fbpx
วิกิพีเดีย

สติปัฏฐาน 4

สติปัฏฐาน 4 เป็นหลักการภาวนาตามมหาสติปัฏฐานสูตร เป็นข้อปฏิบัติเพื่อรู้แจ้ง คือเข้าใจตามเป็นจริงของสิ่งทั้งปวงโดยไม่ถูกกิเลสครอบงำ สติปัฏฐานมี 4 อย่าง การตามอนุปัสสนาในกาย เวทนา จิต และธรรม สติปัฏฐาน = ศีล5[ต้องการอ้างอิง]

โดยคำว่า สติ หมายถึงความระลึกรู้ ไม่ลืม สติเป็นเจตสิกที่เกิดกับจิตที่ดีงามเท่านั้น ไม่เกิดกับอกุศล คอยช่วยให้จิตที่ดีงามนึกถึงแต่เรื่องที่เป็นประโยชน์ให้ผลเป็นความสุข ระลึกถึงแต่สิ่งที่ไม่ก่อให้เกิดโทษคือกิเลส,​ ส่วนปัฏฐาน ​แปล​ได้​หลายอย่าง​ ​แต่​ใน​มหาสติปัฏฐานสูตร​และ​สติปัฏฐานสูตร ​หมาย​ถึง​ ​ความตั้งมั่น, ความแน่วแน่, ความมุ่งมั่นไม่ปล่อยเวลาให้เสียประโยชน์[ต้องการอ้างอิง]

โดยรวมคือเข้าไปรู้เห็นในสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง คือ วงจรปฏิจจสมุปบาท เพื่อให้เห็นไตรลักษณ์หรือสามัญลักษณะ จนละคลายความยึดติดด้วยอำนาจกิเลสทั้งปวง[ต้องการอ้างอิง] ได้แก่

  1. กายานุปัสสนา สติปัฏฐาน - การมีสติไม่ลืมว่ากายเป็นแค่ที่รวมของธาตุ 4 ได้แก่ ดิน น้ำ ลม ไฟมาประชุมรวมกันเป็นร่างกาย ไม่มองกายด้วยความเป็นคน สัตว์ เรา เขา แต่มองแยกเป็น รูปธรรมหนึ่งๆ อาศัยเหตุปัจจัยมากมายเกิดขึ้นเป็นวงจรปฏิจจสมุปบาท ก็จะเห็นความเกิดดับ และเห็นว่ากายล้วนไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา[ต้องการอ้างอิง]
  2. เวทนานุปัสสนา สติปัฏฐาน -การมีสติไม่ลืมว่าเวทนา, ทั้งสุข ทุกข์ อุเบกขา มีและไม่มีอามิส, ล้วนเป็นนามธรรมอย่างหนึ่ง ไม่มองกายด้วยความเป็นคน สัตว์ เรา เขา แต่มองแยกเป็นแค่นามธรรมที่อาศัยเหตุปัจจัยมากมายเกิดขึ้นเป็นวงจรปฏิจจสมุปบาท ก็จะเห็นความเกิดดับ และเห็นว่าเวทนาล้วนไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา[ต้องการอ้างอิง]
  3. จิตตานุปัสสนา สติปัฏฐาน - การมีสติไม่ลืมว่าจิตมีเหตุใกล้คือเจตสิกมากมายเป็นปัจจัยให้เกิดอยู่ ไม่มองจิตด้วยความเป็นคน สัตว์ เรา เขา คือไม่มองว่าเรากำลังคิด เรากำลังโกรธ หรือเรากำลังเหม่อลอย แต่มองแยกเป็นนามธรรมอย่างหนึ่ง ที่อาศัยเหตุปัจจัยมากมายเกิดขึ้นเป็นวงจรปฏิจจสมุปบาท ก็จะเห็นความเกิดดับ และเห็นว่าจิตล้วนไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา[ต้องการอ้างอิง]
  4. ธัมมานุปัสสนา สติปัฏฐาน - การมีสติไม่ลืมว่าโลกิยธรรมทั้งปวงเกิดจากเหตุปัจจัยมากมาย ไม่มองด้วยความเป็นคน สัตว์ เรา เขา แต่มองเป็นรูปธรรมและนามธรรม ที่อาศัยเหตุปัจจัยมากมายเกิดขึ้นเป็นวงจรปฏิจจสมุปบาทก็จะเห็นความเกิดดับ และเห็นว่าธรรมที่เกิดจากเหตุปัจจัยล้วนไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา[ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง

  1. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [1]. เข้าถึงเมื่อ 7-7-52

สต, ฏฐาน, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออกบทความน, องการการจ, ดหน, ดหมวดหม, ใส, งก, ภายใน, หร, อเก, บกวาดเน, อหา, ให, ณภาพด, ณสา. bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxkbthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxngstiptthan 4 epnhlkkarphawnatammhastiptthansutr 1 epnkhxptibtiephuxruaecng khuxekhaictamepncringkhxngsingthngpwngodyimthukkielskhrxbnga stiptthanmi 4 xyang kartamxnupssnainkay ewthna cit aelathrrm stiptthan sil5 txngkarxangxing odykhawa sti hmaythungkhwamralukru imlum stiepnectsikthiekidkbcitthidingamethann imekidkbxkusl khxychwyihcitthidingamnukthungaeteruxngthiepnpraoychnihphlepnkhwamsukh ralukthungaetsingthiimkxihekidothskhuxkiels swnptthan aepl id hlayxyang aet in mhastiptthansutr aela stiptthansutr hmay thung khwamtngmn khwamaenwaen khwammungmnimplxyewlaihesiypraoychn txngkarxangxing odyrwmkhuxekhaipruehninsingthnghlaytamkhwamepncring khux wngcrpticcsmupbath ephuxihehnitrlksnhruxsamylksna cnlakhlaykhwamyudtiddwyxanackielsthngpwng txngkarxangxing idaek kayanupssna stiptthan karmistiimlumwakayepnaekhthirwmkhxngthatu 4 idaek din na lm ifmaprachumrwmknepnrangkay immxngkaydwykhwamepnkhn stw era ekha aetmxngaeykepn rupthrrmhnung xasyehtupccymakmayekidkhunepnwngcrpticcsmupbath kcaehnkhwamekiddb aelaehnwakaylwnimethiyng epnthukkh aelaepnxntta txngkarxangxing ewthnanupssna stiptthan karmistiimlumwaewthna thngsukh thukkh xuebkkha miaelaimmixamis lwnepnnamthrrmxyanghnung immxngkaydwykhwamepnkhn stw era ekha aetmxngaeykepnaekhnamthrrmthixasyehtupccymakmayekidkhunepnwngcrpticcsmupbath kcaehnkhwamekiddb aelaehnwaewthnalwnimethiyng epnthukkh aelaepnxntta txngkarxangxing cittanupssna stiptthan karmistiimlumwacitmiehtuiklkhuxectsikmakmayepnpccyihekidxyu immxngcitdwykhwamepnkhn stw era ekha khuximmxngwaerakalngkhid erakalngokrth hruxerakalngehmxlxy aetmxngaeykepnnamthrrmxyanghnung thixasyehtupccymakmayekidkhunepnwngcrpticcsmupbath kcaehnkhwamekiddb aelaehnwacitlwnimethiyng epnthukkh aelaepnxntta txngkarxangxing thmmanupssna stiptthan karmistiimlumwaolkiythrrmthngpwngekidcakehtupccymakmay immxngdwykhwamepnkhn stw era ekha aetmxngepnrupthrrmaelanamthrrm thixasyehtupccymakmayekidkhunepnwngcrpticcsmupbathkcaehnkhwamekiddb aelaehnwathrrmthiekidcakehtupccylwnimethiyng epnthukkh aelaepnxntta txngkarxangxing xangxing aekikh phraitrpidk elmthi 10 phrasuttntpidk elmthi 2 thikhnikay mhawrrkh mhastiptthansutr phraitrpidkchbbsyamrth xxniln ekhathungidcak 1 ekhathungemux 7 7 52 bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title stiptthan 4 amp oldid 9271810, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม