fbpx
วิกิพีเดีย

หญ้าน้ำค้าง

หญ้าน้ำค้าง
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Eudicots
ไม่ได้จัดลำดับ: Core eudicots
อันดับ: Caryophyllales
วงศ์: Droseraceae
สกุล: Drosera
สปีชีส์: D.  indica
ชื่อทวินาม
Drosera indica
L. (1753)

หญ้าน้ำค้าง หรือ หยาดน้ำค้าง เป็นพืชกินแมลงในสกุลหยาดน้ำค้าง กระจายพันธุ์ในเขตร้อน พบได้ในประเทศออสเตรเลียและทวีปเอเชียจนถึงทวีปแอฟริกาแต่ไม่พบในเขตนีโอทรอปิค

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

 
ดอกของหญ้าน้ำค้าง

หญ้าน้ำค้างเป็นพืชล้มลุก มีระบบรากเป็นเส้น ลำต้นสูงได้ถึง 30 ซม. ไม่มีหูใบ ใบเรียวยาวได้กว่า 10 ซม. กว้างประมาณ 1-2 มม. ปลายใบม้วนงอมีขน ใบมีสีเขียวเหลืองจนถึงแดงเข้ม ปลายขนมีต่อมเมือกใสเหนียว ช่อดอกออกที่ซอกใบทางตอนปลาย ยาวได้กว่า 10 ซม. มีได้ถึง 20 ดอกในแต่ละช่อ กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 3-5 มม. กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาวเกือบ 1 ซม. มีสีขาว สีชมพู หรือสีม่วง ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. เกสรเพศผู้มี 5 อัน แยกกัน ยาวประมาณ 4 มม. อับเรณูรูปขอบขนาน เกสรเพศเมียมี 3 อัน แยกเป็น 2 แฉกเกือบถึงโคนก้าน แคปซูลมี 3 ซีก รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 3 มม.

การกระจายพันธุ์

หญ้าน้ำค้างมีเขตการกระจายพันธุ์กว้างในแถบทวีปเอเชียเขตร้อน จนถึงแอฟริกาและออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบทุกภาคขึ้นตามที่ชื้นแฉะ ที่โล่งและดินที่ไม่สมบูรณ์ พบมากที่ภาคตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือ

อ้างอิง

  1. Lowrie, Alan. 1998. Carnivorous plants of Australia, volume 3. University of Western Australia Press. 288 pp. illus. (p. 180)
  2. หญ้าน้ำค้าง สารานุกรมพืชในประเทศไทย สำนักงานหอพรรณไม้
  3. หยาดน้ำค้าง Neofarm
  • Larsen, K. (1987). Droseraceae. In T. Smitinand & K. Larsen (eds.), Flora of Thailand Vol. 2 part 1: 67-69.
  • Smith, A.W. (1997). A Gardener's Handbook of Plant Names Their Meaning and Origin. Dover Publication, Inc. Mineola, New York: 136.

หญ, าน, ำค, าง, การจำแนกช, นทางว, ทยาศาสตร, อาณาจ, กร, plantaeไม, ได, ดลำด, angiospermsไม, ได, ดลำด, eudicotsไม, ได, ดลำด, core, eudicotsอ, นด, caryophyllalesวงศ, droseraceaeสก, droseraสป, indicaช, อทว, นามdrosera, indical, 1753, หร, หยาดน, ำค, าง, เป, นพ, ชก,. hyanakhangkarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Plantaeimidcdladb Angiospermsimidcdladb Eudicotsimidcdladb Core eudicotsxndb Caryophyllaleswngs Droseraceaeskul Droseraspichis D indicachuxthwinamDrosera indicaL 1753 hyanakhang hrux hyadnakhang epnphuchkinaemlnginskulhyadnakhang kracayphnthuinekhtrxn phbidinpraethsxxsetreliyaelathwipexechiycnthungthwipaexfrikaaetimphbinekhtnioxthrxpikhlksnathangphvkssastr aekikh dxkkhxnghyanakhang hyanakhangepnphuchlmluk mirabbrakepnesn latnsungidthung 30 sm immihuib iberiywyawidkwa 10 sm kwangpraman 1 2 mm playibmwnngxmikhn ibmisiekhiywehluxngcnthungaedngekhm playkhnmitxmemuxkisehniyw chxdxkxxkthisxkibthangtxnplay yawidkwa 10 sm miidthung 20 dxkinaetlachx klibeliyngrupibhxk yaw 3 5 mm klibdxkrupikhklb yawekuxb 1 sm misikhaw sichmphu hruxsimwng 1 kandxkyaw 0 5 1 5 sm eksrephsphumi 5 xn aeykkn yawpraman 4 mm xbernurupkhxbkhnan eksrephsemiymi 3 xn aeykepn 2 aechkekuxbthungokhnkan aekhpsulmi 3 sik rupkhxbkhnan yawpraman 3 mm 2 karkracayphnthu aekikhhyanakhangmiekhtkarkracayphnthukwanginaethbthwipexechiyekhtrxn cnthungaexfrikaaelaxxsetreliy inpraethsithyphbthukphakhkhuntamthichunaecha thiolngaeladinthiimsmburn 2 phbmakthiphakhtawnxxkaelatawnxxkechiyngehnux 3 xangxing aekikh Lowrie Alan 1998 Carnivorous plants of Australia volume 3 University of Western Australia Press 288 pp illus p 180 2 0 2 1 hyanakhang saranukrmphuchinpraethsithy sanknganhxphrrnim hyadnakhang Neofarm Larsen K 1987 Droseraceae In T Smitinand amp K Larsen eds Flora of Thailand Vol 2 part 1 67 69 Smith A W 1997 A Gardener s Handbook of Plant Names Their Meaning and Origin Dover Publication Inc Mineola New York 136 khxmmxns miphaphaelasuxekiywkb hyanakhangekhathungcak https th wikipedia org w index php title hyanakhang amp oldid 6041065, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม