บานประตูหน้าต่างเป็นไม้แดงพื้นเรียบทาน้ำมัน ผนังภายในอุโบสถเขียนรูปพุทธประวัติตอนสำคัญตั้งแต่ปรินิพพาน และทศชาติและเทพทวารชายหญิง หน้าต่างห้าบานภายในอุโบสถประดิษฐานพระประธาน สำเร็จจากศิลาแลงประทับนั่งปางมารวิชัย และมีพระพุทธรูปประทับนั่งในปางต่างๆ อีก สิบองค์ ด้านซ้ายขวามีพระอัครสาวกยืนพนมมือฐานพระประธานประดับกระจกสีต่างๆ มาถึงทุกวันนี้ อุโบสถหลังนี้มีความเก่าถึง๖๔ ปี บางส่วนได้บูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่พุทธศาสนิกชนผู้มีจิตศรัทธาร่วมทำบุญได้โดยบริจาคผ่าน (ข้อมูลเพิ่มเติ่มที่ ประวัติวัดชาวเหนือ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.xn--b3ctq7ccyp0al7cvf.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B8%AD/[ลิงก์เสีย], [๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๗].

  • ศาลาหลวงพ่อหวล

เป็นศาลาที่มียอดเป็นพระปราง ๕ ยอด อยู่บนหลังคาของศาลา เป็นศาลาไม้ด้านบน เป็นคอนกรีตด้านล่าง เป็นศาลาที่ใหญ่ประชาชนทั่วผ่านไปมาก็จะมองเห็นได้ชัดเจนได้จากระยะไกล

  • กุฎิสงฆ์
  • ศาลาการเปรียญ
  • ศาลาอเนกประสงค์
  • ศาลาบำเพ็ญกุศล จำนวน ๑ หลัง
  • หอพระปริยัติธรรม จำนวน ๑ หลัง
  • โรงครัว
  • ห้องน้ำ-ห้องสุขา
  • กำแพงวัดบริเวณรอบทั้งวัด
  • ซุ้มทางเข้าวัด จำนวน ๒ ซุ้ม
  • หอระฆัง (ข้อมูลเพิ่มเติม จากพระครูวินัยธรศุภชัย ขนฺติโก เจ้าอาวาสวัดชาวเหนือรูปปัจจุบัน)

กิจกรรมในวัดชาวเหนือ

กิจกรรมที่โดดเด่นของวัดชาวเหนือนั้น กิจกรรมหลัก ๆ มีดังนี้

  • กิจกรรมทำบุญตักบาตรปีใหม่ประจำทุกปี
  • กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา เป็นต้น
  • กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ วัน ๑๒ สิงหามหาราชินี และวัน ๕ ธันวามหาราช ประจำทุกปี
  • บวชเนกขัมมะ ประจำปี
  • ทำบุญตักบาตร รักษาศีล ประจำวันพระ ๘ ๑๔ และ ๑๕ ค่ำ ตลอดทั้งปี
  • เทศกาลวันลอยกระทง

ดชาวเหน, บทความน, อาจต, องเข, ยนใหม, งหมดเพ, อให, เป, นไปตามมาตรฐานค, ณภาพของว, เด, หร, อกำล, งดำเน, นการอย, ณช, วยเราได, หน, าอภ, ปรายอาจม, อเสนอแนะ, เป, นว, ดในพระพ, ทธศาสนา, งก, ดมหาน, กาย, งอย, ตำบลบ, านไร, อำเภอดำเน, นสะดวก, งหว, ดราชบ, งมาประมาณ, ๖๖, เป,. bthkhwamnixactxngekhiynihmthnghmdephuxihepniptammatrthankhunphaphkhxngwikiphiediy hruxkalngdaeninkarxyu khunchwyeraid hnaxphiprayxacmikhxesnxaenawdchawehnux epnwdinphraphuththsasna sngkdmhanikay tngxyuthitablbanir xaephxdaeninsadwk cnghwdrachburi tngmapraman 66 pi epnwdthimikhwamsakhyinthanaepnsunyklangkhxngchawphuththinbriewntablbanirwdchawehnuxchuxsamywdchawehnuxthitngtablbanir xaephxdaeninsadwk cnghwdrachburipraephthwdrasdrnikayethrwathecaxawasphrakhrupldsuphchy khn tiokkickrrmsasnsthaninphraphuththsasnathimikickrrmechingphuththtlxdpiswnhnungkhxngsaranukrmphraphuththsasna enuxha 1 prawtiwdchawehnux 2 thaeniybecaxawaswdchawehnux 3 prawtihlwngphxhwl 4 sasnasthaninwd 5 kickrrminwdchawehnuxprawtiwdchawehnux aekikhcakkhabxkelakhxngphuhlkphuihy subthxdknmawa smykrungsrixyuthya ekidsuksngkhram cachawbanthukhwemuxngidrwmtwkn thasuksngkhramephux pkpxngbanemuxng rwmthngchawbancak hwemuxngphakhehnuxdwy emuxsngkhramsngbchawbancakphakhehnux kedinthangklbban khnaaewaphkthirimhnxngnarahwangthang idsngektbriewnthiphknnepnbriewnthimikhwamsmburn thngphuchphnththyyahar cungidtng palam orngthiphkchwkhrawkhun aelaidxyuxasyeruxyma odyeriykhmubanniwa palam macnthungthukwnni aeladwykhwamxudmsmburnkhxngphuchphnththyyahar aelana thaihekidchumchnkhun eriykwa khlxngxaylaw snnisthanwanacamikhnthangphakhxisanmaxasyxyudwy aelathixyuxasyepnlakhlxng cungeriykwa khlxngxaylaw macnthungthukwnni cungidekidepnchumchnkhunsmynnchumchnaehngnimiwdekathichawbaneriykwa wdkhunta ephraawamiphrahlwngta caphrrsaxyuephiyngrupediyw wdnixyuthilum minathwmxyubxy chawbancungehnsmkhwrcayaywdipxyuxikfngkhlxnghnung thitrngknkhamkbwdkhunta odysrangwdkhunmaihm aetwdthisrangkhunmaihmnnyngimmichuxeriykxyangepnthangkar chawbancungeriykkntidpakwa wdchawehnux dwyehtuwa chawbanthichwyknsrangwdniepnchawphakhehnuxhlwngphxhwl khn tisaor phuburnptisngkhrnwdchawehnux bxkwaaetedim wdni miephiyng xuobsthekahnunghlng salakarepriyyhlngeka aelahxswdmnt sungimphbhlkthanwasrangtngaetsmyid sahrbxuobsthhlngihmsrangemux ph s 2491 aelasrangesrcsmburnaela pidthxngphukphththsima emuxpi ph s 2493 phrxmkbtngchuxihmwa wdxudrrasdrsththaram xudr ehnux ephuxepnxnusrnaekchawehnuxthirwmknsrangwdnikhun aetchawbanyngkhngeriykwa wdchawehnux ehmuxnedimthaeniybecaxawaswdchawehnux aekikhtngaetxditcnthungpccubnnimiecaxawas 10 rup khux 1 hlwngputhxngphun 2 phraxacaryecim 3 phraxacary epa 4 phraxacaryecha 5 phraxacarywun 6 phraxacarykhlxy 7 phraxacarythun 8 phrakhruwichysilkhun xacarykhruth 9 phrakhrusuphthracary xacarythb pphth oth 10 phrakhruwinysuphchy khn tiok epnecaxawasruppccubn swn hlwngphxhwl khn tisaor epnprathankhnasngkhwdchawehnux prawtihlwngphxhwl aekikhhlwngphxhwl khn tisaor prathankhnasngkhwdchawehnux xudrrasdrsththaram tablbanir xaephxdaeninsadwk cnghwdrachburi epnphraethracary thiekhrngkhrdinphrathrrmwiny yingdwythudngkhwtrrukkhmul epnphumikhwamsngbthngphaynxkaelaphayin mikarptibtixyangsmthaeriybngay epnthirkekharph aelasrththakhxngphuththsasnikchn aelasisyanusisy suksaptibtithrrmkbphraethraphuthrngkhunthrrmthimiwtrptibtiepnthinaekharphbuchayinghlayrup aelaidsuksawichaxakhmrwmthngkarsuksasmthaecriywipssnakmmtthan thwayepnphuththbucha xnepnhwicsakhykhxngphuththsasna hlwngphxhwl khn tisaor minamedimwa hwl namskul thxngpan thanepnbutrkhxng naychun nangeprm thxngpan ekidemuxwncnthr thi 9 emsayn ph s 2469 aerm 2 kha eduxn 5 pikhal thitablbanir xaephxdaeninsadwk cnghwdrachburimiphinxng thnghmd 4 khn 1 nangrum thxngpan 2 nayrwm thxngpan 3 nayrd thxngpan 4 hlwngphxhwl khn tisaorinsmywyedknn hlwngphxhwl nntwelkkwaephuxn chxbsuksnaebbedk epnedksuxstwsucrit phudnxy aetmikhwamkhynhmnephiyrinkarngan aelaepnedkthichxbinkarsuksathngthangolkaelathangthrrm inthangolksuksacbchn p 4 inkhnann hlngcaknnidxxkmachwykhrxbkhrw sungmixachiphthanahlngsufahnasudin epnphuthiprakxb smmaxachiphinthangsucrit aelatngtnxyuinsilinthrrm cnmikhwamsukhkhwamecriyeruxyma txmaemux nayhwl thxngpan xayuid 24 pi hlngcakeknththharaelw khxlacakkhrxbkhrwephuxxupsmbth enuxngcakmikhwamsrththainphraphuththsasna aelaephuxtxbaethnbuykhunkhxngbida marda idxupsmbththiwdchawehnux emux ph s 2493 tablbanir xaephxdaeninsadwk cnghwdrachburi odymi phrakhruophthisathr hlwngphxefux wdbanglan xaephxophtharam cnghwdrachburi epnphraxupchchay hlwngphxsnam wdchawehnux epn phrakrrmwacacary hlwngphxpi wdthamakham tabldxnthray xaephxophtharam cnghwdrachburi epnphraxnusawnacary idrbchayawa khn tisaor emuxxupsmbthaelwidcaphrrsa xyuthiwdchawehnux 2 phrrsa sxbid nkthrrmoth phxthungphrrsathi 3 idyayipcaphrrsathi wdxrunrtnkhiriram tablhwyiph xaephxemuxng cnghwdrachburi inkhnathicaphrrsa thiwdxrunrtnkhiriram idrwmsranghxchnaelaesnasnatang txmainphrrsathi 4 hlwngphxkerimbaephysmnathrrm xyuthi thaekhaphrik tablhwyiph xaephxemuxng cnghwdrachburi sungxyuinlaaewkediywknkb wdxrunrtnkhiriram odythanichewlaekuxbthngkhunthngwn inkarecriyphawna aelanngsmathiptibticit cnwangrakthankhxngcit cnphxinkhnacitekidkhwamsngbeyuxkeynphxthicaptibtikmmtthan kawkhunsukarbaephysmnathrrmkhnsungying khunipxikenuxngcakkhwamthithanepnphuchxbaeswngha aelaepnphuifinkhwamrucungekidkhwamkhidthicaxxkaeswnghaphraxacary phuthicaprasiththiprasathkhwamrutxipxik inphrrsathi 5 cungidxxkedinthangthudngkh iptamsthanthitang cungedinthangiphahlwngphxaekw wdhwna cnghwdephchrburi idkhxfaktwepnsisy ephuxkhxeriynthrrmptibtiwipssnakmmtthan aelawichaxakhmtang aelahlwngphxaekw micitemtta sngsxnwichaxakhmtang aelayngidaenanaihfaktwepnsisykb hlwngpubudda thawor wdklangchusriecriysukh cnghwdsinghburi sunginkhnannhlwngpubudda idptibtiecriysmnathrrm xyuthiwdbuythwi thaaeklb tablthngchy xaephxemuxng cnghwdephchrburi aelaidcaphrrsaxyuthiwdbuythwi thaaeklb hlngcakkarptibtithrrmwipssnakmmtthan kbhlwngpubudda aelwidxxkedinthangthudngkh iptamsthanthitang aelaidekhaipnmskar khxfaktwepnsisy hlwngphxsngkh wdaekwfasalalxy cnghwdchumphr inkhnathihlwngphxsngkh edinthudngkhmaptibtithrrmthiekhayxy cnghwdephchrburi sunghlwngphxsngkhnn epnphraekcichuxdngkhxngphakhitruphnung sungmiwichaxakhmsung caknnhlwngphxhwl kidxxkthudngkhipsthanthisakhytang khxngphraphuththsasna imwacaepnpraethsithy hrux phma law cnthung ph s 2504 cungidedinthangklbmathiwdchawehnuxbanekidxikkhrng phrxmkbidthakarkxsrangptisngkhrnthawrwtthu aelaphthnawderuxyma tlxdewlathihlwngphxthancaphrrsaxyuthiwdchawehnuxnnidmioxkaselaeriynwichaxakhmephimetimcak hlwngphxsay ekcixacarychuxdng wdhnxngsxnghxng xaephxbanaephrw cnghwdsmuthrsakhr aelaidnawichakhwamrutang thismarthnamachwyehlux phuththsasnikchnthukkhnthukthantlxdmapccubn hlwngphxhwl khn tisaor aehngwdchawehnux tablbanir xaephxdaeninsadwk cnghwdrachburi xayu 84 pi aemwahlwngphxxayucamakaelwaetpharkickhxng hlwngphxnnptibtiiddwydiesmxma thansrangkhwameluxmissrththaaekphuththsasnikchnthwipthiidphbehn epnphuphrxmdwycriyawtr xnngdngam phuthimaekharphskkarakhxphrcakhlwngphxkprasbkbkhwamsaerceruxyma ctupccyithythrrmthisathuchnidmicitsrththabricakhmann thanimekhysasm miphubricakhmaethair thankidnaipbricakhsrang thawrwtthu srangkhwamecriyihaekwdchawehnux dansatharnupkar dansatharnasngekhraah odyechphaadansuksasngekhraah aelaephyaephphrathrrmwinyidkhrbthwn smkbepnphrasuptipnon aelaepnthieluxmissrththaxyangaethcring khxmulephimetimthi prawtihlwngphxhwl xxniln aehlngthima http www xn b3ctq7ccyp0al7cvf com E0 B8 9B E0 B8 A3 E0 B8 B0 E0 B8 A7 E0 B8 B1 E0 B8 95 E0 B8 B4 E0 B8 AB E0 B8 A5 E0 B8 A7 E0 B8 87 E0 B8 9E E0 B9 88 E0 B8 AD E0 B8 AB E0 B8 A7 E0 B8 A5 lingkesiy 30 tulakhm 2557 sasnasthaninwd aekikhxuobsthwdchawehnux hlngedim aetedimxuobsthmiruplksnaidimmihlkthan insmyphraxacarykhlxy idrwmkbchawbansrangxuobsthhlngihmkhuninpi ph s 2489 aelasrangaelwesrcaelapidthxng phukphththsimaemuxpi ph s 2493 odymi hlwngphxechy wdtalbarungkicepnprathanlksnakhxngxuobsthepnxakharthrngithy kxxiththuxpun hlngkhaekhruxngim mungkraebuxngldkhun 2 chn sxnknchnlasxngtb aelamimukhldthngdanhnaaeladanhlngdanlahnunghxng odymiesasiehliymsitn rxngrbokhrnghlngkhathngdanhnaaeladanhlng dankhangmichaykhapiknkkhlum miesathngeriyngsiehliymrxngrbdanhnadanlaaepdtn chxfa ibraka punpn pradbkraebuxngekhluxb hnabniddanhnaepnpunpn phuththprawtitxnbrrphchathrngxthisthantdphraomli aelalayithypunpn hnabniddanhlngepnrupphuththprawtitxnesdcxxkbrrphcha aelalaynakhkhd thanxuobsthykphunepnsxngchn chnaerkepnaenwediywkbkaaephngaekw chnthisxngrxngrbesathngeriyngrbchaykhatngsumibesmaepnkxxiththuxpun yxmungsxngsum aelasumibesmaepnkarkxxiththuxpun thrngokhnghksum phnngdanhnaaeladanhlngkxxiththuxpunmipratudanlasxngpratu danhnungmiphraphuththruppanghamyati xyuinsumpidkracksi danhlngmiphraphuththruppangraphungxyuinsumpradbkracksi salaaelng kxnekhaxuobsthmibnidkhunxiksamkhn banpratuhnatangepnimaedngphuneriybthanamn phnngphayinxuobsthekhiynrupphuththprawtitxnsakhytngaetpriniphphan aelathschatiaelaethphthwarchayhying hnatanghabanphayinxuobsthpradisthanphraprathan saerccaksilaaelngprathbnngpangmarwichy aelamiphraphuththrupprathbnnginpangtang xik sibxngkh dansaykhwamiphraxkhrsawkyunphnmmuxthanphraprathanpradbkracksitang mathungthukwnni xuobsthhlngnimikhwamekathung64 pi bangswnidburnptisngkhrnkhunihmphuththsasnikchnphumicitsrththarwmthabuyidodybricakhphan khxmulephimetimthi prawtiwdchawehnux xxniln aehlngthima http www xn b3ctq7ccyp0al7cvf com E0 B8 9B E0 B8 A3 E0 B8 B0 E0 B8 A7 E0 B8 B1 E0 B8 95 E0 B8 B4 E0 B8 A7 E0 B8 B1 E0 B8 94 E0 B8 8A E0 B8 B2 E0 B8 A7 E0 B9 80 E0 B8 AB E0 B8 99 E0 B8 B7 E0 B8 AD lingkesiy 30 tulakhm 2557 salahlwngphxhwlepnsalathimiyxdepnphraprang 5 yxd xyubnhlngkhakhxngsala epnsalaimdanbn epnkhxnkritdanlang epnsalathiihyprachachnthwphanipmakcamxngehnidchdecnidcakrayaikl kudisngkh salakarepriyy salaxenkprasngkh salabaephykusl canwn 1 hlng hxphrapriytithrrm canwn 1 hlng orngkhrw hxngna hxngsukha kaaephngwdbriewnrxbthngwd sumthangekhawd canwn 2 sum hxrakhng khxmulephimetim cakphrakhruwinythrsuphchy khn tiok ecaxawaswdchawehnuxruppccubn kickrrminwdchawehnux aekikhkickrrmthioddednkhxngwdchawehnuxnn kickrrmhlk midngni kickrrmthabuytkbatrpiihmpracathukpi kickrrmwnsakhythangphraphuththsasna echn wnwisakhbucha wnmakhbucha wnxasalhbucha wnekhaphrrsa wnxxkphrrsa epntn kickrrmechlimphraekiyrti wn 12 singhamharachini aelawn 5 thnwamharach pracathukpi bwchenkkhmma pracapi thabuytkbatr rksasil pracawnphra 8 14 aela 15 kha tlxdthngpi ethskalwnlxykrathngekhathungcak https th wikipedia org w index php title wdchawehnux amp oldid 9663353, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม