fbpx
วิกิพีเดีย

สมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน ปญฺญาสีโล)

สมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน ปญฺญาสีโล) (เขมร: សម្តេចព្រះសុគន្ធាធិបតី ប៉ាន បញ្ញាសីលោ) เป็นพระภิกษุสงฆ์ที่สำคัญองค์หนึ่งของกัมพูชา ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2370 ที่เมืองพระตะบอง บวชเป็นสามเณรตั้งแต่อายุ 12 ปี แล้วจึงเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ และได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุสังกัดมหานิกาย ต่อมาได้ถวายตัวเป็นศิษย์ในรัชกาลที่ 4 เมื่อยังทรงผนวชเป็นพระภิกษุ และต่อมาได้บวชแปลงเป็นพระภิกษุในธรรมยุติกนิกายเมื่อ พ.ศ. 2393 ต่อมา พระองค์ด้วงเมื่อได้ครองราชย์เป็นกษัติย์กัมพูชา ได้มาขอพระภิกษุในธรรมยุติกนิกายไปประดิษฐานในกัมพูชา พระมหาปานได้เดินทางกลับกัมพูชาพร้อมกับพระภิกษุอื่นเมื่อ พ.ศ. 2398 โดยครั้งแรกได้ประทับที่วัดศาลาคู เมืองอุดงค์มีชัย และได้เลื่อนสมณศักดิ์ขึ้นเป็นสมเด็จพระสุคนธาธิบดี ภายหลังได้มาประทับที่วัดปทุมวดีราชวรารามและได้เป็นสังฆนายกฝ่ายธรรมยุติกนิกาย พระองค์มีความสามารถในเชิงกวี และได้นิพนธ์ผลงานไว้หลายเรื่อง เช่น รบากษัตริย์ เลบิกอังกอร์วัดแบบเก่า พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อพ.ศ. 2437

สมเด็จพระหริรักษรามา หรือ พระองค์ด้วง เป็นผู้ขอให้รัชกาลที่ 4 ส่งพระมหาปาน นำธรรมยุติกนิกายมาเผยแผ่ในกัมพูชาในสมัยของพระองค์ในช่วง พ.ศ. 2398

พระประวัติ

กำเนิด

สมเด็จพระสุคนธาธิบดี มีพระนามเดิมว่าปาน หรือ ปาง ประสูติในวันพฤหัสบดี แรม 1 ค่ำ เดือน 12 (เดือนกัตติกะ) ปีจอ พ.ศ. 2370 ในหมู่บ้านแพรก พระเสด็จ จังหวัดพระตะบอง ไม่ปรากฏนามบิดามารดา แต่บิดามารดาของท่านได้หนีไปอาศัยอยู่ในจังหวัดพระตะบอง เนื่องจากออกญาเดโช (แทน) ก่อการจลาจล เมื่ออายุได้ 12 ปี จึงบวชเป็นสามเณรที่วัดโพธิ์ ตำบลสังแก จังหวัดพระตะบอง ในคณะมหานิกาย แล้วได้เข้ามากรุงเทพ อยู่ที่วัดสระเกศ คณะมหานิกาย

บวชแปลงนิกาย

 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า หรือพระวชิรญาณภิกขุ ผู้เป็นอุปัชฌาย์ของพระมหาปาน และเมื่อลาผนวชขึ้นครองราชย์ ได้ส่งพระมหาปาน นำพระพุทธศาสนาแบบธรรมยุติกนิกายไปเผยแผ่ในกัมพูชา

ต่อมาเมื่ออายุ 21 ปี จึงอุปสมบทเป็นพระภิกษุ คณะมหานิกายจำพรรษาที่วัดสระเกศได้ 4 พรรษา เวลานั้นได้ถวายตัวเป็นศิษย์พระวชิรญาณเถระ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) โปรดให้ศึกษาพระวินัยในสำนักเจ้าคุณพระญาณรักขิต (สุด) เจ้าอธิการวัดบรมนิวาส คณะธรรมยุตินิกาย

ต่อมาในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 (เดือนอาสาฬหะ) ปีระกา เอกศก พ.ศ. 2393 ค.ศ.1849 พระปานอายุ 24 ปี จึงบวชแปลงเป็นพระธรรมยุตินิกาย โดยมีพระวชิรญาณเถระเป็นพระอุปัชฌาย์ พระญาณรักขิต (สุด) เป็นกรรมวาจารย์ พระอมราภิรักขิต (เกิด) เป็นอนุสาวนาจารย์ มีฉายาว่า "ปัญญาสีโล" ต่อมาสอบได้ความรู้เป็นเปรียญธรรมเป็น "พระมหาปาน"

นำธรรมยุติกนิกายไปกัมพูชา

ในปี พ.ศ. 2398 สมเด็จพระหริรักษรามา (พระองค์ด้วง) ขอพระราชทานธรรมยุตินิกายเพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาธรรมยุตินิกายในกัมพูชา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดให้พระมหาปานพร้อมด้วย พระอมราภิรักขิต (เกิด) และพระสงฆ์ 8 รูป อุบาสก 4 คน เดินทางไปสืบศาสนายังกรุงกัมพูชา สมเด็จพระหริรักษ์รามาอิศราธิบดี ทรงนิมนต์พระมหาปานให้จำพรรษาอยู่ที่วัดศาลาคู่ (วัดอ์พิลปี) กรุงอุดงค์มีชัย พระมหาปาน ได้เลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระอริยวงศ์ พระวิมลธรรม พระมหาวิมลธรรม ตามลำดับ ภายเป็นหลังเป็นสมเด็จพระสุคนธาธิบดี

ผลงานนิพนธ์

สมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน) เป็นกวีและปราชญ์ในราชสำนักสมเด็จพระหริรักษรามาธิศราธิบดี กับสมเด็จพระนโรดม ผลงานนิพนธ์ของท่านหลายเรื่องตกทอดมาถึงปัจจุบัน เช่น รบากษัตริย์ (พระราชพงศาวดารกรุงกัมพูชา) ที่แต่งร่วมกับออกญาสุนธรโวหาร (มุก) และลเบิกอังกอร์วัดแบบเก่า (เลฺบีกองฺครวตฺตแบบจาส่) สมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน) สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2437 พระชนม์ได้ 68 พรรษา ตรงกับรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวของไทยและสมเด็จพระนโรดม (พระองค์ราชาวดี) ของกัมพูชา

ศาสนสัมพันธ์กับสยาม

บทบาทของสมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน) กับการสื่อสารทางการเมืองของไทย เกิดขึ้นตอนที่ พระอมราภิรักขิต (อมโร เกิด) พระสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่ของไทย และในฐานะพระคู่สวด ของพระมหาปานขณะบวชที่วัดบรมนิวาส ที่กรุงเทพมหานคร โดยสมณสาส์นฉบับนี้เป็นการสอบถามข่าวคราวเกี่ยวกับประเทศกัมพูชาภายหลังจากตกเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศส โดยได้ใช้การอ้างอิงข้อความจากพระไตรปิฎกมาเป็นตัวอย่างเปรียบเทียบกับเหตุการณ์ของประเทศกัมพูชาในเวลานั้น สมณสาส์นฉบับนี้จึงมีความสำคัญในแง่ที่แสดงให้เห็นถึงความคิดของชนชั้นนำของสังคมไทย (โดยเฉพาะกลุ่มพระสงฆ์) ที่มีต่อกัมพูชาเมื่อตกเป็นรัฐอารักขาของฝรั่งเศสได้เป็นอย่างดี แม้จะไม่มีหลักฐานว่าสมเด็จพระสุคนธาธิบดี จะตอบคำถามจดหมายสมณสาส์น หรือไม่ ? / แต่สาระสำคัญทำให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างพระพุทธศาสนาไทยและกัมพูชา รวมไปถึงบทบาทของพระสุคนธาธิบดี (ปาน) ในฐานะสมเด็จพระสังฆราชฝ่ายธรรมยุติกนิกายรูปแรกในประเทศกัมพูชาด้วยเช่นกัน

 
พระอมราภิรักขิต (เกิด อมโร) อดีตเจ้าอาวาสวัดบรมนิวาส ผู้เป็นกัลยาณมิตรกับสมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน)

อ้างอิง

ศานติ ภักดีคำ. เขมรสมัยหลังพระนคร. กทม. มติชน. 2556 หน้า 170 - 171

  1. พระระพิน พุทธิสาโร. (2559). ธรรมยุติกนิกายในกัมพูชา : ความสัมพันธ์ทางการเมืองและศาสนาของไทยและกัมพูชา. วารสารพุทธอาเซียน ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2559
  2. รศ.ดร.ศานติ ภักดีคำ. (2553-2554). สมณสาส์นการเมือง กัมพูชา-สยาม-ฝรั่งเศส ของพระอมราภิรักขิต (อมโร เกิด) ถึงสมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน) พระสังฆราชเมืองเขมร Political Letter of Phra Amaraphirakkhit : Relations among Siam-Cambodia-France. วารสารหน้าจั่ว ปีที่ 7 ฉบับเดือน กันยายน 2553-สิงหาคม 2554 หน้า : 63-81. https://www.tci-thaijo.org/index.php/NAJUA/article/view/16604/15020

สมเด, จพระส, คนธาธ, บด, ปาน, ปญ, ญาส, โล, เขมร, សម, ចព, គន, បត, បញ, เป, นพระภ, กษ, สงฆ, สำค, ญองค, หน, งของก, มพ, ชา, ประส, เม, 2370, เม, องพระตะบอง, บวชเป, นสามเณรต, งแต, อาย, แล, วจ, งเข, ามาอย, ในกร, งเทพฯ, และได, ปสมบทเป, นพระภ, กษ, งก, ดมหาน, กาย, อมาได, . smedcphrasukhnthathibdi pan py yasiol ekhmr សម ត ចព រ ស គន ធ ធ បត ប ន បញ ញ ស ល epnphraphiksusngkhthisakhyxngkhhnungkhxngkmphucha prasutiemux ph s 2370 thiemuxngphratabxng bwchepnsamenrtngaetxayu 12 pi aelwcungekhamaxyuinkrungethph aelaidxupsmbthepnphraphiksusngkdmhanikay txmaidthwaytwepnsisyinrchkalthi 4 emuxyngthrngphnwchepnphraphiksu aelatxmaidbwchaeplngepnphraphiksuinthrrmyutiknikayemux ph s 2393 txma phraxngkhdwngemuxidkhrxngrachyepnkstiykmphucha idmakhxphraphiksuinthrrmyutiknikayippradisthaninkmphucha phramhapanidedinthangklbkmphuchaphrxmkbphraphiksuxunemux ph s 2398 odykhrngaerkidprathbthiwdsalakhu emuxngxudngkhmichy aelaideluxnsmnskdikhunepnsmedcphrasukhnthathibdi phayhlngidmaprathbthiwdpthumwdirachwraramaelaidepnsngkhnaykfaythrrmyutiknikay phraxngkhmikhwamsamarthinechingkwi aelaidniphnthphlnganiwhlayeruxng echn rbakstriy elbikxngkxrwdaebbeka phraxngkhsinphrachnmemuxph s 2437 smedcphrahrirksrama hrux phraxngkhdwng epnphukhxihrchkalthi 4 sngphramhapan nathrrmyutiknikaymaephyaephinkmphuchainsmykhxngphraxngkhinchwng ph s 2398 enuxha 1 phraprawti 1 1 kaenid 1 2 bwchaeplngnikay 1 3 nathrrmyutiknikayipkmphucha 1 4 phlnganniphnth 1 5 sasnsmphnthkbsyam 2 xangxingphraprawti aekikhkaenid aekikh smedcphrasukhnthathibdi miphranamedimwapan hrux pang prasutiinwnphvhsbdi aerm 1 kha eduxn 12 eduxnkttika picx ph s 2370 inhmubanaephrk phraesdc cnghwdphratabxng impraktnambidamarda aetbidamardakhxngthanidhniipxasyxyuincnghwdphratabxng enuxngcakxxkyaedoch aethn kxkarclacl emuxxayuid 12 pi cungbwchepnsamenrthiwdophthi tablsngaek cnghwdphratabxng inkhnamhanikay aelwidekhamakrungethph xyuthiwdsraeks khnamhanikay bwchaeplngnikay aekikh phrabathsmedcphracxmeklaeca hruxphrawchiryanphikkhu phuepnxupchchaykhxngphramhapan aelaemuxlaphnwchkhunkhrxngrachy idsngphramhapan naphraphuththsasnaaebbthrrmyutiknikayipephyaephinkmphucha txmaemuxxayu 21 pi cungxupsmbthepnphraphiksu khnamhanikaycaphrrsathiwdsraeksid 4 phrrsa ewlannidthwaytwepnsisyphrawchiryanethra phrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhw oprdihsuksaphrawinyinsankecakhunphrayanrkkhit sud ecaxthikarwdbrmniwas khnathrrmyutinikaytxmainwnaerm 1 kha eduxn 8 eduxnxasalha piraka exksk ph s 2393 kh s 1849 phrapanxayu 24 pi cungbwchaeplngepnphrathrrmyutinikay odymiphrawchiryanethraepnphraxupchchay phrayanrkkhit sud epnkrrmwacary phraxmraphirkkhit ekid epnxnusawnacary michayawa pyyasiol txmasxbidkhwamruepnepriyythrrmepn phramhapan nathrrmyutiknikayipkmphucha aekikh inpi ph s 2398 smedcphrahrirksrama phraxngkhdwng khxphrarachthanthrrmyutinikayephuxephyaephphraphuththsasnathrrmyutinikayinkmphucha phrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwcungoprdihphramhapanphrxmdwy phraxmraphirkkhit ekid aelaphrasngkh 8 rup xubask 4 khn edinthangipsubsasnayngkrungkmphucha smedcphrahrirksramaxisrathibdi thrngnimntphramhapanihcaphrrsaxyuthiwdsalakhu wdxphilpi krungxudngkhmichy phramhapan ideluxnsmnskdi epnphraxriywngs phrawimlthrrm phramhawimlthrrm tamladb phayepnhlngepnsmedcphrasukhnthathibdi 1 phlnganniphnth aekikh smedcphrasukhnthathibdi pan epnkwiaelaprachyinrachsanksmedcphrahrirksramathisrathibdi kbsmedcphranordm phlnganniphnthkhxngthanhlayeruxngtkthxdmathungpccubn echn rbakstriy phrarachphngsawdarkrungkmphucha thiaetngrwmkbxxkyasunthrowhar muk aelalebikxngkxrwdaebbeka el bikxng khrwt taebbcas smedcphrasukhnthathibdi pan sinphrachnminpi ph s 2437 phrachnmid 68 phrrsa trngkbrchkalphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhwkhxngithyaelasmedcphranordm phraxngkhrachawdi khxngkmphucha sasnsmphnthkbsyam aekikh bthbathkhxngsmedcphrasukhnthathibdi pan kbkarsuxsarthangkaremuxngkhxngithy ekidkhuntxnthi phraxmraphirkkhit xmor ekid phrasngkhchnphuihykhxngithy aelainthanaphrakhuswd khxngphramhapankhnabwchthiwdbrmniwas thikrungethphmhankhr odysmnsasnchbbniepnkarsxbthamkhawkhrawekiywkbpraethskmphuchaphayhlngcaktkepnrthinxarkkhakhxngfrngess odyidichkarxangxingkhxkhwamcakphraitrpidkmaepntwxyangepriybethiybkbehtukarnkhxngpraethskmphuchainewlann smnsasnchbbnicungmikhwamsakhyinaengthiaesdngihehnthungkhwamkhidkhxngchnchnnakhxngsngkhmithy odyechphaaklumphrasngkh thimitxkmphuchaemuxtkepnrthxarkkhakhxngfrngessidepnxyangdi 2 aemcaimmihlkthanwasmedcphrasukhnthathibdi catxbkhathamcdhmaysmnsasn hruxim aetsarasakhythaihehnkhwamechuxmoyngrahwangphraphuththsasnaithyaelakmphucha rwmipthungbthbathkhxngphrasukhnthathibdi pan inthanasmedcphrasngkhrachfaythrrmyutiknikayrupaerkinpraethskmphuchadwyechnkn phraxmraphirkkhit ekid xmor xditecaxawaswdbrmniwas phuepnklyanmitrkbsmedcphrasukhnthathibdi pan xangxing aekikhsanti phkdikha ekhmrsmyhlngphrankhr kthm mtichn 2556 hna 170 171 phraraphin phuththisaor 2559 thrrmyutiknikayinkmphucha khwamsmphnththangkaremuxngaelasasnakhxngithyaelakmphucha warsarphuththxaesiyn pithi 1 chbbthi 2 krkdakhm thnwakhm 2559 rs dr santi phkdikha 2553 2554 smnsasnkaremuxng kmphucha syam frngess khxngphraxmraphirkkhit xmor ekid thungsmedcphrasukhnthathibdi pan phrasngkhrachemuxngekhmr Political Letter of Phra Amaraphirakkhit Relations among Siam Cambodia France warsarhnacw pithi 7 chbbeduxn knyayn 2553 singhakhm 2554 hna 63 81 https www tci thaijo org index php NAJUA article view 16604 15020ekhathungcak https th wikipedia org w index php title smedcphrasukhnthathibdi pan py yasiol amp oldid 9317658, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม