fbpx
วิกิพีเดีย

อาณาจักรหงสาวดีใหม่

อาณาจักรหงสาวดีใหม่ (พม่า: ဟံသာဝတီ နေပြည်တော်) เป็นอาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนล่าง และบางส่วนของพม่าตอนบน ระหว่าง พ.ศ. 2283–2300 อาณาจักรเกิดจากการก่อกบฏของชาวมอญ ต่อต้านราชวงศ์ตองอูของพม่าที่ปกครองอังวะ กลุ่มกบฎประสบความสำเร็จในการฟื้นฟูอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ ที่เคยปกครองพม่าตอนล่างระหว่าง พ.ศ. 1830–2082 โดยได้รับการสนับสนุนจากฝรั่งเศส อาณาจักรที่เกิดใหม่พยายามขยายอำนาจไปทางเหนือ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2294 เข้ายึดครองอังวะและล้มการปกครองของราชวงศ์ตองอูที่ยาวนาน 266 ปีลง

อาณาจักรหงสาวดีใหม่

ဟံသာဝတီ နေပြည်တော်
พ.ศ. 2283–พ.ศ. 2300
สถานะอาณาจักร
เมืองหลวงหงสาวดี (พ.ศ. 2283–2300)
ภาษาทั่วไปภาษามอญ
ศาสนา
ศาสนาพุทธนิกายเถรวาท
การปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย์
พระมหากษัตริย์ 
• พ.ศ. 2283–2290
สมิงทอพุทธเกติ
• พ.ศ. 2290–2300
พญาทะละ
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้งอาณาจักร
29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2283
• สงครามกับราชวงศ์ตองอู
พ.ศ. 2283–2295
• การขึ้นสู่อำนาจของพญาทะละ
พ.ศ. 2290
• การรุกรานของพม่าตอนบน
พ.ศ. 2294–2295
พ.ศ. 2295–2300
• การล่มสลาย
6 พฤษภาคม พ.ศ. 2300

ราชวงศ์ใหม่ที่เรียก ราชวงศ์โก้นบอง นำโดย พระเจ้าอลองพญา เรืองอำนาจในพม่าตอนบน และท้าทายต่อกองทัพทางใต้ หลังจากการรุกรานภาคเหนือของหงสาวดีพ่ายแพ้ใน พ.ศ. 2297 หงสาวดีได้ประหารเชื้อพระวงศ์อังวะทั้งหมด และแสดงความเป็นชนทางใต้ต่อต้านอลองพญา ใน พ.ศ. 2298 อลองพญารุกรานพม่าตอนล่าง เข้ายึดที่ราบลุ่มแม่น้ำอิระวดี ท่าเรือของฝรั่งเศสที่สิเรียม และยึดพะโคได้ในที่สุดเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2300

การล่มสลายของอาณาจักรหงสาวดีใหม่เป็นการสิ้นสุดเอกราชและอำนาจของชาวมอญที่เคยมีมาหลายร้อยปีในพม่าตอนล่าง กองทัพของราชวงศ์โก้นบองกดดันให้ชาวมอญต้องอพยพไปยังสยาม ในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 24 การแต่งงานข้ามกลุ่มชาติพันธุ์ และการอพยพของชาวพม่าจากทางเหนือ ทำให้ชาวมอญกลายเป็นชนกลุ่มน้อย

การขึ้นสู่อำนาจของอาณาจักร

การกบฏทางใต้เป็นปัญหาใหญ่ในช่วงปลายราชวงศ์ตองอู กษัตริย์ที่อ่อนแอไม่สามารถปราบปรามการก่อกบฏที่แม่น้ำชินด์วินในมณีปุระ ที่เริ่มใน พ.ศ. 2267 ตามมาด้วยการก่อกบฏในล้านนาตั้งแต่ พ.ศ. 2270 ข้าหลวงอังวะที่พะโคถูกสังหารเมื่อ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2283 โดยกลุ่มผู้นำในท้องถิ่น กลุ่มผู้นำดังกล่าวได้เลือกชาวมอญที่พูดภาษาพม่าได้คือสมิงทอพุทธเกติ ขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งหงสาวดีเมื่อ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2283

ใน พ.ศ. 2285 กองทัพหงสาวดีเริ่มยกทัพขึ้นไปตามแม่น้ำอิระวดีไปจนถึงอังวะ ใน พ.ศ. 2288 หงสาวดียึดครองพื้นที่พม่าตอนล่างได้ทั้งหมดและยึดตองอูและแปรในพม่าตอนบนไว้ได้ (อาณาจักรใหม่ไม่ได้ควบคุมแนวชายฝั่งของเทือกเขาตะนาวศรี เมาะตะมะและทวายที่อยู่ภายใต้การปกครองของสยาม)

พญาทะละขึ้นเป็นกษัตริย์ต่อจากสมิงทอพุทธเกติใน พ.ศ. 2290 และสามารถยึดพม่าตอนบนได้ใน พ.ศ. 2294 บุกเข้ายึดอังวะได้ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2294 เชื้อพระวงศ์อังวะถูกจับไปพะโค ความผิดพลาดอย่างยิ่งของหงสาวดีคือรีบยกทัพกลับพะโคหลังจากได้ชัยชนะ ทิ้งเพียงสามกองทัพไว้ต่อต้านการลุกฮือของพม่า

ล่มสลาย

ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2294 หัวหน้าหมู่บ้านชเวโบชื่อ อองไชยะ ได้ก่อตั้งราชวงศ์โก้นบอง และสถาปนาตนเองเป็นพระเจ้าอลองพญาเพื่อต่อสู้กับมอญ พระเจ้าอลองพญารวบรวมพม่าภาคเหนือทั้งหมดได้ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2295 และตั้งเมืองหลวงทางตอนเหนือของอังวะ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2296 พญาทะละยกทัพไปปราบพม่าภาคเหนือ แต่เป็นฝ่ายแพ้และสูญเสียอย่างมาก หลังจากพ่ายแพ้กษัตริย์มอญได้ใช้นโยบายป้องกันตนเองและแสดงความเป็นมอญทางใต้ เชื้อพระวงศ์อังวะถูกประหารชีวิตทั้งหมดรวมทั้งกษัตริย์ตองอูองค์สุดท้าย บังคับให้ชาวพม่าทางใต้แต่งกายแบบชาวมอญ

ใน พ.ศ. 2298 พระเจ้าอลองพญาได้เคลื่อนทัพมาสู่ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิระวดีในเดือนเมษายนและย่างกุ้งในเดือนพฤษภาคม สิเรียมเมืองท่าที่ปกครองโดยฝรั่งเศสถูกยึดในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2299 เมื่อการช่วยเหลือของฝรั่งเศสถูกตัดขาด พะโคจึงถูกตีแตกเมื่อ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2300

สิ่งสืบทอด

การล่มสลายของอาณาจักรนี้เป็นการสิ้นสุดเอกราชและอำนาจของชาวมอญที่เคยมีมาหลายร้อยปีในพม่าตอนล่าง กองทัพของราชวงศ์โก้นบองกดดันให้ชาวมอญต้องอพยพไปยังสยาม ในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 24 การแต่งงานข้ามกลุ่มชาติพันธุ์ และครอบครัวชาวพม่าจากภาคเหนือเริ่มอพยพลงมาบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดี ทำให้ชาวมอญกลายเป็นชนกลุ่มน้อย

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Harvey (1925): 211–217
  2. Lieberman (2003): 202–206
  3. Myint-U (2006): 97
  4. Lieberman 1984: 215
  5. Hmannan Vol. 3 (1829): 372–373
  6. Phayre (1883): 166–169
  • Harvey, G. E. (1925). History of Burma: From the Earliest Times to 10 March 1824. London: Frank Cass & Co. Ltd.
  • Lieberman, Victor B. (1984). Burmese Administrative Cycles: Anarchy and Conquest, c. 1580–1760. Princeton University Press. ISBN 0-691-05407-X.
  • Lieberman, Victor B. (2003). Strange Parallels: Southeast Asia in Global Context, c. 800–1830, volume 1, Integration on the Mainland. Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-80496-7.
  • Myint-U, Thant (2006). The River of Lost Footsteps—Histories of Burma. Farrar, Straus and Giroux. ISBN 978-0-374-16342-6.
  • Phayre, Lt. Gen. Sir Arthur P. (1883). History of Burma (1967 ed.). London: Susil Gupta.
  • Royal Historical Commission of Burma (1832). Hmannan Yazawin (ภาษาพม่า). 1–3 (2003 ed.). Yangon: Ministry of Information, Myanmar.

อาณาจ, กรหงสาวด, ใหม, พม, ဝတ, เป, นอาณาจ, กรท, ปกครองพม, าตอนล, าง, และบางส, วนของพม, าตอนบน, ระหว, าง, 2283, 2300, อาณาจ, กรเก, ดจากการก, อกบฏของชาวมอญ, อต, านราชวงศ, ตองอ, ของพม, าท, ปกครองอ, งวะ, กล, มกบฎประสบความสำเร, จในการฟ, นฟ, อาณาจ, กรหงสาวด, ของชาวมอ. xanackrhngsawdiihm phma ဟ သ ဝတ န ပ ည တ epnxanackrthipkkhrxngphmatxnlang aelabangswnkhxngphmatxnbn rahwang ph s 2283 2300 xanackrekidcakkarkxkbtkhxngchawmxy txtanrachwngstxngxukhxngphmathipkkhrxngxngwa klumkbdprasbkhwamsaercinkarfunfuxanackrhngsawdikhxngchawmxy thiekhypkkhrxngphmatxnlangrahwang ph s 1830 2082 odyidrbkarsnbsnuncakfrngess xanackrthiekidihmphyayamkhyayxanacipthangehnux ineduxnminakhm ph s 2294 ekhayudkhrxngxngwaaelalmkarpkkhrxngkhxngrachwngstxngxuthiyawnan 266 pilng 1 xanackrhngsawdiihmဟ သ ဝတ န ပ ည တ ph s 2283 ph s 2300sthanaxanackremuxnghlwnghngsawdi ph s 2283 2300 phasathwipphasamxysasnasasnaphuththnikayethrwathkarpkkhrxngsmburnayasiththirachyphramhakstriy ph s 2283 2290smingthxphuththekti ph s 2290 2300phyathalaprawtisastr kxtngxanackr29 phvscikayn ph s 2283 sngkhramkbrachwngstxngxuph s 2283 2295 karkhunsuxanackhxngphyathalaph s 2290 karrukrankhxngphmatxnbnph s 2294 2295 sngkhramoknbxng hngsawdiph s 2295 2300 karlmslay6 phvsphakhm ph s 2300kxnhna thdiprachwngstxngxu rachwngsoknbxngrachwngsihmthieriyk rachwngsoknbxng naody phraecaxlxngphya eruxngxanacinphmatxnbn aelathathaytxkxngthphthangit hlngcakkarrukranphakhehnuxkhxnghngsawdiphayaephin ph s 2297 hngsawdiidpraharechuxphrawngsxngwathnghmd aelaaesdngkhwamepnchnthangittxtanxlxngphya 2 in ph s 2298 xlxngphyarukranphmatxnlang ekhayudthirablumaemnaxirawdi thaeruxkhxngfrngessthisieriym aelayudphaokhidinthisudemuxeduxnphvsphakhm ph s 2300karlmslaykhxngxanackrhngsawdiihmepnkarsinsudexkrachaelaxanackhxngchawmxythiekhymimahlayrxypiinphmatxnlang kxngthphkhxngrachwngsoknbxngkddnihchawmxytxngxphyphipyngsyam 3 inchwngtnphuththstwrrsthi 24 karaetngngankhamklumchatiphnthu aelakarxphyphkhxngchawphmacakthangehnux thaihchawmxyklayepnchnklumnxy 2 enuxha 1 karkhunsuxanackhxngxanackr 2 lmslay 3 singsubthxd 4 duephim 5 xangxingkarkhunsuxanackhxngxanackr aekikhkarkbtthangitepnpyhaihyinchwngplayrachwngstxngxu kstriythixxnaeximsamarthprabpramkarkxkbtthiaemnachindwininmnipura thierimin ph s 2267 tammadwykarkxkbtinlannatngaet ph s 2270 khahlwngxngwathiphaokhthuksngharemux 29 phvscikayn ph s 2283 odyklumphunainthxngthin 4 klumphunadngklawideluxkchawmxythiphudphasaphmaidkhuxsmingthxphuththekti khunepnkstriyaehnghngsawdiemux 8 thnwakhm ph s 2283 5 in ph s 2285 kxngthphhngsawdierimykthphkhuniptamaemnaxirawdiipcnthungxngwa in ph s 2288 hngsawdiyudkhrxngphunthiphmatxnlangidthnghmdaelayudtxngxuaelaaeprinphmatxnbniwid 1 xanackrihmimidkhwbkhumaenwchayfngkhxngethuxkekhatanawsri emaatamaaelathwaythixyuphayitkarpkkhrxngkhxngsyam phyathalakhunepnkstriytxcaksmingthxphuththektiin ph s 2290 aelasamarthyudphmatxnbnidin ph s 2294 bukekhayudxngwaidineduxnminakhm ph s 2294 echuxphrawngsxngwathukcbipphaokh khwamphidphladxyangyingkhxnghngsawdikhuxribykthphklbphaokhhlngcakidchychna thingephiyngsamkxngthphiwtxtankarlukhuxkhxngphma 1 lmslay aekikhineduxnminakhm ph s 2294 hwhnahmubanchewobchux xxngichya idkxtngrachwngsoknbxng aelasthapnatnexngepnphraecaxlxngphyaephuxtxsukbmxy phraecaxlxngphyarwbrwmphmaphakhehnuxthnghmdidineduxnthnwakhm ph s 2295 aelatngemuxnghlwngthangtxnehnuxkhxngxngwa ineduxnminakhm ph s 2296 phyathalaykthphipprabphmaphakhehnux aetepnfayaephaelasuyesiyxyangmak hlngcakphayaephkstriymxyidichnoybaypxngkntnexngaelaaesdngkhwamepnmxythangit echuxphrawngsxngwathukpraharchiwitthnghmdrwmthngkstriytxngxuxngkhsudthay bngkhbihchawphmathangitaetngkayaebbchawmxy 2 in ph s 2298 phraecaxlxngphyaidekhluxnthphmasuthirablumaemnaxirawdiineduxnemsaynaelayangkungineduxnphvsphakhm sieriymemuxngthathipkkhrxngodyfrngessthukyudineduxnkrkdakhm ph s 2299 emuxkarchwyehluxkhxngfrngessthuktdkhad phaokhcungthuktiaetkemux 6 phvsphakhm ph s 2300 6 singsubthxd aekikhkarlmslaykhxngxanackrniepnkarsinsudexkrachaelaxanackhxngchawmxythiekhymimahlayrxypiinphmatxnlang kxngthphkhxngrachwngsoknbxngkddnihchawmxytxngxphyphipyngsyam 3 inchwngtnphuththstwrrsthi 24 karaetngngankhamklumchatiphnthu aelakhrxbkhrwchawphmacakphakhehnuxerimxphyphlngmabriewnsamehliympakaemnaxirwdi thaihchawmxyklayepnchnklumnxy 2 duephim aekikhxanackrmxy xanackrsuthrrmwdi xanackrhngsawdixangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 Harvey 1925 211 217 2 0 2 1 2 2 2 3 Lieberman 2003 202 206 3 0 3 1 Myint U 2006 97 Lieberman 1984 215 Hmannan Vol 3 1829 372 373 Phayre 1883 166 169 Harvey G E 1925 History of Burma From the Earliest Times to 10 March 1824 London Frank Cass amp Co Ltd Lieberman Victor B 1984 Burmese Administrative Cycles Anarchy and Conquest c 1580 1760 Princeton University Press ISBN 0 691 05407 X Lieberman Victor B 2003 Strange Parallels Southeast Asia in Global Context c 800 1830 volume 1 Integration on the Mainland Cambridge University Press ISBN 978 0 521 80496 7 Myint U Thant 2006 The River of Lost Footsteps Histories of Burma Farrar Straus and Giroux ISBN 978 0 374 16342 6 Phayre Lt Gen Sir Arthur P 1883 History of Burma 1967 ed London Susil Gupta Royal Historical Commission of Burma 1832 Hmannan Yazawin phasaphma 1 3 2003 ed Yangon Ministry of Information Myanmar ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xanackrhngsawdiihm amp oldid 9135585, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม