fbpx
วิกิพีเดีย

ศิลปะอยุธยา

ศิลปะอยุธยา‎ เป็นศิลปะที่เริ่มตั้งแต่สมัยพระเจ้าอู่ทองสร้างกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 1893 จนเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พ.ศ. 2310 นักประวัติศาสตร์ศิลปะมักแบ่งออกเป็น 4 ระยะ คือ ยุคที่หนึ่งนับตั้งแต่พระเจ้าอู่ทองสร้างกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 1893–1990 ยุคนี้นิยมศิลปะลพบุรี ยุคที่สองนับตั้งแต่สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ. 1991 ถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม พ.ศ. 2171 ยุคนี้กลับไปนิยมศิลปะสุโขทัยอันเนื่องจากสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเป็นกษัตริย์ที่มีเชื้อสายราชวงศ์สุโขทัย ยุคที่สามนับตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พ.ศ. 2173 ถึงรัชกาลสมเด็จพระเจ้าท้ายสระ พ.ศ. 2251 โดยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรงโปรดศิลปกรรมแบบเขมร ยุคที่สี่นับตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พ.ศ. 2275 ถึงเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พ.ศ. 2310

กลุ่มปรางค์หน้าวัดไชยวัฒนาราม ได้รับอิทธิพลศิลปะขอม
วิหารพระมงคลบพิตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีลักษณะเฉพาะของสถาปัตยกรรมสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
พระนอนวัดโลกยสุธาราม ศิลปะยุคกลาง
พระพุทธนิมิตวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญบรมไตรโลกนาถ เป็นพระพุทธรูปยุคปลาย พระพุทธรูปทรงเครื่องแบบพระมหากษัตริย์
ภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดใหญ่สุวรรณาราม จังหวัดเพชรบุรี

สถาปัตยกรรม

สถาปัตยกรรมยุคที่หนึ่งนับตั้งแต่พระเจ้าอู่ทองสร้างกรุงศรีอยุธยานิยมสร้างปรางค์เป็นหลักประธานของวัด มีพระวิหารอยู่หน้าปรางค์ มีระเบียงคดล้อมรอบปรางค์ สถาปัตยกรรมยุคนี้ไม่มีหน้าต่าง แต่มีช่องลมแบบซี่ลูกกรงที่เรียกว่า เสามะหวด หรือบางแห่งทำแบบสันเหลี่ยมมีอกเลา

ยุคที่สองนิยมสร้างสถาปัตยกรรมแบบสุโขทัย โดยเฉพาะการสร้างเจดีย์ทรงกลม ที่เรียกว่า ทรงลังกา การสร้างอุโบสถ วิหาร มีความบึกบึน กว้างใหญ่ มีการยกฐานสูง นิยมมีพาไลด้านข้าง เช่น วัดหน้าพระเมรุ

ยุคที่สาม สมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรงโปรดศิลปกรรมแบบเขมร ศิลปกรรมยุคนี้เริ่มมีหน้าต่างเปิดปิดได้ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้รับอิทธิพลสถาปัตยกรรมแบบยุโรป มีการก่อสร้างซุ้มประตูหน้าต่างโค้งแหลมแบบกอทิก เช่น วัดกุฎีดาว อาคารต่าง ๆ เริ่มนิยมทำเป็นเส้นโค้งที่ฐานและหลังคา คงเป็นลักษณะสืบเนื่องมาแต่ครั้งศิลปะสมัยสุโขทัย การมุงกระเบื้องใช้กระเบื้องชนิดหางตัดและกระเบื้องชนิดกาบ มีกระเบื้องเชิงชายประกอบ มีการใช้กระเบื้องเคลือบครั้งแรกในแผ่นดินสมเด็จพระเพทราชา ยุคนี้ยังมีเจดีย์ที่เป็นแบบฉบับเรียกว่า เจดีย์ย่อเหลี่ยมไม้สิบสอง

ยุคที่สี่เป็นยุคที่มีการซ่อมแซมมากกว่าสร้างขึ้นใหม่ สถาปัตยกรรมนิยมเส้นฐานและเส้นหลังคาอ่อนโค้งเป็นแนวขนาน

ประติมากรรม

ศิลปะอยุธยายุคต้นสืบต่อจากศิลปะอู่ทองตอนปลาย รูปประติมากรรมมีทั้งรูปเทพเจ้าและพระพุทธรูป ลักษณะส่วนใหญ่เข้มแข็ง บึกบึน มีลักษณะผสมทั้งลพบุรี อู่ทองและสุโขทัย พระพุทธรูปมีพระวรกายทั้งหนาและบาง มีลักษณะท่าทางขึงขัง บัวรองฐานทำเป็นฐานแอ่นโค้ง

พระพุทธรูปยุคกลางได้รับอิทธิพลจากศิลปะสุโขทัย มักทำวงพระพักตร์และพระรัศมีตามแบบสุโขทัย แต่มีไรพระศกเส้นเล็ก ๆ ทำสังฆาฏิขนาดใหญ่ ชายสังฆาฏิตัด ป็นเส้นตรง พระพุทธรูปทำจากปูนปั้น สลักหิน และหล่อด้วยโลหะ ส่วนมากนิยมทำพระพุทธรูปปางมารวิชัย และพระอิริยาบถแบบต่าง ๆ ตามแบบสุโขทัย

พระพุทธรูปยุคปลายมีการสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องแบบพระมหากษัตริย์ โดยมีอยู่ 2 แบบคือ พระพุทธรูปทรงเครื่องใหญ่ และพระพุทธรูปทรงเครื่องน้อย ศิลปะการสลักไม้และปั้นปูนประดับพุทธสถานของสมัยอยุธยายุคปลาย มีความงามสูงสุด ลวดลายทำเป็นลายกระหนก อ่อนพลิ้วซ้อนกัน ปลายกนกสะบัดปลาย บิดไปมาราวกับธรรมชาติของเถาไม้และใบไม้ที่อ่อนไหว ลวดลายต่าง ๆ เริ่มประดิษฐ์เป็นแบบแผนเฉพาะตัวของไทยมากขึ้น

จิตรกรรม

จิตรกรรมสะท้อนความเชื่อทางพุทธศาสนา วาดไว้บนฝาผนังอุโบสถ วิหาร และสมุดภาพ ใช้สีฝุ่นผสมกาว ระบายเรียบ และตัดเส้น ในระยะแรกใช้สีในวรรณะเอกรงค์ ต่อมาเมื่อมีการติดต่อกับต่างประเทศ ทำให้มีสีต่าง ๆ เพิ่มเข้ามา นิยมเขียนเรื่องอดีตพุทธ พุทธประวัติ ทศชาติชาดก เทพชุมนุมและภาพลวดลายต่าง ๆ มีการปิดทองที่ภาพสำคัญและทำลายดอกไม้ร่วงที่พื้นหลังภาพ ลักษณะโดยรวมของงานจิตรกรรมในสมัยอยุธยาตอนต้นคือ ยังคงใช้สีไม่มากนัก เทคนิคการเขียนสีลงบนรองพื้นสีขาว ระบายพื้นหลังตัวภาพด้วยสีแดง ตัวภาพมีการระบายสีขาว สีเนื้อและปิดทองคำเปลว ตัดเส้นด้วยสีดำหรือสีแดง

ในสมัยอยุธยาตอนกลาง มีการพัฒนาเทคนิควิธีการเขียนภาพจิตรกรรม เริ่มใช้สีที่มีความหลากหลายขึ้น การปิดทองคำเปลว และตัดเส้นด้วยสีแดง จิตรกรรมยุคหลังแตกต่างจากยุคแรกที่นิยมเขียนซุ้มเรือนแก้วมาเป็นภาพเล่าเรื่อง มีสีเพิ่มมากขึ้น

อ้างอิง

  1. "ศิลปะสมัยอยุธยา พุทธศตวรรษที่ ๑๙-พ.ศ. ๒๓๑๐". หน้าจั่ว.
  2. "ประติมากรรมไทยสมัยอู่ทองและสมัยอยุธยา". สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ ๑๔.
  3. เล็กสุขุม, สันติ. ศิลปะอยุธยา (4 ed.). เมืองโบราณ. ISBN 9786167767826.
  4. วรรณิภา ณ สงขลา. จิตรกรรมสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ : ฝ่ายอนุรักษ์จิตรกรรมฝาผนังและประติมากรรม. กองโบราณคดี กรมศิลปากร, 2535.
  5. "เอกสารประกอบการอบรมอยุธยาสัญจร "ประวัติศาสตร์ และประวัติศาสตร์ศิลปะสมัยอยุธยา"".


ลปะอย, ธยา, เป, นศ, ลปะท, เร, มต, งแต, สม, ยพระเจ, าอ, ทองสร, างกร, งศร, อย, ธยาเม, 1893, จนเส, ยกร, งศร, อย, ธยาคร, งท, สอง, 2310, กประว, ศาสตร, ลปะม, กแบ, งออกเป, ระยะ, คท, หน, งน, บต, งแต, พระเจ, าอ, ทองสร, างกร, งศร, อย, ธยาเม, 1893, 1990, คน, ยมศ, ลปะลพบ,. silpaxyuthya epnsilpathierimtngaetsmyphraecaxuthxngsrangkrungsrixyuthyaemux ph s 1893 cnesiykrungsrixyuthyakhrngthisxng ph s 2310 nkprawtisastrsilpamkaebngxxkepn 4 raya khux yukhthihnungnbtngaetphraecaxuthxngsrangkrungsrixyuthyaemux ph s 1893 1990 yukhniniymsilpalphburi yukhthisxngnbtngaetsmysmedcphrabrmitrolknath ph s 1991 thungsmysmedcphraecathrngthrrm ph s 2171 yukhniklbipniymsilpasuokhthyxnenuxngcaksmedcphrabrmitrolknathepnkstriythimiechuxsayrachwngssuokhthy yukhthisamnbtngaetsmysmedcphraecaprasaththxng ph s 2173 thungrchkalsmedcphraecathaysra ph s 2251 odysmedcphraecaprasaththxngthrngoprdsilpkrrmaebbekhmr yukhthisinbtngaetsmysmedcphraecaxyuhwbrmoks ph s 2275 thungesiykrungsrixyuthyakhrngthisxng ph s 2310 1 wdhnaphraemru klumprangkhhnawdichywthnaram idrbxiththiphlsilpakhxm wiharphramngkhlbphitr cnghwdphrankhrsrixyuthya milksnaechphaakhxngsthaptykrrmsmysmedcphraecaxyuhwbrmoks phranxnwdolkysutharam silpayukhklang phraphuththnimitwichitmaromlisrisrrephchybrmitrolknath epnphraphuththrupyukhplay phraphuththrupthrngekhruxngaebbphramhakstriy phaphcitrkrrmfaphnngwdihysuwrrnaram cnghwdephchrburi enuxha 1 sthaptykrrm 2 pratimakrrm 3 citrkrrm 4 xangxingsthaptykrrm aekikhsthaptykrrmyukhthihnungnbtngaetphraecaxuthxngsrangkrungsrixyuthyaniymsrangprangkhepnhlkprathankhxngwd miphrawiharxyuhnaprangkh miraebiyngkhdlxmrxbprangkh sthaptykrrmyukhniimmihnatang aetmichxnglmaebbsilukkrngthieriykwa esamahwd hruxbangaehngthaaebbsnehliymmixkelayukhthisxngniymsrangsthaptykrrmaebbsuokhthy odyechphaakarsrangecdiythrngklm thieriykwa thrnglngka karsrangxuobsth wihar mikhwambukbun kwangihy mikarykthansung niymmiphaildankhang echn wdhnaphraemruyukhthisam smedcphraecaprasaththxngthrngoprdsilpkrrmaebbekhmr silpkrrmyukhnierimmihnatangepidpidid insmysmedcphranaraynmharach idrbxiththiphlsthaptykrrmaebbyuorp mikarkxsrangsumpratuhnatangokhngaehlmaebbkxthik echn wdkudidaw xakhartang erimniymthaepnesnokhngthithanaelahlngkha khngepnlksnasubenuxngmaaetkhrngsilpasmysuokhthy karmungkraebuxngichkraebuxngchnidhangtdaelakraebuxngchnidkab mikraebuxngechingchayprakxb mikarichkraebuxngekhluxbkhrngaerkinaephndinsmedcphraephthracha yukhniyngmiecdiythiepnaebbchbberiykwa ecdiyyxehliymimsibsxngyukhthisiepnyukhthimikarsxmaesmmakkwasrangkhunihm sthaptykrrmniymesnthanaelaesnhlngkhaxxnokhngepnaenwkhnan 1 pratimakrrm aekikhsilpaxyuthyayukhtnsubtxcaksilpaxuthxngtxnplay ruppratimakrrmmithngrupethphecaaelaphraphuththrup lksnaswnihyekhmaekhng bukbun milksnaphsmthnglphburi xuthxngaelasuokhthy phraphuththrupmiphrawrkaythnghnaaelabang milksnathathangkhungkhng bwrxngthanthaepnthanaexnokhngphraphuththrupyukhklangidrbxiththiphlcaksilpasuokhthy mkthawngphraphktraelaphrarsmitamaebbsuokhthy aetmiirphraskesnelk thasngkhatikhnadihy chaysngkhatitd pnesntrng phraphuththrupthacakpunpn slkhin aelahlxdwyolha swnmakniymthaphraphuththruppangmarwichy aelaphraxiriyabthaebbtang tamaebbsuokhthyphraphuththrupyukhplaymikarsrangphraphuththrupthrngekhruxngaebbphramhakstriy odymixyu 2 aebbkhux phraphuththrupthrngekhruxngihy aelaphraphuththrupthrngekhruxngnxy silpakarslkimaelapnpunpradbphuththsthankhxngsmyxyuthyayukhplay mikhwamngamsungsud lwdlaythaepnlaykrahnk xxnphliwsxnkn playknksabdplay bidipmarawkbthrrmchatikhxngethaimaelaibimthixxnihw lwdlaytang erimpradisthepnaebbaephnechphaatwkhxngithymakkhun 2 citrkrrm aekikhcitrkrrmsathxnkhwamechuxthangphuththsasna wadiwbnfaphnngxuobsth wihar aelasmudphaph ichsifunphsmkaw rabayeriyb aelatdesn 3 inrayaaerkichsiinwrrnaexkrngkh txmaemuxmikartidtxkbtangpraeths thaihmisitang ephimekhama niymekhiyneruxngxditphuthth phuththprawti thschatichadk ethphchumnumaelaphaphlwdlaytang mikarpidthxngthiphaphsakhyaelathalaydxkimrwngthiphunhlngphaph 4 lksnaodyrwmkhxngngancitrkrrminsmyxyuthyatxntnkhux yngkhngichsiimmaknk ethkhnikhkarekhiynsilngbnrxngphunsikhaw rabayphunhlngtwphaphdwysiaedng twphaphmikarrabaysikhaw sienuxaelapidthxngkhaeplw tdesndwysidahruxsiaednginsmyxyuthyatxnklang mikarphthnaethkhnikhwithikarekhiynphaphcitrkrrm erimichsithimikhwamhlakhlaykhun karpidthxngkhaeplw aelatdesndwysiaedng 5 citrkrrmyukhhlngaetktangcakyukhaerkthiniymekhiynsumeruxnaekwmaepnphaphelaeruxng misiephimmakkhunxangxing aekikh 1 0 1 1 silpasmyxyuthya phuththstwrrsthi 19 ph s 2310 hnacw pratimakrrmithysmyxuthxngaelasmyxyuthya saranukrmithysahrbeyawchn elmthi 14 elksukhum snti silpaxyuthya 4 ed emuxngobran ISBN 9786167767826 wrrnipha n sngkhla citrkrrmsmyxyuthya krungethph fayxnurkscitrkrrmfaphnngaelapratimakrrm kxngobrankhdi krmsilpakr 2535 exksarprakxbkarxbrmxyuthyasycr prawtisastr aelaprawtisastrsilpasmyxyuthya ekhathungcak https th wikipedia org w index php title silpaxyuthya amp oldid 9440694, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม