fbpx
วิกิพีเดีย

อักษรฮันกึล

ฮันกึล (เกาหลี: 한글, Hangeul, Hangul) เป็นชื่อเรียกตัวอักษรของเกาหลีที่ได้ประดิษฐ์ขึ้นใช้แทนตัวอักษรฮันจา ฮันจานั้นหมายถึงตัวอักษรจีนที่ใช้ในภาษาเกาหลีก่อนที่จะมีการประดิษฐ์อักษรขึ้นใช้แทนโดยพระเจ้าเซจงมหาราช (세종대왕)

อักษรเกาหลี
한글 Hangeul (ฮันกึล)
조선글 Chosŏn'gŭl (โชซ็อนกึล)
ชนิดอักษรประสม
ภาษาพูดเกาหลี, เชจู, Cia-Cia
อักษรทางการใน:
ผู้ประดิษฐ์พระเจ้าเซจงมหาราช
ช่วงยุคค.ศ.1443 – ปัจจุบัน
ช่วงยูนิโคด
  • U+AC00–U+D7AF
  • U+1100–U+11FF
  • U+3130–U+318F
  • U+A960–U+A97F
  • U+D7B0–U+D7FF
ISO 15924Hang
อักษรฮันกึลส่วนใหญ่จะเขียนแนวนอน จากซ้ายไปขวา. ถ้าเขียนแนวตั้ง เหมือนในอดีต จะเขียนจากบนลงล่าง และส่วนใหญ่จะเขียนจากขวาไปซ้าย แต่บางครั้งจะมีบางอันเขียนจากซ้ายไปขวา
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด
"ฮันกึล" จะเห็นว่าใน 1 คำ ประกอบด้วยพยัญชนะและสระ
ภาพส่วนหนึ่งของเอกสาร "ฮูมิน จองอึม"

ประวัติ

กำเนิดการเขียนในเกาหลี

การเขียนภาษาจีนแพร่หลายเข้าสู่เกาหลีตั้งแต่เมื่อ 2,000 ปีมาแล้ว มีการใช้อย่างกว้างขวางเมื่อจีน เข้าปกครองเกาหลีในช่วง พ.ศ. 435–856 เมื่อประมาณ พ.ศ. 1000[ต้องการอ้างอิง] เริ่มเขียนภาษาเกาหลีด้วยอักษรจีนโบราณ เริ่มพบเมื่อราว พ.ศ. 947[ต้องการอ้างอิง] โดยมีระบบการเขียน 3 ระบบ คือ Hyangchal Gukyeol และ Idu ระบบเหล่านี้ใกล้เคียงกับระบบที่ใช้เขียนภาษาญี่ปุ่น

ระบบ Idu ใช้การผสมกันระหว่างอักษรจีนกับสัญลักษณ์พิเศษเพื่อแสดงการลงท้ายคำกริยาในภาษาเกาหลี และใช้ในเอกสารทางราชการและบันทึกส่วนตัวเป็นเวลาหลายศตวรรษ ระบบ Hyangchal ใช้อักษรจีนแสดงเสียงของภาษาเกาหลี ใช้ในการเขียนบทกวีเป็นหลัก ภาษาเกาหลียืมคำจากภาษาจีนเป็นจำนวนมาก ทำให้ภาษาเกาหลีสามารถอ่านหรือสื่อความหมายได้ด้วยอักษรจีน มีการประดิษฐ์สัญลักษณ์ขึ้นใหม่ราว 150 ตัว ส่วนใหญ่มีที่ใช้น้อยหรือเป็นชื่อเฉพาะ

การประดิษฐ์อักษรใหม่

อักษรฮันกึล ได้ประดิษฐ์โดยพระเจ้าเซจง (พ.ศ. 1940 - 1993 ครองราชย์ พ.ศ. 1961 - 1993) กษัตริย์องค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์โชซ็อนของเกาหลี แต่นักวิชาการบางคนตั้งข้อสังเกตว่าการประดิษฐ์อักษรเป็นงานที่ซับซ้อน อาจเป็นฝีมือของกลุ่มบัณฑิตสมัยนั้นมากกว่า แต่หลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้แสดงว่าบัณฑิตในสมัยนั้นต่างคัดค้านการใช้ตัวอักษรใหม่แทนตัวอักษรฮันจา ดังนั้น จึงได้มีการบันทึกว่าอักษรฮันกึลเป็นผลงานของพระเจ้าเซจงแต่เพียงพระองค์เดียว นอกจากนี้ ยังมีหลักฐานบางอย่างที่แสดงว่าพระญาติของพระเจ้าเซจองได้มีส่วนร่วมอย่างลับ ๆ ในการประดิษฐ์อักษร เพราะประเด็นนี้ในสมัยนั้นเป็นข้อขัดแย้งระหว่างบัณฑิตอย่างมาก

อักษรฮันกึลได้ประดิษฐ์เสร็จสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 1986 (ค.ศ. 1443) หรือ มกราคม ค.ศ. 1444 และถูกตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 1989 (ค.ศ. 1446) ในเอกสารที่ชื่อว่า "ฮุนมิน จองอึม" (ฮันกึล: 훈민정음, ฮันจา: 訓民正音; Hunmin Jeong-eum) หรือแปลว่า เสียงอักษรที่ถูกต้องเพื่อการศึกษาสำหรับประชาชน ซึ่งในวันที่ 9 ตุลาคม ของทุกปี ทางการเกาหลีใต้ได้ประกาศให้เป็น วันฮันกึล ซึ่งเป็นวันหยุดราชการ ส่วนในเกาหลีเหนือเป็นวันที่ 15 มกราคม

พระเจ้าเซจงมหาราชทรงให้เหตุผลของการประดิษฐ์ตัวอักษรใหม่ว่า อักษรจีนมีไม่เพียงพอที่จะเขียนคำเกาหลี และอักษรจีนนั้นเขียนยากเรียนยาก ทำให้ชาวบ้านรู้หนังสือน้อย ในสมัยนั้น เฉพาะชายในชนชั้นขุนนาง (ยังบัน) เท่านั้นที่มีสิทธิเรียนและเขียนตัวอักษรฮันจาได้ การประดิษฐ์และใช้ตัวอักษรใหม่แทนตัวอักษรเดิมนี้ถูกต่อต้านอย่างมากจากเหล่าบัณฑิต ซึ่งเห็นว่าตัวอักษรฮันจาเท่านั้นที่เป็นตัวอักษรที่ถูกต้องชอบธรรมที่สุด

กษัตริย์เซจงและนักปราชญ์ของพระองค์นำแนวคิดการประดิษฐ์อักษรใหม่มาจากอักษรมองโกเลียและอักษรพัก-ปา ทิศทางในการเขียนในแนวตั้งจากขวาไปซ้ายได้อิทธิพลจากอักษรจีน หลังการประดิษฐ์อักษรเกาหลีชาวเกาหลีส่วนใหญ่ยังเขียนด้วยอักษรจีน หรืออักษรระบบ Gukyeol หรือ Idu อักษรเกาหลีใช้เฉพาะชนชั้นระดับล่าง เช่นเด็ก ผู้หญิง และผู้ไร้การศึกษา ในช่วง พ.ศ. 2400 – 2500 การผสมผสานระหว่างการเขียนที่ใช้อักษรจีน (ฮันจา) และอักษรฮันกึลเริ่มเป็นที่นิยม ตั้งแต่ พ.ศ. 2492 ฮันจาถูกยกเลิกในเกาหลีเหนือ เว้นแต่การใช้ในตำราเรียนและหนังสือพิเศษบางเล่ม เมื่อราว พ.ศ. 2510 – 2512 จึงมีการฟื้นฟูการใช้ฮันจาอีกครั้งในเกาหลีเหนือ ในเกาหลีใต้มีการใช้ฮันจาตลอดมา วรรณคดีเกาหลีสมัยใหม่ส่วนใหญ่ และการเขียนที่ไม่เป็นทางการใช้ฮันกึลทั้งหมด แต่งานเขียนทางวิชาการและเอกสารราชการใช้ฮันกึลควบคู่กับฮันจา

จาโม

ดูเพิ่มที่ ตารางอักษรฮันกึล

โดยผิวเผินแล้ว อาจมองอักษรฮันกึลว่าอยู่ในระบบอักษรรูปภาพ แต่จริง ๆ แล้ว อักษรฮันกึลอยู่ในระบบอักษรแทนเสียง (Alphabet) อักษรฮันกึลมีตัวอักษรที่เรียกว่า จาโม (자모, 字母 อักษรแม่) ทั้งหมด 24 ตัว ประกอบด้วย พยัญชนะ 14 ตัว คือ ㄱ ㄴ ㄷ ㄹ ㅁ ㅂ ㅅ ㅇ ㅈ ㅊ ㅋ ㅌ ㅍ และ ㅎ และสระ 10 ตัว คือ ㅏ ㅑ ㅓ ㅕ ㅗ ㅛ ㅜ ㅠ ㅡ และ ㅣ

พยัญชนะและสระดังกล่าวเรียกว่า พยัญชนะเดี่ยว และสระเดี่ยว ตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีส่วนที่เรียกว่าพยัญชนะซ้ำ และสระประสมด้วย

พยัญชนะซ้ำมี 5 ตัว คือ ㄲ ㄸ ㅃ ㅆ และ ㅉ สระประสมมี 11 ตัว คือ ㅐ ㅒ ㅔ ㅖ ㅚ ㅟ ㅘ ㅙ ㅝ ㅞ และ ㅢ

อักษรนี้ได้แนวคิดจากรูปร่างของอวัยวะที่ใช้ออกเสียง พยัญชนะอื่นใช้การเพิ่มเส้นพิเศษลงบนพยัญชนะพื้นฐาน รูปร่างของสระได้แนวคิดจาก คน (เส้นตั้ง) โลก (เส้นนอน) และสวรรค์ (จุด) อักษรฮันกึลสมัยใหม่ จุดจะแสดงด้วยขีดสั้น มีช่องว่างระหว่างคำโดยคำนั้นอาจมีมากกว่า 1 พยางค์ เส้นของพยัญชนะบางตัวเปลี่ยนไปขึ้นกับว่าอยู่ต้น กลาง หรือท้ายพยางค์

การประสมอักษร

อักษรฮันกึล มีส่วนที่คล้ายภาษาไทย คือ พยางค์ในอักษรฮันกึลหนึ่งพยางค์จะเกิดจากการรวมกันของ พยัญชนะต้น และสระ หรือ พยัญชนะต้น, สระ และพยัญชนะสะกด แต่ภาษาเกาหลีไม่มีระดับวรรณยุกต์ การสร้างพยางค์หนึ่งพยางค์สามารถทำโดยการเขียนตำแหน่งพยัญชนะ, สระ และพยัญชนะสะกดแบบใดแบบหนึ่งใน 6 แบบดังนี้

กำหนดให้ สีแดง คือ พยัญชนะต้น, สีน้ำเงิน คือ สระ และ สีเขียว คือ พยัญชนะสะกด

รูปแบบ คำอธิบาย

 

- รูปแบบนี้ เป็นรูปแบบที่เขียนพยัญชนะต้นข้างหน้าสระ
- และสระที่เขียนในรูปแบบนี้ได้ต้องเป็นสระแนวตั้ง คือ ㅏ ㅑ ㅓ ㅕ ㅣ ㅐ ㅒ ㅔ และ ㅖ
- ตัวอย่าง 이= /อี/, 가 = /คา/, 저 = /ชอ/, 여 = /ยอ/, 나라 = /นา-รา/, 네 = /เน/, 먜 = /มเย/ (อ่านควบ)

 

- เป็นรูปแบบที่มีทั้งพยัญชนะต้น,สระ และพยัญชนะสะกด โดยพยัญชนะต้นอยู่ด้านหน้าสระในระดับเดียวกัน และ พยัญชนะสะกดอยู่ล่างสุด
- สระที่เขียนในรูปแบบนี้ได้ต้องเป็นสระแนวตั้ง คือ ㅏ ㅑ ㅓ ㅕ ㅣ ㅐ ㅒ ㅔ และ ㅖ
- ตัวอย่าง 안= /อัน/, 녕 = /นย็อง/ (อ่านควบ),상 = /ซ็อง/, 점심 = /ช็อม-ชิม/, 밥 = /พับ/

 

- รูปแบบนี้ เป็นรูปแบบที่พยัญชนะต้นอยู่ข้างบนสระ
- และสระที่เขียนในรูปแบบนี้ได้ต้องเป็นสระแนวนอน คือ ㅗ ㅛ ㅜ ㅠ และ ㅡ
- ตัวอย่าง 코 = /โค่/, 고 = /โค/, 아니오 = /อา-นี-โอ/, 토요일 = /โท-โย-อิล/, 변호사 = /พย็อน-โฮ-ซา/

 

- เป็นรูปแบบที่มีทั้งพยัญชนะต้น,สระ และพยัญชนะสะกด โดยเรียงลำดับจากบนลงล่าง
- สระที่เขียนในรูปแบบนี้ได้ต้องเป็นสระแนวนอน คือ ㅗ ㅛ ㅜ ㅠ และ ㅡ
-ตัวอย่าง 층 = /ชึ่ง/, 물 = /มุล/

 

- รูปแบบนี้ประกอบด้วยพยัญชนะต้นและสระ
- สระที่เขียนในรูปแบบนี้ได้ต้องเป็นสระ ㅚ ㅟ ㅢ ㅘ ㅙ ㅝ และ ㅞ
- ตัวอย่าง 화 = /ฮวา/

 

- รูปแบบนี้ประกอบด้วยพยัญชนะต้น,สระ และพยัญชนะสะกด
- สระที่เขียนในรูปแบบนี้ได้ต้องเป็นสระ ㅚ ㅟ ㅢ ㅘ ㅙ ㅝ และ ㅞ
- ตัวอย่าง 원 = /ว็อน/

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • Chang, Suk-jin (1996). "Scripts and Sounds". Korean. Philadelphia: John Benjamins Publishing Company. ISBN 1556197284. (Volume 4 of the London Oriental and African Language Library).
  • Hannas, William C (1997). Asia's Orthographic Dilemma. University of Hawaii Press. ISBN 082481892X.
  • Kim-Renaud, Y-K. (ed) 1997. The Korean Alphabet: Its History and Structure. University of Hawai`i Press.
  • Lee, Iksop. (2000). The Korean Language. (transl. Robert Ramsey) Albany, NJ: State University of New York Press. ISBN 0-7914-4831-2
  • The Ministry of Education of South Korea. (1988) Hangeul Matchumbeop.
  • Sampson, Geoffrey (1990). Writing Systems. Stanford University Press. ISBN 9780804717564.
  • Silva, David J. (2003). Western attitudes toward the Korean language: An Overview of Late Nineteenth and Early Twentieth-Century Mission Literature. Korean Studies. 2008, vol 26(2), pp. 270–286
  • Sohn, H.-M. (1999). The Korean Language. Cambridge: Cambridge University Press.
  • Song, J,J. (2005). The Korean Language: Structure, Use and Context. London: Routledge.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Korean Alphabet and language exercises
  • Korean alphabet and pronunciation by Omniglot
  • Linguistic and Philosophical Origins of the Korean Alphabet (Hangul)
  • Online Hangul tutorial at Langintro.com
  • Interactive Hangul tutorial at Lentil.cc
  • Hangul table with Audio Slideshow
  • Technical information on Hangul and Unicode
  • ฟอนต์อักษรเกาหลี

กษรฮ, นก, นก, เกาหล, 한글, hangeul, hangul, เป, นช, อเร, ยกต, วอ, กษรของเกาหล, ได, ประด, ษฐ, นใช, แทนต, วอ, กษรฮ, นจา, นจาน, นหมายถ, งต, วอ, กษรจ, นท, ใช, ในภาษาเกาหล, อนท, จะม, การประด, ษฐ, กษรข, นใช, แทนโดยพระเจ, าเซจงมหาราช, 세종대왕, กษรเกาหล, 한글, hangeul, นก, 조. hnkul ekahli 한글 Hangeul Hangul epnchuxeriyktwxksrkhxngekahlithiidpradisthkhunichaethntwxksrhnca hncannhmaythungtwxksrcinthiichinphasaekahlikxnthicamikarpradisthxksrkhunichaethnodyphraecaescngmharach 세종대왕 xksrekahli 한글 Hangeul hnkul 조선글 Chosŏn gŭl ochsxnkul chnidxksrprasmphasaphudekahli echcu Cia Ciaxksrthangkarin ekahliehnux ekahliit cin mnthlcihlin ekhtpkkhrxngtnexngradbcnghwdchnchatiekahlihynepiyn aelaChangbai Korean Autonomous County phupradisthphraecaescngmharachchwngyukhkh s 1443 pccubnchwngyuniokhdU AC00 U D7AF U 1100 U 11FF U 3130 U 318F U A960 U A97F U D7B0 U D7FFISO 15924Hangxksrhnkulswnihycaekhiynaenwnxn caksayipkhwa thaekhiynaenwtng ehmuxninxdit caekhiyncakbnlnglang aelaswnihycaekhiyncakkhwaipsay aetbangkhrngcamibangxnekhiyncaksayipkhwabthkhwamnimisylksnsthsastrsthxksrsakl hakimmikarsnbsnunernedxrthiehmaasm khunxacehnekhruxnghmaykhatham klxng hruxsylksnxunaethnxkkhrayuniokhd hnkul caehnwain 1 kha prakxbdwyphyychnaaelasra phaphswnhnungkhxngexksar humin cxngxum enuxha 1 prawti 1 1 kaenidkarekhiyninekahli 1 2 karpradisthxksrihm 2 caom 2 1 karprasmxksr 3 duephim 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunprawti aekikhkaenidkarekhiyninekahli aekikh karekhiynphasacinaephrhlayekhasuekahlitngaetemux 2 000 pimaaelw mikarichxyangkwangkhwangemuxcin ekhapkkhrxngekahliinchwng ph s 435 856 emuxpraman ph s 1000 txngkarxangxing erimekhiynphasaekahlidwyxksrcinobran erimphbemuxraw ph s 947 txngkarxangxing odymirabbkarekhiyn 3 rabb khux Hyangchal Gukyeol aela Idu rabbehlaniiklekhiyngkbrabbthiichekhiynphasayipunrabb Idu ichkarphsmknrahwangxksrcinkbsylksnphiessephuxaesdngkarlngthaykhakriyainphasaekahli aelaichinexksarthangrachkaraelabnthukswntwepnewlahlaystwrrs rabb Hyangchal ichxksrcinaesdngesiyngkhxngphasaekahli ichinkarekhiynbthkwiepnhlk phasaekahliyumkhacakphasacinepncanwnmak thaihphasaekahlisamarthxanhruxsuxkhwamhmayiddwyxksrcin mikarpradisthsylksnkhunihmraw 150 tw swnihymithiichnxyhruxepnchuxechphaa karpradisthxksrihm aekikh xksrhnkul idpradisthodyphraecaescng ph s 1940 1993 khrxngrachy ph s 1961 1993 kstriyxngkhthi 4 aehngrachwngsochsxnkhxngekahli aetnkwichakarbangkhntngkhxsngektwakarpradisthxksrepnnganthisbsxn xacepnfimuxkhxngklumbnthitsmynnmakkwa aethlkthanthangprawtisastridaesdngwabnthitinsmynntangkhdkhankarichtwxksrihmaethntwxksrhnca dngnn cungidmikarbnthukwaxksrhnkulepnphlngankhxngphraecaescngaetephiyngphraxngkhediyw nxkcakni yngmihlkthanbangxyangthiaesdngwaphrayatikhxngphraecaescxngidmiswnrwmxyanglb inkarpradisthxksr ephraapraednniinsmynnepnkhxkhdaeyngrahwangbnthitxyangmakxksrhnkulidpradisthesrcsmburninpi ph s 1986 kh s 1443 hrux mkrakhm kh s 1444 aelathuktiphimphkhrngaerkemuxwnthi 9 tulakhm ph s 1989 kh s 1446 inexksarthichuxwa hunmin cxngxum hnkul 훈민정음 hnca 訓民正音 Hunmin Jeong eum hruxaeplwa esiyngxksrthithuktxngephuxkarsuksasahrbprachachn sunginwnthi 9 tulakhm khxngthukpi thangkarekahliitidprakasihepn wnhnkul sungepnwnhyudrachkar swninekahliehnuxepnwnthi 15 mkrakhmphraecaescngmharachthrngihehtuphlkhxngkarpradisthtwxksrihmwa xksrcinmiimephiyngphxthicaekhiynkhaekahli aelaxksrcinnnekhiynyakeriynyak thaihchawbanruhnngsuxnxy insmynn echphaachayinchnchnkhunnang yngbn ethannthimisiththieriynaelaekhiyntwxksrhncaid karpradisthaelaichtwxksrihmaethntwxksredimnithuktxtanxyangmakcakehlabnthit sungehnwatwxksrhncaethannthiepntwxksrthithuktxngchxbthrrmthisudkstriyescngaelankprachykhxngphraxngkhnaaenwkhidkarpradisthxksrihmmacakxksrmxngokeliyaelaxksrphk pa thisthanginkarekhiyninaenwtngcakkhwaipsayidxiththiphlcakxksrcin hlngkarpradisthxksrekahlichawekahliswnihyyngekhiyndwyxksrcin hruxxksrrabb Gukyeol hrux Idu xksrekahliichechphaachnchnradblang echnedk phuhying aelaphuirkarsuksa inchwng ph s 2400 2500 karphsmphsanrahwangkarekhiynthiichxksrcin hnca aelaxksrhnkulerimepnthiniym tngaet ph s 2492 hncathukykelikinekahliehnux ewnaetkarichintaraeriynaelahnngsuxphiessbangelm emuxraw ph s 2510 2512 cungmikarfunfukarichhncaxikkhrnginekahliehnux inekahliitmikarichhncatlxdma wrrnkhdiekahlismyihmswnihy aelakarekhiynthiimepnthangkarichhnkulthnghmd aetnganekhiynthangwichakaraelaexksarrachkarichhnkulkhwbkhukbhncacaom aekikhduephimthi tarangxksrhnkulodyphiwephinaelw xacmxngxksrhnkulwaxyuinrabbxksrrupphaph aetcring aelw xksrhnkulxyuinrabbxksraethnesiyng Alphabet xksrhnkulmitwxksrthieriykwa caom 자모 字母 xksraem thnghmd 24 tw prakxbdwy phyychna 14 tw khux ㄱ ㄴ ㄷ ㄹ ㅁ ㅂ ㅅ ㅇ ㅈ ㅊ ㅋ ㅌ ㅍ aela ㅎ aelasra 10 tw khux ㅏ ㅑ ㅓ ㅕ ㅗ ㅛ ㅜ ㅠ ㅡ aela ㅣphyychnaaelasradngklaweriykwa phyychnaediyw aelasraediyw tamladb nxkcakniyngmiswnthieriykwaphyychnasa aelasraprasmdwyphyychnasami 5 tw khux ㄲ ㄸ ㅃ ㅆ aela ㅉ sraprasmmi 11 tw khux ㅐ ㅒ ㅔ ㅖ ㅚ ㅟ ㅘ ㅙ ㅝ ㅞ aela ㅢxksrniidaenwkhidcakruprangkhxngxwywathiichxxkesiyng phyychnaxunichkarephimesnphiesslngbnphyychnaphunthan ruprangkhxngsraidaenwkhidcak khn esntng olk esnnxn aelaswrrkh cud xksrhnkulsmyihm cudcaaesdngdwykhidsn michxngwangrahwangkhaodykhannxacmimakkwa 1 phyangkh esnkhxngphyychnabangtwepliynipkhunkbwaxyutn klang hruxthayphyangkh karprasmxksr aekikh xksrhnkul miswnthikhlayphasaithy khux phyangkhinxksrhnkulhnungphyangkhcaekidcakkarrwmknkhxng phyychnatn aelasra hrux phyychnatn sra aelaphyychnasakd aetphasaekahliimmiradbwrrnyukt karsrangphyangkhhnungphyangkhsamarththaodykarekhiyntaaehnngphyychna sra aelaphyychnasakdaebbidaebbhnungin 6 aebbdngnikahndih siaedng khux phyychnatn sinaengin khux sra aela siekhiyw khux phyychnasakd rupaebb khaxthibay rupaebbni epnrupaebbthiekhiynphyychnatnkhanghnasra aelasrathiekhiyninrupaebbniidtxngepnsraaenwtng khux ㅏ ㅑ ㅓ ㅕ ㅣ ㅐ ㅒ ㅔ aela ㅖ twxyang 이 xi 가 kha 저 chx 여 yx 나라 na ra 네 en 먜 mey xankhwb epnrupaebbthimithngphyychnatn sra aelaphyychnasakd odyphyychnatnxyudanhnasrainradbediywkn aela phyychnasakdxyulangsud srathiekhiyninrupaebbniidtxngepnsraaenwtng khux ㅏ ㅑ ㅓ ㅕ ㅣ ㅐ ㅒ ㅔ aela ㅖ twxyang 안 xn 녕 nyxng xankhwb 상 sxng 점심 chxm chim 밥 phb rupaebbni epnrupaebbthiphyychnatnxyukhangbnsra aelasrathiekhiyninrupaebbniidtxngepnsraaenwnxn khux ㅗ ㅛ ㅜ ㅠ aela ㅡ twxyang 코 okh 고 okh 아니오 xa ni ox 토요일 oth oy xil 변호사 phyxn oh sa epnrupaebbthimithngphyychnatn sra aelaphyychnasakd odyeriyngladbcakbnlnglang srathiekhiyninrupaebbniidtxngepnsraaenwnxn khux ㅗ ㅛ ㅜ ㅠ aela ㅡ twxyang 층 chung 물 mul rupaebbniprakxbdwyphyychnatnaelasra srathiekhiyninrupaebbniidtxngepnsra ㅚ ㅟ ㅢ ㅘ ㅙ ㅝ aela ㅞ twxyang 화 hwa rupaebbniprakxbdwyphyychnatn sra aelaphyychnasakd srathiekhiyninrupaebbniidtxngepnsra ㅚ ㅟ ㅢ ㅘ ㅙ ㅝ aela ㅞ twxyang 원 wxn duephim aekikhkarthxdphasaekahlidwyxksrormnxangxing aekikhChang Suk jin 1996 Scripts and Sounds Korean Philadelphia John Benjamins Publishing Company ISBN 1556197284 Volume 4 of the London Oriental and African Language Library Hannas William C 1997 Asia s Orthographic Dilemma University of Hawaii Press ISBN 082481892X Kim Renaud Y K ed 1997 The Korean Alphabet Its History and Structure University of Hawai i Press Lee Iksop 2000 The Korean Language transl Robert Ramsey Albany NJ State University of New York Press ISBN 0 7914 4831 2 The Ministry of Education of South Korea 1988 Hangeul Matchumbeop Sampson Geoffrey 1990 Writing Systems Stanford University Press ISBN 9780804717564 Silva David J 2003 Western attitudes toward the Korean language An Overview of Late Nineteenth and Early Twentieth Century Mission Literature Korean Studies 2008 vol 26 2 pp 270 286 Sohn H M 1999 The Korean Language Cambridge Cambridge University Press Song J J 2005 The Korean Language Structure Use and Context London Routledge aehlngkhxmulxun aekikh praethsekahlikhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb xksrhnkulKorean Alphabet and language exercises Korean alphabet and pronunciation by Omniglot Linguistic and Philosophical Origins of the Korean Alphabet Hangul Online Hangul tutorial at Langintro com Interactive Hangul tutorial at Lentil cc Hangul table with Audio Slideshow Technical information on Hangul and Unicode fxntxksrekahliekhathungcak https th wikipedia org w index php title xksrhnkul amp oldid 9292384, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม