fbpx
วิกิพีเดีย

สสารควาร์ก

สสารควาร์ก (อังกฤษ: Quark matter หรือ QCD matter; ดูเพิ่มใน QCD) มีความหมายถึงสถานะของสสารในทฤษฎีจำนวนหนึ่งซึ่งมีค่าองศาความเป็นอิสระครอบคลุมไปถึงควาร์กกับกลูออน สถานะของสสารในทางทฤษฎีเหล่านี้สามารถเกิดขึ้นได้ในสภาวะที่มีความหนาแน่นและอุณหภูมิสูงยิ่งยวด คือนับพันล้านเท่าของค่าที่สามารถเกิดขึ้นได้ในสภาวะสมดุลในห้องทดลอง ภายใต้สภาวะยิ่งยวดนั้น โครงสร้างของสสารซึ่งเรารู้จักคุ้นเคยกันที่ประกอบไปด้วยนิวเคลียสอะตอม (ซึ่งประกอบด้วยนิวคลีออน อันเป็นการรวมตัวกันของควาร์ก) กับอิเล็กตรอน จะล่มสลายลง สำหรับสสารควาร์กแล้ว การคำนึงถึงโครงสร้างสสารควรยึดถือตัวควาร์กนั่นเองเป็นค่าองศาความเป็นอิสระพื้นฐาน

ในแบบจำลองมาตรฐานของการศึกษาฟิสิกส์อนุภาค แรงที่แข็งแกร่งที่สุดคืออันตรกิริยาอย่างเข้ม ซึ่งสามารถอธิบายได้ตามทฤษฎีควอนตัมโครโมไดนามิกส์ (QCD) ที่สภาวะความหนาแน่นและอุณหภูมิปกติ แรงนี้จะประกอบไปด้วยควาร์กที่รวมตัวกันเป็นอนุภาค (ฮาดรอน) ซึ่งมีขนาดประมาณ 10−15 ม. = 1 เฟมโตเมตร = 1 fm (เทียบกับมาตรวัดพลังงานของ QCD ΛQCD ≈ 200 MeV) และไม่สามารถส่งผลกระทบได้ที่ระยะทางไกลๆ อย่างไรก็ดี เมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นจนถึงระดับพลังงาน QCD (ประมาณ 1012 เคลวิน) หรือความหนาแน่นเพิ่มขึ้นจนถึงจุดที่ระยะห่างภายในควาร์กเฉลี่ยน้อยกว่า 1 fm ฮาดรอนจะหลอมละลายกลายไปเป็นควาร์กที่เป็นองค์ประกอบ อันตรกิริยาชนิดเข้มก็จะกลายเป็นคุณลักษณะหลักทางกายภาพ สภาวะเช่นนี้แหละที่เรียกว่า สสารควาร์ก หรือสสาร QCD

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

  • S. Hands, "The phase diagram of QCD" arXiv:physics/0105022 Contemp. Phys. 42, 209 (2001).
  • K. Rajagopal, "Free the quarks" SLAC Beam Line 31N2:9-15,2001

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Virtual Journal on QCD Matter
  • RHIC finds Exotic Antimatter

สสารควาร, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, งกฤษ, quark, matter, หร, ma. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir ssarkhwark xngkvs Quark matter hrux QCD matter duephimin QCD mikhwamhmaythungsthanakhxngssarinthvsdicanwnhnungsungmikhaxngsakhwamepnxisrakhrxbkhlumipthungkhwarkkbkluxxn sthanakhxngssarinthangthvsdiehlanisamarthekidkhunidinsphawathimikhwamhnaaennaelaxunhphumisungyingywd khuxnbphnlanethakhxngkhathisamarthekidkhunidinsphawasmdulinhxngthdlxng phayitsphawayingywdnn okhrngsrangkhxngssarsungeraruckkhunekhyknthiprakxbipdwyniwekhliysxatxm sungprakxbdwyniwkhlixxn xnepnkarrwmtwknkhxngkhwark kbxielktrxn calmslaylng sahrbssarkhwarkaelw karkhanungthungokhrngsrangssarkhwryudthuxtwkhwarknnexngepnkhaxngsakhwamepnxisraphunthaninaebbcalxngmatrthankhxngkarsuksafisiksxnuphakh aerngthiaekhngaekrngthisudkhuxxntrkiriyaxyangekhm sungsamarthxthibayidtamthvsdikhwxntmokhromidnamiks QCD thisphawakhwamhnaaennaelaxunhphumipkti aerngnicaprakxbipdwykhwarkthirwmtwknepnxnuphakh hadrxn sungmikhnadpraman 10 15 m 1 efmotemtr 1 fm ethiybkbmatrwdphlngngankhxng QCD LQCD 200 MeV aelaimsamarthsngphlkrathbidthirayathangikl xyangirkdi emuxxunhphumiephimsungkhuncnthungradbphlngngan QCD praman 1012 ekhlwin hruxkhwamhnaaennephimkhuncnthungcudthirayahangphayinkhwarkechliynxykwa 1 fm hadrxncahlxmlalayklayipepnkhwarkthiepnxngkhprakxb xntrkiriyachnidekhmkcaklayepnkhunlksnahlkthangkayphaph sphawaechnniaehlathieriykwa ssarkhwark hruxssar QCDhnngsuxxanephimetim aekikhS Hands The phase diagram of QCD arXiv physics 0105022 Contemp Phys 42 209 2001 K Rajagopal Free the quarks SLAC Beam Line 31N2 9 15 2001aehlngkhxmulxun aekikhVirtual Journal on QCD Matter RHIC finds Exotic Antimatter bthkhwamekiywkbfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy fisiksekhathungcak https th wikipedia org w index php title ssarkhwark amp oldid 5602460, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม