fbpx
วิกิพีเดีย

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว

การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้รื้อถอนและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดติดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป. ณ ขณะนั้น กาลิเลโอได้กำหนดลักษณะสำคัญของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ไว้ดังนี้

  • ทำนายสิ่งที่เกิดขึ้นในปรากฏการณ์ธรรมชาติได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องอธิบายสาเหตุได้ เช่น ในขณะที่ยังไม่มีความรู้เรื่องแรงโน้มถ่วงนั้น กาลิเลโอไม่สนใจที่จะอธิบายว่า "ทำไมวัตถุถึงตกลงสู่พื้นดิน ?" แต่สนใจคำถามที่ว่า "เมื่อมันตกแล้ว มันจะถึงพื้นภายในเวลาเท่าใด ?"
  • ใช้คณิตศาสตร์เพื่อเป็นภาษาหลักของวิทยาศาสตร์ (ดูหัวข้อ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์)

ในเวลาต่อมา ไอแซก นิวตันได้ต่อเติมรากฐานและระบบระเบียบของแนวคิดเหล่านี้ และเป็นต้นแบบสำหรับสาขาด้านอื่น ๆ ของวิทยาศาสตร์

ก่อนหน้านั้น, ในปี ค.ศ. 1619 เรอเน เดส์การตส์ ได้เริ่มเขียนความเรียงเรื่อง Rules for the Direction of the Mind (ซึ่งเขียนไม่เสร็จ). โดยความเรียงชิ้นนี้ถือเป็นความเรียงชิ้นแรกที่เสนอกระบวนการคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยใหม่และปรัชญาสมัยใหม่. อย่างไรก็ตามเนื่องจากเดส์การตส์ได้ทราบเรื่องที่กาลิเลโอ ผู้มีความคิดคล้ายกับตนถูกเรียกสอบสวนโดย โป๊ปแห่งกรุงโรม ทำให้เดส์การตส์ไม่ได้ตีพิมพ์ผลงานชิ้นนี้ออกมาในเวลานั้น

การพยายามจะทำให้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เป็นระบบนั้น ต้องพบกับปัญหาของการอุปนัย ที่ชี้ให้เห็นว่าการคิดแบบอุปนัย (ซึ่งเริ่มต้นโดยฟรานซิส เบคอน) นั้น ไม่ถูกต้องตามหลักตรรกศาสตร์. เดวิด ฮูมได้อธิบายปัญหาดังกล่าวออกมาอย่างละเอียด คาร์ล พอพเพอร์ในความคิดลักษณะเดียวกับคนอื่น ๆ ได้พยายามอธิบายว่าสมมติฐานที่จะใช้ได้นั้นจะต้องทำให้เป็นเท็จได้ (falsifiable) นั่นคือจะต้องอยู่ในฐานะที่ถูกปฏิเสธได้ ความยุ่งยากนี้ทำให้เกิดการปฏิเสธความเชื่อพื้นฐานที่ว่ามีระเบียบวิธี 'หนึ่งเดียว' ที่ใช้ได้กับวิทยาศาสตร์ทุกแขนง และจะทำให้สามารถแยกแยะวิทยาศาสตร์ ออกจากสาขาอื่นที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ได้

ปัญหาเกี่ยวกระบวนการปฏิบัติของวิทยาศาสตร์มีความสำคัญเกินขอบเขตของวงการวิทยาศาสตร์ หรือวงการวิชาการ ในระบบยุติธรรมและในการถกเถียงปัญหาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ การศึกษาที่ใช้วิธีการนอกเหนือจาก แนวปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับ จะถูกปฏิเสธ และถูกจัดว่าเป็น "วิทยาศาสตร์เทียม"[ต้องการอ้างอิง]

ปรัชญาวิทยาศาสตร์

ความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ของวิทยาศาสตร์ในประวัติศาสตร์มนุษย์ ได้สร้างประเด็นคำถามทางปรัชญาไว้มากมาย. โดยนักปรัชญาวิทยาศาสตร์ได้ตั้งคำถามทางปรัชญาที่สำคัญดังนี้

  • สิ่งใดเป็นตัวแบ่งแยกความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับความรู้ประเภทอื่น ๆ เช่น โหราศาสตร์
  • ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นความจริงหรือไม่
  • ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เชื่อถือได้แค่ไหน
  • วิทยาศาสตร์มีประโยชน์จริง ๆ หรือไม่
  • ศีลธรรมของวิทยาศาสตร์ที่เหมาะสม คือรูปแบบใด

ประเด็นเหล่านี้ยังเป็นที่ถกเถียงในหมู่นักปรัชญาวิทยาศาสตร์อย่างมากในปัจจุบัน และไม่มีความเห็นใดที่ได้รับการยอมรับทั่วไปอีกเลยทีเดียว

สาขาของวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ

ฟิสิกส์

เคมี

ชีววิทยา


วิทยาศาสตร์ประยุกต์

วิศวกรรมศาสตร์

วิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ

วิทยาศาสตร์สุขภาพ (Health Science)

หมายเหตุ...

  1. คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์"

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Feynman Richard. The Feynman Lecture Notes on Physics. Addison-wesley, 1971.
  2. Morris Kilne. Mathematics for the Non-mathematician. Dover Publication, 1985.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • รายชื่อเว็บไซต์เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ไทย
  • เว็บบอร์ดวิทยาศาสตร์ - สังคมวิทยาศาสตร์ สังคมแห่งการเรียนรู้

แหล่งข้อมูลเพิ่มเติมในภาษาอื่น

  • วิทยาศาสตร์คืออะไร โดย ริชาร์ด ไฟน์แมน
  • การแบ่งประเภทวิทยาศาสตร์
  • หนังสือวิทยาศาสตร์ของ GSCE
  • ข่าววิทยาศาสตร์ประจำวัน
  • รายการที่เรียงตามตัวอักษรดัดแปลงมาจากบทความใน Internet-Encyclopedia ชื่อว่า "Science"
  • ศีลธรรมของวิทยาศาสตร์
  • นิตยสาร Scientific American
  • นิตยสาร New Scientist
  • องค์กรวิทยาศาสตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกา

ทยาศาสตร, บทความน, อาจต, องเข, ยนใหม, งหมดเพ, อให, เป, นไปตามมาตรฐานค, ณภาพของว, เด, หร, อกำล, งดำเน, นการอย, ณช, วยเราได, หน, าอภ, ปรายอาจม, อเสนอแนะล, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, ง. bthkhwamnixactxngekhiynihmthnghmdephuxihepniptammatrthankhunphaphkhxngwikiphiediy hruxkalngdaeninkarxyu khunchwyeraid hnaxphiprayxacmikhxesnxaenalingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudbthkhwamnixackhyaykhwamidodykaraeplbthkhwamthitrngkninphasaxngkvs khlikthi khyay ephuxsuksaaenwthangkaraeplkhunsamarthdukaraepldwykhxmphiwetxrcakbthkhwaminphasaxngkvs ekhruxngmuxchwyaeplxyang diphaexl hrux kuekilthranselth epncuderimtnthidisahrbkaraepl xyangirktam phuaeplcatxngtrwcsxbkhxphidphladcakkaraepldwykhxmphiwetxraelayunynwakaraeplnnthuktxng erakhxptiesthenuxhathikhdlxkcakekhruxngmuxaeplthiimmikartrwcthankxnephyaephr krunaxyaaeplswnkhxngkhxkhwamthiduaelwechuxthuximidhruxmikhunphaphta thaepnipid oprdchwyyunyndwykartrwcsxbaehlngxangxingthipraktinbthkhwamphasann oprdrabuiwinkhwamyxkaraekikhwakhunaeplenuxhamacakphasaid khunkhwrephimaemaebb Translated en Science iwinhnaphudkhuy sahrbkhaaenanaaelaaenwthangephimetim oprdsuksaidthi wikiphiediy karaeplwithyasastr note 1 hmaythung khwamruekiywkbsingtang inthrrmchatithngthimichiwitaelaimmichiwit rwmthngkrabwnkarpramwlkhwamruechingpracks thieriykwakrabwnkarthangwithyasastr aelaklumkhxngxngkhkhwamruthiidcakkrabwnkardngklawkarsuksaindanwithyasastryngthukaebngyxyxxkepn withyasastrthrrmchati aela withyasastrprayukt khawa science inphasaxngkvs sungaeplwa withyasastrnn macakphasalatin khawa scientia sunghmaykhwamwa khwamru inkhriststwrrsthi 17 fransis ebkhxnidphyayamkhidkhnwithimatrthaninkarxupny ephuxnamaichsrangthvsdihruxkdtang thangwithyasastrcakkhxmulthithdlxnghruxsngektidcakthrrmchati epnphuruxthxnaelaprbprungaenwkhwamkhidekiywkbwithyasastrsmyeka thiyudtidkbaenwkhwamkhidkhxngxrisotetilthingip n khnann kalieloxidkahndlksnasakhykhxngwithyasastrsmyihmiwdngni thanaysingthiekidkhuninpraktkarnthrrmchatiid odythiimcaepntxngxthibaysaehtuid echn inkhnathiyngimmikhwamrueruxngaerngonmthwngnn kalieloximsnicthicaxthibaywa thaimwtthuthungtklngsuphundin aetsnickhathamthiwa emuxmntkaelw mncathungphunphayinewlaethaid ichkhnitsastrephuxepnphasahlkkhxngwithyasastr duhwkhx khnitsastraelawithyasastr inewlatxma ixaesk niwtnidtxetimrakthanaelarabbraebiybkhxngaenwkhidehlani aelaepntnaebbsahrbsakhadanxun khxngwithyasastrkxnhnann inpi kh s 1619 erxen edskarts iderimekhiynkhwameriyngeruxng Rules for the Direction of the Mind sungekhiynimesrc odykhwameriyngchinnithuxepnkhwameriyngchinaerkthiesnxkrabwnkarkhidekiywkbwithyasastrsmyihmaelaprchyasmyihm xyangirktamenuxngcakedskartsidthraberuxngthikalielox phumikhwamkhidkhlaykbtnthukeriyksxbswnody oppaehngkrungorm thaihedskartsimidtiphimphphlnganchinnixxkmainewlannkarphyayamcathaihraebiybwithithangwithyasastrepnrabbnn txngphbkbpyhakhxngkarxupny thichiihehnwakarkhidaebbxupny sungerimtnodyfransis ebkhxn nn imthuktxngtamhlktrrksastr edwid humidxthibaypyhadngklawxxkmaxyanglaexiyd kharl phxphephxrinkhwamkhidlksnaediywkbkhnxun idphyayamxthibaywasmmtithanthicaichidnncatxngthaihepnethcid falsifiable nnkhuxcatxngxyuinthanathithukptiesthid khwamyungyaknithaihekidkarptiesthkhwamechuxphunthanthiwamiraebiybwithi hnungediyw thiichidkbwithyasastrthukaekhnng aelacathaihsamarthaeykaeyawithyasastr xxkcaksakhaxunthiimepnwithyasastridpyhaekiywkrabwnkarptibtikhxngwithyasastrmikhwamsakhyekinkhxbekhtkhxngwngkarwithyasastr hruxwngkarwichakar inrabbyutithrrmaelainkarthkethiyngpyhaekiywkbnoybaysatharna karsuksathiichwithikarnxkehnuxcak aenwptibtithangwithyasastrthiepnthiyxmrb cathukptiesth aelathukcdwaepn withyasastrethiym txngkarxangxing enuxha 1 prchyawithyasastr 2 sakhakhxngwithyasastr 2 1 withyasastrthrrmchati 2 1 1 fisiks 2 1 2 ekhmi 2 1 3 chiwwithya 2 2 withyasastrprayukt 2 2 1 wiswkrrmsastr 2 2 2 withyakarkhxmphiwetxraelasarsneths 2 2 3 withyasastrsukhphaph Health Science 3 hmayehtu 4 duephim 5 xangxing 6 aehlngkhxmulxun 6 1 aehlngkhxmulephimetiminphasaxunprchyawithyasastr aekikhkhwamsaercxnyingihykhxngwithyasastrinprawtisastrmnusy idsrangpraednkhathamthangprchyaiwmakmay odynkprchyawithyasastridtngkhathamthangprchyathisakhydngni singidepntwaebngaeykkhwamruthangwithyasastrkbkhwamrupraephthxun echn ohrasastr khwamruthangwithyasastrepnkhwamcringhruxim khwamruthangwithyasastrechuxthuxidaekhihn withyasastrmipraoychncring hruxim silthrrmkhxngwithyasastrthiehmaasm khuxrupaebbidpraednehlaniyngepnthithkethiynginhmunkprchyawithyasastrxyangmakinpccubn aelaimmikhwamehnidthiidrbkaryxmrbthwipxikelythiediywsakhakhxngwithyasastr aekikhwithyasastrthrrmchati aekikh fisiks aekikh fisiksechingthvsdi en theoretical physics fisiksechingkhanwn eng swnsastr Acoustics Astrodynamics eng withyasastrolk Earth Sciences darasastr Astronomy fisiksdarasastr Astrophysics Atomic Molecular and Optical physics eng chiwfisiks Biophysics Condensed matter physics eng ckrwalwithya Cosmology xtisitsastr Cryogenics phlsastr Dynamics phlsastrkhxngihl Fluid dynamics Materials physics eng Mathematical physics eng klsastr Mechanics niwekhliyrfisiks Nuclear physics thsnsastr Optics Particle physics eng or High Energy Physics phlasmafisiks eng phxliemxrfisiks eng Vehicle dynamics eng ekhmi aekikh ekhmiwiekhraah Analytical chemistry chiwekhmi Biochemistry ekhmikarkhanwn Computational chemistry ekhmiiffa Electrochemistry ekhmixninthriy Inorganic chemistry wsdusastr Materials science ekhmisingaewdlxm ekhmixinthriy Organic chemistry ekhmifisiks Physical chemistry ekhmikhwxntm Quantum chemistry sepkotrsokhpi Spectroscopy setxrioxekhmistri Stereochemistry ekhmikhwamrxn Thermochemistry chiwwithya aekikh kaywiphakhsastr Anatomy chiwwithyadarasastr Astrobiology chiwekhmi Biochemistry chiwsarsnethssastr Bioinformatics chiwfisiks Biophysics phvkssastr Botany chiwwithyakhxngesll Cell biology eng Cladistics eng withyaesll Cytology Developmental biology eng niewswithya Ecology kitwithya Entomology withyakarrabad Epidemiology Evolutionary biology en Evolutionary biology Evolutionary developmental biology eng Freshwater Biology eng phnthusastr Genetics Population genetics Genomics Proteomics citwithya en Psychology withyasastrsingaewdlxm miychwithya Histology minwithya Ichtyology withyaphumikhumkn Immunology chiwwithyathangthael Marine biology culchiwwithya Microbiology xnuchiwwithya Molecular Biology snthanwithya Morphology prasathwithyasastr Neuroscience phthnakarkhxngphuch eng pksiwithya Ornithology brrphchiwinwithya Palaeobiology withyasahray Phycology Algology wiwthnakarchatiphnthu eng Physical anthropology eng srirwithya Physiology Structural biology eng xnukrmwithan Taxonomy phiswithya Toxicology withyaiwrs Virology stwwithya Zoology withyasastrprayukt aekikh wiswkrrmsastr aekikh sakhakhxngwiswkrrmsastrwithyakarkhxmphiwetxraelasarsneths aekikh withyakarkhxmphiwetxr withyakarsarsneths hrux sarsnethssastr withyasastrphuththipyya Cognitive science wichaekiywkbkartidtxaelakhwbkhumkhxngstwaelaekhruxngckr eng brrnarkssastraelasarniethssastr Systemicswithyasastrsukhphaph Health Science aekikh ephschsastr Pharmacy thntaephthysastr Dentistry aephthysastr Medicine enuxngxkwithya Oncology phyathiwithya Pathology xayurewch ewchsastr ephschwithya Pharmacology phiswithya Toxicology stwaephthysastr Veterinary medicine ethkhnikhkaraephthy ekhmikhlinikh culthrrsnsastrkhlinikh ewchsastrkarthnakhareluxd thsnmatrsastr Optometry kayphaphbabd kickrrmbabd rngsiethkhnikhhmayehtu aekikh khawa withyasastr mkthukichephuxaethnkhawa Science inphasaxngkvs aetthacaklawihtrngkhwamhmayaelw eraichkhawa withyasastr ephuxhmaythung Exact science sungimrwmsakhawichathangsngkhmsastrexaiw aemwasakhawichathangsngkhmsastrcaichkrabwnkarthangwithyasastrechnediywkn karaebngaeykdngklawmikhunenuxngcakkhwamaetktangindanenuxhaaelathrrmchatikhxngkarsuksa miicheruxngkhxngkhwamcringhruxkhwamthuktxngaetxyangid khawa Science inphasaxngkvscamikhwamhmayethiybethakbkhawa sastr duephim aekikh withyasastrraychuxkhnawithyasastrinpraethsithyxangxing aekikhFeynman Richard The Feynman Lecture Notes on Physics Addison wesley 1971 Morris Kilne Mathematics for the Non mathematician Dover Publication 1985 aehlngkhxmulxun aekikhraychuxewbistekiywkbwithyasastrithy ewbbxrdwithyasastr sngkhmwithyasastr sngkhmaehngkareriynruaehlngkhxmulephimetiminphasaxun aekikh withyasastrkhuxxair ody richard ifnaemn karaebngpraephthwithyasastr hnngsuxwithyasastrkhxng GSCE khawwithyasastrpracawn raykarthieriyngtamtwxksrddaeplngmacakbthkhwamin Internet Encyclopedia chuxwa Science silthrrmkhxngwithyasastr nitysar Scientific American nitysar New Scientist xngkhkrwithyasastrkhxngpraethsshrthxemrikaekhathungcak https th wikipedia org w index php title withyasastr amp oldid 9458575, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม