fbpx
วิกิพีเดีย

อสูร

ตามความเชื่อในศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ อสูร (สันสกฤต: Asuraบาลี: असुर) คือเทวดาจำพวกหนึ่ง มีนิสัยดุร้าย เป็นปฏิปักษ์กับเทวดาพวกอื่นซึ่งอาศัยบนสวรรค์ อสูรเพศหญิงเรียกว่าอสุรี

พัฒนาการความเชื่อ

ในคัมภีร์ฤคเวทตอนต้นใช้คำว่า อสูร หมายถึงเทพชั้นหัวหน้า เช่น พระอินทร์ พระพิรุณ พระอัคนี และเป็นคำเดียวกับคำว่า อหุระ (Ahura) ในพระนาม “พระอหุระมาซดะพระเป็นเจ้าในศาสนาโซโรอัสเตอร์ สมัยต่อมา “อสูร” กลับใช้หมายถึง ศัตรูของเทพ ซึ่งพระประชาบดีทรงสร้างขึ้นมาจากลมหายใจของพระองค์ โดยคำว่า “อสุ” หมายถึงลมหายใจของพระประชาบดี คัมภีร์ชั้นหลังต่อมา เช่น ฤคเวทภาคหลัง อาถรรพเวท และปุราณะต่าง ๆ มีการตีความหมายใหม่ว่า “อสุระ” แปลว่า ไม่ใช่เทพ (อ- อุปสรรค/น นิบาต(ไม่ใช่, ไม่) + สุระ (เทพ)) คือเป็นอริกับเหล่าเทพ และปรากฏตำนานหลายเรื่องกล่าวถึงสงครามหรือความขัดแย้งระหว่างเทพกับอสูร เช่น ตอนกวนเกษียรสมุทรในกูรมาวตาร เทวาสุรสงคราม เป็นต้น

อสูร จึงกลายเป็นสัญลักษณ์ของความชั่ว ความโหดร้าย ต่างจากเทวดาซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความดีและความเมตตา

ศาสนาพุทธ

ศาสนาพุทธเชื่อว่า แต่เดิมอสูรเป็นเทวดาอาศัยในเมืองสุทัศน์ บนยอดเขาพระสุเมรุ มีท้าวเวปจิตติเป็นจอมเทพ ต่อมาถูกมฆมานพซึ่งมาเกิดเป็นพระอินทร์และบริวารมอมเหล้าจนไม่ได้สติ จึงถูกจับโยนลงมาอยู่ใต้เขาพระสุเมรุ ด้วยอำนาจบุญเก่าจึงเกิดเป็นเมืองใหม่ลักษณะเหมือนเมืองสุทัศน์ อยู่ใต้เขานั้นเป็นที่อาศัยของเหล่าอสูร เหล่าอสูรก้เข้าใจว่าตนยังอยู่บนเขาพระสุเมรุ จนเมื่อเห็นต้นแคฝอยในเมืองออกดอก อสูรจึงระลึกได้ว่าตนเองอยู่ใต้เขา เพราะในเมืองสุทัศน์มีต้นปาริชาต อสูรก็จะแต่งกองทัพอสูรยกไปหมายจะชิงเอาเมืองสุทัศน์คืน จึงเรียกว่า "เทวาสุรสงคราม" (สงครามระหว่างเทพกับอสูร) ทั้งสองฝ่ายผลัดกันแพ้ชนะเรื่อยมา ฝ่ายใดแพ้ก็จะหนีกลับเข้าเมือง ฝ่ายตรงข้ามไม่สามารถตีเข้าเมืองได้ ตกยกทัพกลับไป ทั้งสองเมืองจึงได้ชื่อว่าอยุชฌปุระ (เมืองที่ไม่มีใครรบชนะได้)

คัมภีร์มโนรถปูรณีระบุว่า อสูรผู้เป็นหัวหน้า (อสุรินฺท) มี 3 ตน ได้แก่ ท้าวเวปจิตติ พระราหู และท้าวปหาราทะ

อสูรที่สำคัญ

อ้างอิง

เชิงอรรถ
  1. พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย, หน้า 368
  2. พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย, หน้า 549
  3. ปรมัตถโชติกะ, หน้า 78
  4. อรรถกถาปหาราทสูตร, อรรถกถา อังคุตตรนิกาย อัฏฐกนิบาต ปัณณาสก์ มหาวรรคที่ ๒
บรรณานุกรม
  • ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย, กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2552.
  • พระสัทธัมมโชติกะ, ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริจเฉทที่ 5 เล่ม 1 วีถิมุตตสังคหะ ภูมิจตุกกะและปฏิสนธิจตุกกะ, พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ : มูลนิธิสัทธัมมโชติกะ, 2546.

อส, ตามความเช, อในศาสนาฮ, นด, และศาสนาพ, ทธ, นสกฤต, asura, บาล, अस, อเทวดาจำพวกหน, ยด, าย, เป, นปฏ, กษ, บเทวดาพวกอ, นซ, งอาศ, ยบนสวรรค, เพศหญ, งเร, ยกว, าอส, เน, อหา, ฒนาการความเช, ศาสนาพ, ทธ, สำค, างอ, งพ, ฒนาการความเช, แก, ไขในค, มภ, ฤคเวทตอนต, นใช, คำว, หมา. tamkhwamechuxinsasnahinduaelasasnaphuthth xsur snskvt Asura bali अस र khuxethwdacaphwkhnung minisyduray epnptipkskbethwdaphwkxunsungxasybnswrrkh xsurephshyingeriykwaxsuri enuxha 1 phthnakarkhwamechux 2 sasnaphuthth 3 xsurthisakhy 4 xangxingphthnakarkhwamechux aekikhinkhmphirvkhewthtxntnichkhawa xsur hmaythungethphchnhwhna echn phraxinthr phraphirun phraxkhni aelaepnkhaediywkbkhawa xhura Ahura inphranam phraxhuramasda phraepnecainsasnaosorxsetxr 1 smytxma xsur klbichhmaythung strukhxngethph sungphraprachabdithrngsrangkhunmacaklmhayickhxngphraxngkh odykhawa xsu hmaythunglmhayickhxngphraprachabdi 1 khmphirchnhlngtxma echn vkhewthphakhhlng xathrrphewth aelapuranatang mikartikhwamhmayihmwa xsura aeplwa imichethph x xupsrrkh n nibat imich im sura ethph khuxepnxrikbehlaethph 2 aelaprakttananhlayeruxngklawthungsngkhramhruxkhwamkhdaeyngrahwangethphkbxsur echn txnkwneksiyrsmuthrinkurmawtar ethwasursngkhram epntnxsur cungklayepnsylksnkhxngkhwamchw khwamohdray 2 tangcakethwdasungepnsylksnkhxngkhwamdiaelakhwamemttasasnaphuthth aekikhsasnaphuththechuxwa aetedimxsurepnethwdaxasyinemuxngsuthsn bnyxdekhaphrasuemru mithawewpcittiepncxmethph txmathukmkhmanphsungmaekidepnphraxinthraelabriwarmxmehlacnimidsti cungthukcboynlngmaxyuitekhaphrasuemru dwyxanacbuyekacungekidepnemuxngihmlksnaehmuxnemuxngsuthsn xyuitekhannepnthixasykhxngehlaxsur ehlaxsurkekhaicwatnyngxyubnekhaphrasuemru cnemuxehntnaekhfxyinemuxngxxkdxk xsurcungralukidwatnexngxyuitekha ephraainemuxngsuthsnmitnparichat 3 xsurkcaaetngkxngthphxsurykiphmaycachingexaemuxngsuthsnkhun cungeriykwa ethwasursngkhram sngkhramrahwangethphkbxsur thngsxngfayphldknaephchnaeruxyma fayidaephkcahniklbekhaemuxng faytrngkhamimsamarthtiekhaemuxngid tkykthphklbip thngsxngemuxngcungidchuxwaxyuchchpura emuxngthiimmiikhrrbchnaid khmphirmonrthpurnirabuwa xsurphuepnhwhna xsurin th mi 3 tn idaek thawewpcitti phrarahu aelathawpharatha 4 xsurthisakhy aekikhthawewpcitti phrarahu thsknthxangxing aekikhechingxrrth 1 0 1 1 phcnanukrmsphthwrrnkrrmithy hna 368 2 0 2 1 phcnanukrmsphthwrrnkrrmithy hna 549 prmtthochtika hna 78 xrrthkthapharathsutr xrrthktha xngkhuttrnikay xtthknibat pnnask mhawrrkhthi 2 brrnanukrmrachbnthitysthan phcnanukrmsphthwrrnkrrmithy krungethph rachbnthitysthan 2552 phrasththmmochtika prmtthochtika mhaxphithmmtthsngkhhdika pricechththi 5 elm 1 withimuttsngkhha phumictukkaaelaptisnthictukka phimphkhrngthi 6 krungethph mulnithisththmmochtika 2546 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xsur amp oldid 9505963, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม