fbpx
วิกิพีเดีย

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ หรือวัดเมือง เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำบางปะกงฝั่งตะวันตก เลขที่ ๑๕๖ ถนนมรุพงษ์ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา สร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์
ชื่อสามัญวัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์, วัดเมือง
ที่ตั้งตำบลสองคลอง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ประเภทพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ
นิกายมหานิกาย
ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา

ประวัติ

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์สร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ โดยโปรดให้ เจ้าพระยายมราช เจ้าพระยามหาโยธา หาที่จะสร้างเมืองฉะเชิงเทราใหม่ และโปรดให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไกรสร กรมหลวงรักษ์รณเรศ (หม่อมไกรสร) ซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๓๓ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ เป็นแม่กองทำการสร้างกำแพงเมืองฉะเชิงเทรา และพระองค์ได้สร้างวัดหนึ่งด้วย ดังในพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แสดงไว้ว่า

"...แล้วโปรดให้กรมหลวงรักษรณเรศออกไปสร้างป้อมกำแพงที่เมืองฉเชิงเทราอีกตำบล ๑ โปรดให้สร้างวัดไว้ในกลางเมือง ซึ่งพระราชทานนามในบัดนี้ว่า วัดปิตุลาธิราชรังสฤษดิ..."

เดิมทีวัดเมืองตั้งอยู่ตรงอยู่ที่กลางเมืองฉะเชิงเทรา แต่ เมื่อเกิดกบฏอั้งยี่ขึ้นในปี พ.ศ. ๒๓๙๑ ทำให้วัดเมืองถูกเผาทำลาย ภายหลังการกบฏแล้ว ราวปี พ.ศ. ๒๔๒๗ พระยาวิเศษฤๅไชย(ช้าง) ได้ทำการย้ายวัดออกมาสร้างใหม่ในสถานที่ตั้งปัจจุบัน (จึงเป็นหลักฐานที่สำคัญว่าแท่นประหารอั้งยี่ที่วัดนี้ไม่ใช่เรื่องจริง) ปรากฏหลักฐานในบันทึกของ เซอร์ เออร์เนสต์ เมสัน ซาโตว (Sir Ernest Mason Satow) อัครราชทูตอังกฤษ ประจำกรุงสยาม เมื่อคราวตรวจพื้นที่ เมืองต่างๆในแม่น้ำบางปะกง ว่า

"...เจ้าเมืองปล่อยเรื่องหยุมหยิมในการบริหารปกครองอยู่ในอำนาจของน้องชาย ผู้ซึ่งเป็นปลัดและอายุได้ ๗๕ ปีแล้ว ท่านสนใจแต่เพียงการเตรียมตนสำหรับโลกหน้าโดยการสร้างวัดแห่งหนึ่ง..."

เมื่อสร้างวัดเสร็จแล้ว ในระยะแรกยังเรียกชื่อวัดว่า วัดท้ายเมือง เนื่องจากสร้างในพื้นที่ท้ายเมืองฉะเชิงเทรา และได้รับพระราชทานนามวัดใหม่ จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า “วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฏ์” อันเป็นการเฉลิมพระเกียรติให้พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ในวาระฉลองพระชนมายุครบรอบ ๑๐๐ พรรษา ในปีพ.ศ. ๒๔๓๐ และวัดนี้ได้ใช้เป็นที่พระราชทานเพลิงศพพระยาวิเศษฤๅไชย(ช้าง) เจ้าเมืองฉะเชิงเทราในปีเดียวกันนั้นเอง ในเวลานั้นวัดน่าจะมีแค่ พระอุโบสถเพียงอย่างเดียว ส่วนพระวิหารน่าจะสร้างขึ้นในสมัยหลัง ซึ่งอาจจะเป็นไปได้ว่าการที่ต้องสร้างพระวิหารขึ้นมานั้นอาจจะใช้เป็นที่จัดพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาแทนการใช้ที่อุโบสถวัดโสธรวรารามวรวิหาร

พุทธาวาสของวัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ มีพระอุโบสถและพระวิหารล้อมรอบด้วยกำแพงแก้ว ประกอบด้วยพระปรางค์หลายองค์ที่บริเวณมุมของกำแพงแก้วปัจจุบันได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์จนอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ มีชื่ออยู่ในทะเบียนวัดของสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ และมีสภาพเป็นวัดตามมาตรา ๓๑ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมแห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ว่า ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๕ และได้รับวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๕ ซึ่งมีเจ้าคณะปกครองฝ่ายสงฆ์ได้ปกครองดูแลตลอดมาจนถึงปัจจุบัน

ต่อมาวัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้ยกเป็นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๑ เนื่องใน โอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙ วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ นับแต่ วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ เป็นพระอารามหลวง

ทำเนียบเจ้าอาวาส

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ เดิมเป็นวัดราษฎร์ ตั้งแต่สร้างวัดมาตามหลักฐาน ที่ปรากฏ มีพระภิกษุผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสที่พอสืบค้นได้ ดังนี้

  • พระอธิการแก้ว
  • พระครูธรรมภาณีวรคุณ (ช่วย แย้มจินดา) พ.ศ. ๒๔๕๔ - ๒๔๘๕
  • พระครูอุดมสมณคุณ (เติม ทองเสริม) พ.ศ. ๒๔๘๕ - ๒๕๑๔
  • พระครูจินดาภิรมย์ (ชด แย้มจินดา) พ.ศ. ๒๕๑๔ - ๒๕๒๔
  • พระครูไพโรจน์ธรรมาภิวัฒน์ (สง่า ธมฺมโสภโณ) พ.ศ. ๒๕๒๔ - ๒๕๔๕
  • พระสมุห์พงษ์พันธ์ วีรธมฺโม (ปัจจุบัน พระครูวีรศรัทธาธรรม เจ้าอาวาสวัดสุนีย์ศรัทธาธรรม)รักษาการเจ้าอาวาส วันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๔๕ ถึงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖
  • พระเทพปัญญาเมธี (ประยนต์ อจฺจาทโร ป.ธ.๙) พ.ศ. ๒๕๔๗ (๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗ ) ถึง พ.ศ. ๒๕๕๒
  • พระธรรมปริยัติมุนี (ประยนต์ อจฺจาทโร ป.ธ. ๙) พ.ศ. ๒๕๕๒ (๔ มีนาคม ๒๕๕๒) - ปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๖๑)

ด้านการศาสนศึกษา

มีโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา อยู่ในความผิดชอบของ กองพุทธศาสนศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ดำเนินการจัดการศึกษาทางวิชาการพระพุทธศาสนา แผนกนักธรรม-ภาษาบาลี และหลักสูตรการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในระดับมัธยมศึกษา (ม.๑-ม.๖)

การศึกษา แผนกธรรม นักธรรม (ตรี-โท-เอก), ธรรมศึกษา (ตรี-โท-เอก)

การศึกษาแผนกบาลี เปรียญธรรม  ๑-๒ ถึง ๙

การศึกษาแผนกสามัญ  ในระดับมัธยมศึกษา (ม.๑-ม.๖)

อ้างอิง

  1. https://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3_%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_%E0%B9%93%E0%B9%93
  2. หนังสือ ๑๐๐ เอกสารสำคัญ: สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย เล่มที่ ๑๕ เอกสารลำดับที่ ๖๗ หน้า๑๗๔-๑๗๕ เอกสารบันทึกประจำวันฯ เพชรรุ่ง เทียนปิ๋วโรจน์
  3. ข้อนำเสนอใหม่หลักฐานว่าด้วยที่ตั้งเดิมของวัดเมือง

ดป, ลาธ, ราชร, งสฤษฎ, หร, อว, ดเม, อง, เป, นพระอารามหลวงช, นตร, ชน, ดสาม, งอย, มแม, ำบางปะกงฝ, งตะว, นตก, เลขท, ๑๕๖, ถนนมร, พงษ, ตำบลหน, าเม, อง, อำเภอเม, องฉะเช, งเทรา, งหว, ดฉะเช, งเทรา, สร, างในสม, ยพระบาทสมเด, จพระน, งเกล, าเจ, าอย, วช, อสาม, ดเม, องท, งตำ. wdpitulathirachrngsvsdi hruxwdemuxng epnphraxaramhlwngchntri chnidsamy tngxyurimaemnabangpakngfngtawntk elkhthi 156 thnnmruphngs tablhnaemuxng xaephxemuxngchaechingethra cnghwdchaechingethra sranginsmyphrabathsmedcphranngeklaecaxyuhwwdpitulathirachrngsvsdichuxsamywdpitulathirachrngsvsdi wdemuxngthitngtablsxngkhlxng xaephxbangpakng cnghwdchaechingethrapraephthphraxaramhlwngchntri chnidsamynikaymhanikayswnhnungkhxngsaranukrmphraphuththsasna enuxha 1 prawti 2 thaeniybecaxawas 3 dankarsasnsuksa 4 xangxingprawti aekikhwdpitulathirachrngsvsdisranginsmyphrabathsmedcphranngeklaecaxyuhw rchkalthi 3 odyoprdih ecaphrayaymrach ecaphrayamhaoytha hathicasrangemuxngchaechingethraihm aelaoprdihphraecabrmwngsethx phraxngkhecaikrsr krmhlwngrksrners hmxmikrsr sungepnphrarachoxrsxngkhthi 33 inphrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolk rchkalthi 1 epnaemkxngthakarsrangkaaephngemuxngchaechingethra aelaphraxngkhidsrangwdhnungdwy dnginphrarachniphnth inphrabathsmedc phraculcxmeklaecaxyuhw aesdngiwwa aelwoprdihkrmhlwngrksrnersxxkipsrangpxmkaaephngthiemuxngchechingethraxiktabl 1 oprdihsrangwdiwinklangemuxng sungphrarachthannaminbdniwa wdpitulathirachrngsvsdi 1 edimthiwdemuxngtngxyutrngxyuthiklangemuxngchaechingethra aet emuxekidkbtxngyikhuninpi ph s 2391 thaihwdemuxngthukephathalay phayhlngkarkbtaelw rawpi ph s 2427 phrayawiessviichy chang idthakaryaywdxxkmasrangihminsthanthitngpccubn cungepnhlkthanthisakhywaaethnpraharxngyithiwdniimicheruxngcring prakthlkthaninbnthukkhxng esxr exxrenst emsn saotw Sir Ernest Mason Satow xkhrrachthutxngkvs pracakrungsyam emuxkhrawtrwcphunthi emuxngtanginaemnabangpakng wa ecaemuxngplxyeruxnghyumhyiminkarbriharpkkhrxngxyuinxanackhxngnxngchay phusungepnpldaelaxayuid 75 piaelw thansnicaetephiyngkaretriymtnsahrbolkhnaodykarsrangwdaehnghnung 2 emuxsrangwdesrcaelw inrayaaerkyngeriykchuxwdwa wdthayemuxng enuxngcaksranginphunthithayemuxngchaechingethra aelaidrbphrarachthannamwdihm cakphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhwwa wdpitulathirachrngsvst xnepnkarechlimphraekiyrtiihphrabathsmedcphranngeklaecaxyuhw inwarachlxngphrachnmayukhrbrxb 100 phrrsa inpiph s 2430 aelawdniidichepnthiphrarachthanephlingsphphrayawiessviichy chang ecaemuxngchaechingethrainpiediywknnnexng inewlannwdnacamiaekh phraxuobsthephiyngxyangediyw swnphrawiharnacasrangkhuninsmyhlng sungxaccaepnipidwakarthitxngsrangphrawiharkhunmannxaccaichepnthicdphrarachphithithuxnaphraphiphthnstyaaethnkarichthixuobsthwdosthrwraramwrwihar 3 phuththawaskhxngwdpitulathirachrngsvsdi miphraxuobsthaelaphrawiharlxmrxbdwykaaephngaekw prakxbdwyphraprangkhhlayxngkhthibriewnmumkhxngkaaephngaekwpccubnidmikarburnptisngkhrncnxyuinsphaphthismburnwdpitulathirachrngsvsdi michuxxyuinthaebiynwdkhxngsanknganphraphuththsasnaaehngchati aelamisphaphepnwdtammatra 31 aehngphrarachbyytikhnasngkh ph s 2505 aekikhephimetimaehngphrarachbyytikhnasngkh chbbthi 2 ph s 2535 wa tngemux ph s 2385 aelaidrbwisungkhamsimaemux ph s 2395 sungmiecakhnapkkhrxngfaysngkhidpkkhrxngduaeltlxdmacnthungpccubntxmawdpitulathirachrngsvsdi idrbphramhakrunathikhunoprdekla ihykepnphraxaramhlwng chntri chnidsamy emuxwnthi 29 mithunayn 2551 enuxngin oxkasmhamngkhlechlimphrachnmphrrsa 80 phrrsa phrabathsmedcphraprminthrmhaphumiphlxdulyedch brmnathbphitr rchkalthi 9 wnthi 5 thnwakhm 2550 nbaet wdpitulathirachrngsvsdi epnphraxaramhlwngthaeniybecaxawas aekikhwdpitulathirachrngsvsdi edimepnwdrasdr tngaetsrangwdmatamhlkthan thiprakt miphraphiksuphudarngtaaehnngecaxawasthiphxsubkhnid dngni phraxthikaraekw phrakhruthrrmphaniwrkhun chwy aeymcinda ph s 2454 2485 phrakhruxudmsmnkhun etim thxngesrim ph s 2485 2514 phrakhrucindaphirmy chd aeymcinda ph s 2514 2524 phrakhruiphorcnthrrmaphiwthn snga thm mosphon ph s 2524 2545 phrasmuhphngsphnth wirthm om pccubn phrakhruwirsrththathrrm ecaxawaswdsuniysrththathrrm rksakarecaxawas wnthi 15 mithunayn 2545 thungwnthi 19 kumphaphnth 2546 phraethphpyyaemthi praynt xc cathor p th 9 ph s 2547 20 kumphaphnth 2547 thung ph s 2552 phrathrrmpriytimuni praynt xc cathor p th 9 ph s 2552 4 minakhm 2552 pccubn ph s 2561 dankarsasnsuksa aekikhmiorngeriynphrapriytithrrm aephnksamysuksa xyuinkhwamphidchxbkhxng kxngphuththsasnsuksa sanknganphraphuththsasnaaehngchati daeninkarcdkarsuksathangwichakarphraphuththsasna aephnknkthrrm phasabali aelahlksutrkarsuksakhxngkrathrwngsuksathikar inradbmthymsuksa m 1 m 6 karsuksa aephnkthrrm nkthrrm tri oth exk thrrmsuksa tri oth exk karsuksaaephnkbali epriyythrrm 1 2 thung 9karsuksaaephnksamy inradbmthymsuksa m 1 m 6 xangxing aekikh https th wikisource org wiki E0 B8 9B E0 B8 A3 E0 B8 B0 E0 B8 8A E0 B8 B8 E0 B8 A1 E0 B8 9E E0 B8 87 E0 B8 A8 E0 B8 B2 E0 B8 A7 E0 B8 94 E0 B8 B2 E0 B8 A3 E0 B8 A0 E0 B8 B2 E0 B8 84 E0 B8 97 E0 B8 B5 E0 B9 88 E0 B9 93 E0 B9 93 hnngsux 100 exksarsakhy srrphsaraprawtisastrithy elmthi 15 exksarladbthi 67 hna174 175 exksarbnthukpracawn ephchrrung ethiynpiworcn khxnaesnxihmhlkthanwadwythitngedimkhxngwdemuxngekhathungcak https th wikipedia org w index php title wdpitulathirachrngsvsdi amp oldid 9330708, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม