fbpx
วิกิพีเดีย

หัวเหยียนฝ่าเจี้ยกวนเหมิน

หัวเหยียนฝ่าเจี้ยกวนเหมิน (華嚴法界觀門) หรือ "อวตังสกธรรมธาตุพิจารณ์ทวารบท" จำนวน 1 ผูก แต่งโดยพระเถระตู้ซุ่น บูรพาจารย์แห่งนิกายหัวเหยียน เป็นปกรณ์รองของนิกายหัวเหยียน ปัจจุบันไม่หลงเป็นครบเล่มทั้งคัมภีร์ มีเพียงข้อความบางส่วนปรากฏในปกรณ์อื่นๆ เช่นใน "หัวเหยียนฟาผูถีซินจาง" (華嚴發菩提心章) หรือ "อวตังสกโพธายะวัณณนา" (พรรณนาว่าด้วยการปลุกโพธิจิตตามแนวทางอวตังสกะ) ซึ่งรจนาโดยพระเถระฝ่าจั้ง รวมในอรรถกถาที่รจนาพระเถระรุ่นหลังๆ เช่น พระเถระเฉิงกวน พระเถระจงมี่ เป็นต้น

เนื้อหา

"หัวเหยียนฝ่าเจี้ยกวนเหมิน" ด้วยการพิจารณ์ (กวน - 觀) 3 ประการ คือ 1. ศูนยตาโดยแท้จริง 2. อประติหตะแห่งมูลและการณ์ (ลี่ซื่ออู๋ไอ้ฝ่าเจี้ย - 理事無礙法界) 3. การแทงทะลุและสถิติเสถียร โดยสังขป ปกรณ์นี้เป็นรากฐานของคำสอนนิกายหัวเหยียน ที่คณาจารย์ต่างๆ จะใช้เป็นแนวทางในกาลต่อมา โดยเฉพาะการอธิบายหลัก "มูล" (ลี่ - 理) และ "การณ์" (ซื่อ - 事) ซึ่งเป็นหลักคำสอนอันเป็นเอกลักษณ์ของพุทธศาสนาสายที่มีจุดกำเนิดในจีน

อรรถาธิบาย

ปกรณ์ที่รจนาขึ้นเพื่ออธิบาย "หัวเหยียนฝ่าเจี้ยกวนเหมิน" ล้วนแต่โดยคณาจารย์ในนิกายยุคหลัง เช่น หัวเหยียนฝ่าเจี้ยเสวียนจิ้ง (華嚴法界玄境) หรือ หลักธรรมอันสุขุมคัมภีรภาพแห่งอวตังสกธรรมธาตุ รจนาโดยพระเถระเฉิงกวน จำนวน 2 ผูก, จู้หัวเหยียนฝ่าเจี้ยกวนเหมิน (注華嚴法界觀門) หรือ อรรถาธิบายอวตังสกธรรมธาตุพิจารณ์ทวารบท จำนวน 1 ผูก รจนาโดยพระเถระจงมี่ และจู้หัวเหยียนจิงถีฝ่าเจี้ยกวนเหมินซ่ง (注華嚴經題法界觀門頌) หรือศาสตร์อรรถาธิบายหัวเรื่องอวตังสกธรรมธาตุพิจารณ์ทวารบท จำนวน 2 ผูก

ตัวบทปกรณ์

華嚴法界觀門

華嚴法界玄境

注華嚴法界觀門

อ้างอิง

  1. The Princeton Dictionary of Buddhism
  2. The Princeton Dictionary of Buddhism
  3. A Sanskrit-English dictionary
  4. A Dictionary of Chinese Buddhist Terms. Oxford, England
  5. 法界观门

บรรณานุกรม

  • Robert E. Buswell Jr.,Donald S. Lopez Jr. (2013). The Princeton Dictionary of Buddhism
  • Arthur Anthony Macdonell. (1893) A Sanskrit-English dictionary, being a practical handbook with transliteration, accentuation, and etymological analysis throughout. London New York, Longmans, Green and co.
  • William Edward Soothill and Lewis Hodous. (1934) A Dictionary of Chinese Buddhist Terms. Oxford, England
  • Steven M. Emmanuel. (2013) A Companion to Buddhist Philosophy
  • 法界观门 ใน http://baike.baidu.com/view/738320.htm

วเหย, ยนฝ, าเจ, ยกวนเหม, 華嚴法界觀門, หร, อวต, งสกธรรมธาต, จารณ, ทวารบท, จำนวน, แต, งโดยพระเถระต, รพาจารย, แห, งน, กายห, วเหย, ยน, เป, นปกรณ, รองของน, กายห, วเหย, ยน, จจ, นไม, หลงเป, นครบเล, มท, งค, มภ, เพ, ยงข, อความบางส, วนปรากฏในปกรณ, นๆ, เช, นใน, วเหย, ยนฟาผ, น. hwehyiynfaeciykwnehmin 華嚴法界觀門 hrux xwtngskthrrmthatuphicarnthwarbth canwn 1 phuk aetngodyphraethratusun burphacaryaehngnikayhwehyiyn epnpkrnrxngkhxngnikayhwehyiyn pccubnimhlngepnkhrbelmthngkhmphir miephiyngkhxkhwambangswnpraktinpkrnxun echnin hwehyiynfaphuthisincang 華嚴發菩提心章 hrux xwtngskophthayawnnna phrrnnawadwykarplukophthicittamaenwthangxwtngska sungrcnaodyphraethrafacng rwminxrrthkthathircnaphraethrarunhlng echn phraethraechingkwn phraethracngmi epntn 1 enuxha 1 enuxha 2 xrrthathibay 3 twbthpkrn 4 xangxing 5 brrnanukrmenuxha aekikh hwehyiynfaeciykwnehmin dwykarphicarn kwn 觀 3 prakar khux 1 sunytaodyaethcring 2 xpratihtaaehngmulaelakarn lisuxxuixfaeciy 理事無礙法界 3 karaethngthaluaelasthitiesthiyr odysngkhp pkrnniepnrakthankhxngkhasxnnikayhwehyiyn thikhnacarytang caichepnaenwthanginkaltxma odyechphaakarxthibayhlk mul li 理 aela karn sux 事 sungepnhlkkhasxnxnepnexklksnkhxngphuththsasnasaythimicudkaenidincin 2 3 4 xrrthathibay aekikhpkrnthircnakhunephuxxthibay hwehyiynfaeciykwnehmin lwnaetodykhnacaryinnikayyukhhlng echn hwehyiynfaeciyeswiyncing 華嚴法界玄境 hrux hlkthrrmxnsukhumkhmphirphaphaehngxwtngskthrrmthatu rcnaodyphraethraechingkwn canwn 2 phuk cuhwehyiynfaeciykwnehmin 注華嚴法界觀門 hrux xrrthathibayxwtngskthrrmthatuphicarnthwarbth canwn 1 phuk rcnaodyphraethracngmi aelacuhwehyiyncingthifaeciykwnehminsng 注華嚴經題法界觀門頌 hruxsastrxrrthathibayhweruxngxwtngskthrrmthatuphicarnthwarbth canwn 2 phuk 5 twbthpkrn aekikh華嚴法界觀門華嚴法界玄境注華嚴法界觀門xangxing aekikh The Princeton Dictionary of Buddhism The Princeton Dictionary of Buddhism A Sanskrit English dictionary A Dictionary of Chinese Buddhist Terms Oxford England 法界观门brrnanukrm aekikhRobert E Buswell Jr Donald S Lopez Jr 2013 The Princeton Dictionary of Buddhism Arthur Anthony Macdonell 1893 A Sanskrit English dictionary being a practical handbook with transliteration accentuation and etymological analysis throughout London New York Longmans Green and co William Edward Soothill and Lewis Hodous 1934 A Dictionary of Chinese Buddhist Terms Oxford England Steven M Emmanuel 2013 A Companion to Buddhist Philosophy 法界观门 in http baike baidu com view 738320 htmekhathungcak https th wikipedia org w index php title hwehyiynfaeciykwnehmin amp oldid 9217049, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม