fbpx
วิกิพีเดีย

คณะตุลาการอาญาสูงสุดอิรัก

คณะตุลาการอาญาสูงสุดอิรัก (Supreme Iraqi Criminal Tribunal) หรือเดิมชื่อ คณะตุลาการพิเศษอิรัก (Iraqi Special Tribunal) เป็นหน่วยงานจัดตั้งขึ้นภายใต้กฎหมายแห่งชาติอิรักเพื่อพิจารณาบุคคลหรือพลเมืองสัญชาติอิรักที่ถูกกล่าวหาว่า ก่อการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ อาชญากรรมสงคราม หรืออาชญากรรมร้ายแรงอื่นระหว่าง ค.ศ. 1968 และ 2003 คณะตุลาการฯ จัดการพิจารณาซัดดัม ฮุสเซนและสมาชิกคนอื่นของรัฐบาลพรรคบาธ

คณะตุลาการฯ เดิมเรียกว่า "ศาล" และจัดตั้งขึ้นตามธรรมนูญเฉพาะที่ออกภายใต้คณะบริหารประเทศชั่วคราว และปัจจุบันได้รับการรับรองตามเขตอำนาจของรัฐบาลชั่วคราวอิรัก ใน ค.ศ. 2005 ศาลได้รับการเปลี่ยนชื่อเป็นคณะตุลาการ เพราะรัฐธรรมนูญบัญญัติว่า "การจัดตั้งศาลพิเศษหรือวิสามัญนั้นจะกระทำมิได้" กฎหมายปกครองชั่วคราวซึ่งประกาศใช้โดยสภาปกครองอิรักก่อนการฟื้นฟูอธิปไตยได้วางข้อสงวนและรักษาให้ธรรมนูญคณะตุลาการพิเศษอิรักมีผลบังคับต่อไป

คณะตุลาการฯ รับผิดชอบต่อการพิจารณาซัดดัม ฮุสเซน, อาลี ฮัสซัน อัล-มาจิด, อดีตรองประธานาธิบดี ฏอฮา ยาซีน รอมาฎอน, อดีตรองนายกรัฐมนตรี ฏอริก อะสีส และอดีตเจ้าหน้าที่อาวุโสคนอื่นในรัฐบาลพรรคบาธที่ถูกล้ม

มันเป็นศาลเพียงแห่งเดียวที่ก่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีการใช้โทษประหารชีวิต


เขตอำนาจคณะตุลาการ

คณะตุลาการฯ มีเขตอำนาจเหนือบุคคลผู้มีสัญชาติหรือผู้อยู่อาศัยในอิรักที่ถูกกล่าวหาด้วยอาชญากรรมดังข้างล่างนี้

  • การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
  • อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ
  • อาชญากรรมสงคราม
  • การบงการตุลาการ
  • การผลาญทรัพยากรของชาติ
  • การใช้กำลังติดอาวุธต่อประเทศอาหรับ

อาชญากรรมเหล่านี้ต้องกระทำ

  • หลังรัฐประหารโดยอะหมัด ฮาซัน อัลบักร์ เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1968
  • ก่อนวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2003 ซึ่งหลังการรุกรานอิรักอันทำให้การปกครองของซัดดัม ฮุสเซนถึงคราวสิ้นสุด

สิทธิของผู้ถูกกล่าวหา

สิทธิของผู้ถูกกล่าวหาระบุไว้ในระเบียบของคณะตุลาการและรวมถึงการสันนิษฐานว่าบริสุทธิ์ ความเสมอภาคต่อหน้าคณะตุลาการ การพิจารณาสาธารณะโดยปราศจากความล่าช้าอันไม่สมควร การแต่งตั้งทนายความโดยเลือกเอง การเรียกพยานและสิทธิที่จะไม่ให้การ

โทษ

คณะตุลาการฯ ต้องกำหนดโทษตามกฎหมายอิรักที่มีอยู่เดิม ซึ่งรวมโทษประหารชีวิตด้วย สำหรับอาชญากรรม เช่น อาชญากรรมต่อมนุษยชาติซึ่งไม่มีบทบัญญัติคล้ายกันในกฎหมายอิรัก ระเบียบว่า แผนกพิจารณาคดีควรรับน้ำหนักของการกระทำผิดและการตัดสินที่ออกโดยคณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศไปพิจารณา

การพิจารณาซัดดัม ฮุสเซน

ดูบทความหลักที่: การพิจารณาซัดดัม ฮุสเซน

ตั้งแต่เดือนตุลาคม ค.ศ. 2005 ถึงวันที่ 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006 คณะตุลาการฯ ได้พิจารณาแปดคนที่ถูกกล่าวหาอาชญากรรมต่อมนุษยชาติในการสังหารหมู่มุสลิมชีอะฮ์ 148 คนในดูเญล จำเลยมี

  • ซัดดัม ฮุสเซน อดีตประธานาธิบดีอิรัก
  • บาร์แซน อิบราฮิม อัล-ตีกริติ น้องร่วมมารดาของซัดดัมและอดีตหัวหน้าฝ่ายข่าวกรอง
  • ทาฮา ยาสซิน รามาดัน อดีตรองประธานาธิบดี
  • อะวัด ฮาเหม็ด อัล-บันดาร์ อัล-ซาดุน อดีตหัวหน้าผู้พิพากษา

ในการฟ้องกล่าวหาซัดดัม ฮุสเซนแต่แรก เขายังถูกกล่าวหาว่า

  • สังหารบุคคลในศาสนาใน ค.ศ. 1974
  • เหตุโจมตีแก๊สพิษฮาลับจา
  • สังหารชาวเคิร์ดใน ค.ศ. 1983
  • สังหารสมาชิกพรรคการเมือง
  • โยกย้ายถิ่นฐานชาวเคิร์ดในกลางคริสต์ทศวรรษ 1980
  • ปราบปรามการลุกฮือของชาวเคิร์ดและชีอะฮ์ใน ค.ศ. 1991 และ
  • การรุกรานคูเวต

วันที่ 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006 ซัดดัม ฮุสเซนถูกพบว่ามีความผิดจริงทุกข้อกล่าวหาที่เกี่ยวข้องกับการสังหารหมู่ดูเญล และถูกตัดสินประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ เขาได้รับสิทธิอุทธรณ์อัตโนมัติ อย่างไรก็ดี การอุทธรณ์นั้นถูกปฏิเสธ และยืนโทษผิดจริงนั้น มีคำสั่งให้ประหารชีวิตเขาภายใน 30 วัน และเขาถูกประหารชีวิตเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม ค.ศ. 2006

ข้อโต้เถียง

กลุ่มกฎหมายอื่นและสหประชาชาติประท้วงว่า ซัดดัม ฮุสเซนควรถูกนำตัวขึ้นศาลสหประชาชาติ คล้ายกับศาลอาญาระหว่างประเทศสำหรับรวันดาในอารูชา ประเทศแทนซาเนีย หลายคนว่า ซัดดัมควรถูกนำตัวขึ้นศาลอาญาระหว่างประเทศในกรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ บางคนวิจารณ์ว่า สหรัฐอเมริกามีบทบาทมากเกินไปในการก่อตั้ง จัดหารเงินทุนและการปฏิบัติการของคณะตุลาการฯ

อย่างไรก็ดี หลักการทั่วไปของกฎหมายระหว่างประเทศ คือ อิงขีดความสามารถศาลระดับชาติภายในประเทศก่อนหันไปจัดตั้งศาลระหว่างประเทศอย่างวิสามัญ ชาวอิรักมองคณะตุลาการฯ ว่าเป็นเรื่องของศักดิ์ศรีและอธิปไตยมากขึ้นเช่นกัน โดยมีมุมมองว่า พวกเขาสามารถปกครองและตัดสินตัวเองได้ ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายระหว่างประเทศเห็นว่า ซัดดัมควรถูกพิจารณานอกประเทศเพราะเป็นที่เชื่อกันว่า เขาจะไม่ได้รับการพิจารณาอย่างยุติธรรมภายใต้ผู้พิพากษาไร้ประสบการณ์ที่เป็นศัตรูอันยาวนานของซัดดัมและรัฐบาลเขา หลังการริเริ่มโทษประหารชีวิตใหม่ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2004 นายกรัฐมนตรีชั่วคราวอิรัก อิยาด อัลลาวี ให้การรับรองว่าเขาจะไม่แทรกแซงการพิจารณาและจะยอมรับคำตัดสินใด ๆ ของคณะตุลาการ แม้บางความเห็นของเขาทำให้ตีความผิด "ในกรณีการประหารชีวิต เป็นเรื่องของคณะตุลาการที่จะตัดสิน ตราบใดที่การตัดสินนั้นบรรลุโดยปราศจากอคติและยุติธรรม"

อ้างอิง

  1. (PDF). Official Gazette of the Republic of Iraq. 2005-10-18. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2009-03-25. สืบค้นเมื่อ 2008-08-13. Article 37, The Statute of the Iraqi Special Tribunal for Crimes Against Humanity, Law No. 1 of 2003, and the Rules of Procedure issued under Article 16 thereof shall be abolished with effect from the date of the coming into force of this Law
  2. Laughland , John A history of political trials: from Charles I to Saddam Hussein, p.242
  3. http://www.cpa-iraq.org/human_rights/Statute.htm
  4. "Law of the Supreme Iraqi Criminal Tribunal",International Center for Transitional Justice
  5. http://www.pbs.org/frontlineworld/stories/iraq501/defining_victors.html
  6. http://www.abcnews.go.com/wire/World/ap20040706_164.html

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Statute of the Iraqi Special Tribunal December 2004
  • Official website of the Iraqi Special Tribunal
  • Statute of the Supreme Iraqi Criminal Tribunal October 2005 2009-03-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

คณะต, ลาการอาญาส, งส, ดอ, supreme, iraqi, criminal, tribunal, หร, อเด, มช, คณะต, ลาการพ, เศษอ, iraqi, special, tribunal, เป, นหน, วยงานจ, ดต, งข, นภายใต, กฎหมายแห, งชาต, กเพ, อพ, จารณาบ, คคลหร, อพลเม, องส, ญชาต, กท, กกล, าวหาว, อการฆ, าล, างเผ, าพ, นธ, อาชญากร. khnatulakarxayasungsudxirk Supreme Iraqi Criminal Tribunal hruxedimchux khnatulakarphiessxirk Iraqi Special Tribunal 1 epnhnwyngancdtngkhunphayitkdhmayaehngchatixirkephuxphicarnabukhkhlhruxphlemuxngsychatixirkthithukklawhawa kxkarkhalangephaphnthu xachyakrrmtxmnusychati xachyakrrmsngkhram hruxxachyakrrmrayaerngxunrahwang kh s 1968 aela 2003 khnatulakar cdkarphicarnasddm husesnaelasmachikkhnxunkhxngrthbalphrrkhbathkhnatulakar edimeriykwa sal aelacdtngkhuntamthrrmnuyechphaathixxkphayitkhnabriharpraethschwkhraw aelapccubnidrbkarrbrxngtamekhtxanackhxngrthbalchwkhrawxirk in kh s 2005 salidrbkarepliynchuxepnkhnatulakar ephraarththrrmnuybyytiwa karcdtngsalphiesshruxwisamynncakrathamiid 2 kdhmaypkkhrxngchwkhrawsungprakasichodysphapkkhrxngxirkkxnkarfunfuxthipityidwangkhxsngwnaelarksaihthrrmnuykhnatulakarphiessxirkmiphlbngkhbtxipkhnatulakar rbphidchxbtxkarphicarnasddm husesn xali hssn xl macid xditrxngprathanathibdi txha yasin rxmadxn xditrxngnaykrthmntri txrik xasis aelaxditecahnathixawuoskhnxuninrthbalphrrkhbaththithuklmmnepnsalephiyngaehngediywthikxxachyakrrmtxmnusychatiinstwrrsthi 21 sungmikarichothspraharchiwit enuxha 1 ekhtxanackhnatulakar 2 siththikhxngphuthukklawha 3 oths 4 karphicarnasddm husesn 5 khxotethiyng 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunekhtxanackhnatulakar aekikhkhnatulakar miekhtxanacehnuxbukhkhlphumisychatihruxphuxyuxasyinxirkthithukklawhadwyxachyakrrmdngkhanglangni 3 4 karkhalangephaphnthu xachyakrrmtxmnusychati xachyakrrmsngkhram karbngkartulakar karphlaythrphyakrkhxngchati karichkalngtidxawuthtxpraethsxahrbxachyakrrmehlanitxngkratha hlngrthpraharodyxahmd hasn xlbkr emuxwnthi 17 krkdakhm kh s 1968 kxnwnthi 1 phvsphakhm kh s 2003 sunghlngkarrukranxirkxnthaihkarpkkhrxngkhxngsddm husesnthungkhrawsinsudsiththikhxngphuthukklawha aekikhsiththikhxngphuthukklawharabuiwinraebiybkhxngkhnatulakaraelarwmthungkarsnnisthanwabrisuththi khwamesmxphakhtxhnakhnatulakar karphicarnasatharnaodyprascakkhwamlachaxnimsmkhwr karaetngtngthnaykhwamodyeluxkexng kareriykphyanaelasiththithicaimihkaroths aekikhkhnatulakar txngkahndothstamkdhmayxirkthimixyuedim sungrwmothspraharchiwitdwy sahrbxachyakrrm echn xachyakrrmtxmnusychatisungimmibthbyytikhlaykninkdhmayxirk raebiybwa aephnkphicarnakhdikhwrrbnahnkkhxngkarkrathaphidaelakartdsinthixxkodykhnatulakarxayarahwangpraethsipphicarnakarphicarnasddm husesn aekikhdubthkhwamhlkthi karphicarnasddm husesn tngaeteduxntulakhm kh s 2005 thungwnthi 5 phvscikayn kh s 2006 khnatulakar idphicarnaaepdkhnthithukklawhaxachyakrrmtxmnusychatiinkarsngharhmumuslimchixah 148 khnindueyl caelymi sddm husesn xditprathanathibdixirk baraesn xibrahim xl tikriti nxngrwmmardakhxngsddmaelaxdithwhnafaykhawkrxng thaha yassin ramadn xditrxngprathanathibdi xawd haehmd xl bndar xl sadun xdithwhnaphuphiphaksainkarfxngklawhasddm husesnaetaerk ekhayngthukklawhawa sngharbukhkhlinsasnain kh s 1974 ehtuocmtiaeksphishalbca sngharchawekhirdin kh s 1983 sngharsmachikphrrkhkaremuxng oykyaythinthanchawekhirdinklangkhristthswrrs 1980 prabpramkarlukhuxkhxngchawekhirdaelachixahin kh s 1991 aela karrukrankhuewtwnthi 5 phvscikayn kh s 2006 sddm husesnthukphbwamikhwamphidcringthukkhxklawhathiekiywkhxngkbkarsngharhmudueyl aelathuktdsinpraharchiwitdwykaraekhwnkhx ekhaidrbsiththixuththrnxtonmti xyangirkdi karxuththrnnnthukptiesth aelayunothsphidcringnn mikhasngihpraharchiwitekhaphayin 30 wn aelaekhathukpraharchiwitemuxwnthi 30 thnwakhm kh s 2006 duephimetimthi karpraharchiwitsddm husesnkhxotethiyng aekikhklumkdhmayxunaelashprachachatiprathwngwa sddm husesnkhwrthuknatwkhunsalshprachachati khlaykbsalxayarahwangpraethssahrbrwndainxarucha praethsaethnsaeniy hlaykhnwa sddmkhwrthuknatwkhunsalxayarahwangpraethsinkrungehk praethsenethxraelnd bangkhnwicarnwa shrthxemrikamibthbathmakekinipinkarkxtng cdharenginthunaelakarptibtikarkhxngkhnatulakar 5 xyangirkdi hlkkarthwipkhxngkdhmayrahwangpraeths khux xingkhidkhwamsamarthsalradbchatiphayinpraethskxnhnipcdtngsalrahwangpraethsxyangwisamy chawxirkmxngkhnatulakar waepneruxngkhxngskdisriaelaxthipitymakkhunechnkn odymimummxngwa phwkekhasamarthpkkhrxngaelatdsintwexngid phuechiywchaykdhmayrahwangpraethsehnwa sddmkhwrthukphicarnanxkpraethsephraaepnthiechuxknwa ekhacaimidrbkarphicarnaxyangyutithrrmphayitphuphiphaksairprasbkarnthiepnstruxnyawnankhxngsddmaelarthbalekha hlngkarrierimothspraharchiwitihmineduxnsinghakhm kh s 2004 naykrthmntrichwkhrawxirk xiyad xllawi ihkarrbrxngwaekhacaimaethrkaesngkarphicarnaaelacayxmrbkhatdsinid khxngkhnatulakar aembangkhwamehnkhxngekhathaihtikhwamphid inkrnikarpraharchiwit epneruxngkhxngkhnatulakarthicatdsin trabidthikartdsinnnbrrluodyprascakxkhtiaelayutithrrm 6 xangxing aekikh Law of the Supreme Iraqi Criminal Tribunal PDF Official Gazette of the Republic of Iraq 2005 10 18 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2009 03 25 subkhnemux 2008 08 13 Article 37 The Statute of the Iraqi Special Tribunal for Crimes Against Humanity Law No 1 of 2003 and the Rules of Procedure issued under Article 16 thereof shall be abolished with effect from the date of the coming into force of this Law Laughland John A history of political trials from Charles I to Saddam Hussein p 242 http www cpa iraq org human rights Statute htm Law of the Supreme Iraqi Criminal Tribunal International Center for Transitional Justice http www pbs org frontlineworld stories iraq501 defining victors html http www abcnews go com wire World ap20040706 164 htmlaehlngkhxmulxun aekikhStatute of the Iraqi Special Tribunal December 2004 Official website of the Iraqi Special Tribunal Statute of the Supreme Iraqi Criminal Tribunal October 2005 Archived 2009 03 25 thi ewyaebkaemchchin ekhathungcak https th wikipedia org w index php title khnatulakarxayasungsudxirk amp oldid 9561139, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม