fbpx
วิกิพีเดีย

อาร์ไอเอ็ม-66 สแตนดาร์ด

อาร์ไอเอ็ม-66 สแตนดาร์ด (SM-1MR/SM-2MR) เป็นขีปนาวุธพื้นสู่อากาศพิสัยปานกลาง พัฒนาโดยบริษัทเรย์เธียน สำหรับกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา โดยรุ่นเอสเอ็ม-1 พัฒนามาเพื่อทดแทนขีปนาวุธรุ่นก่อนหน้าอย่างอาร์ไอเอ็ม-2 เทอเรียร์ และอาร์ไอเอ็ม-24 ทาร์ทาร์ ปัจจุบันมีการพัฒนาเพิ่มระยะยิงเป็นรุ่น อาร์ไอเอ็ม-67 สแตนดาร์ด

อาร์ไอเอ็ม-66 สแตนดาร์ด เอ็มอาร์

อาร์ไอเอ็ม-66 สแตนดาร์ดบนฐานยิงแบบ เอ็มเค 26
ชนิด ขีปนาวุธพื้นสู่อากาศพิสัยปานกลาง
สัญชาติ  สหรัฐ
บทบาท
ประจำการ 1967 (อาร์ไอเอ็ม-66 เอ เอสเอ็ม-1 เอ็มอาร์ บล็อก I)
1979 (อาร์ไอเอ็ม-66 เอ เอสเอ็ม-2 เอ็มอาร์)
ผู้ใช้งาน กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา, กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลของญี่ปุ่น, กองทัพเรืออิตาลี, กองทัพเรือตุรกี, กองทัพเรือเนเธอร์แลนด์, กองทัพเรือเยอรมนี, กองทัพเรือแคนาดา, และอื่นๆ
ประวัติการผลิต
บริษัทผู้ผลิต เรย์เธียน และอื่นๆ
ช่วงการผลิต ค.ศ. 1967 - ปัจจุบัน
ข้อมูลจำเพาะ
น้ำหนัก เอสเอ็ม-2 – 1,558 ปอนด์ (707 กก.)
ความยาว 15 ฟุต 6 นิ้ว (4.72 เมตร)
เส้นผ่าศูนย์กลาง 13.5 นิ้ว (340 มม.)

หัวรบ หัวรบสะเก็ดระเบิด
กลไกการจุดชนวน เรดาร์และฉนวนกระทบ

เครื่องยนต์ ระบบขับดันคู่, จรวดเชื้อเพลิงแข็ง
ความยาวระหว่างปลายปีก 3 ฟุต 6 นิ้ว (1.07 เมตร)
พิสัยปฏิบัติการ 40-90 ไมล์ทะเล (74 - 170 กิโลเมตร)
Flight ceiling > 24,400 เมตร (80,100 ฟุต)
ความเร็ว มัค 3.5
ระบบนำวิถี SM-2MR Block IIIA Command and Inertial midcourse guidance with monopulse semi-active radar homing in the terminal phase of the interception. SM-2MR Block IIIB missiles have dual infrared/semi-active terminal homing. SM-1MR Block VI missiles have monopulse semi-active radar homing without command and inertial mid-course guidance.
ใช้กับ เรือรบผิวน้ำ

ผู้ใช้งานในปัจจุบัน

 
อาร์ไอเอ็ม-66 จากเรือฟริเกตของกองทัพเรือสเปนในปี ค.ศ. 2006
  ออสเตรเลีย
  • กองทัพเรือออสเตรเลีย
  แคนาดา
  • กองทัพเรือแคนาดา
  ชิลี
  • กองทัพเรือชิลี (เรือฟริเกตชั้น Jacob van Heemskerck)
  เยอรมนี
  • กองทัพเรือเยอรมนี (เรือฟริเกตป้องกันภัยทางอากาศชั้น Sachsen)
  อิตาลี
  • กองกัพเรืออิตาลี
  ญี่ปุ่น
  โปแลนด์
  • กองทัพเรือโปแลนด์ (เรือฟริเกตชั้นโอลิเวอร์ ฮาซาร์ด เปอรรี่)
  ปากีสถาน
  • กองทัพเรือปากีสถาน
  เกาหลีใต้
  • กองทัพเรือสาธารณรัฐเกาหลี
  เนเธอร์แลนด์
  • กองทัพเรือเนเธอร์แลนด์
  สหรัฐ
  สเปน
  • กองทัพเรือสเปน (เรือฟริเกตชั้นโอลิเวอร์ ฮาซาร์ด เปอรรี่)
  ตุรกี
  • กองทัพเรือตุรกี
  ไต้หวัน
  • กองทัพเรือไต้หวัน (เรือฟริเกตชั้นโอลิเวอร์ ฮาซาร์ด เปอรรี่, ชั้นคิดด์และเรือฟริเกตชั้นนอตต์)

อ้างอิง

  1. กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา,US Navy Fact File:ขีปนาวุธสแตนดาร์ด, 11 ตุลาคม 2002. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2006.
  2. เรย์เธียน,Raytheon.com, 17 มีนาคม2009, สืบค้นเมื่อ 24 สิงหาคม 2009.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • เว็บไซต์ขีปนาวุธสแตนดาร์ดจากเรย์เธียน 2007-11-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • ฐานข้อมูลกองทัพเรือ ขีปนาวุธแสตนดาร์ด

อาร, ไอเอ, สแตนดาร, เป, นข, ปนาว, ธพ, นส, อากาศพ, ยปานกลาง, ฒนาโดยบร, ทเรย, เธ, ยน, สำหร, บกองท, พเร, อสหร, ฐอเมร, กา, โดยร, นเอสเอ, ฒนามาเพ, อทดแทนข, ปนาว, ธร, นก, อนหน, าอย, างอาร, ไอเอ, เทอเร, ยร, และอาร, ไอเอ, ทาร, ทาร, จจ, นม, การพ, ฒนาเพ, มระยะย, งเป, นร. xarixexm 66 saetndard SM 1MR SM 2MR epnkhipnawuthphunsuxakasphisypanklang phthnaodybristheryethiyn sahrbkxngthpheruxshrthxemrika odyrunexsexm 1 phthnamaephuxthdaethnkhipnawuthrunkxnhnaxyangxarixexm 2 ethxeriyr aelaxarixexm 24 tharthar pccubnmikarphthnaephimrayayingepnrun xarixexm 67 saetndardxarixexm 66 saetndard exmxarxarixexm 66 saetndardbnthanyingaebb exmekh 26chnid khipnawuthphunsuxakasphisypanklangsychati shrthbthbathpracakar 1967 xarixexm 66 ex exsexm 1 exmxar blxk I 1979 xarixexm 66 ex exsexm 2 exmxar 1 phuichngan kxngthpheruxshrthxemrika kxngkalngpxngkntnexngthangthaelkhxngyipun kxngthpheruxxitali kxngthpheruxturki kxngthpheruxenethxraelnd kxngthpheruxeyxrmni kxngthpheruxaekhnada aelaxunprawtikarphlitbristhphuphlit eryethiyn aelaxunchwngkarphlit kh s 1967 pccubnkhxmulcaephaanahnk exsexm 2 1 558 pxnd 707 kk khwamyaw 15 fut 6 niw 4 72 emtr esnphasunyklang 13 5 niw 340 mm hwrb hwrbsaekdraebidklikkarcudchnwn erdaraelachnwnkrathbekhruxngynt rabbkhbdnkhu crwdechuxephlingaekhngkhwamyawrahwangplaypik 3 fut 6 niw 1 07 emtr phisyptibtikar 40 90 imlthael 74 170 kiolemtr Flight ceiling gt 24 400 emtr 80 100 fut khwamerw mkh 3 5rabbnawithi SM 2MR Block IIIA Command and Inertial midcourse guidance with monopulse semi active radar homing in the terminal phase of the interception SM 2MR Block IIIB missiles have dual infrared semi active terminal homing SM 1MR Block VI missiles have monopulse semi active radar homing without command and inertial mid course guidance 2 ichkb eruxrbphiwnaphuichnganinpccubn aekikh xarixexm 66 cakeruxfriektkhxngkxngthpheruxsepninpi kh s 2006 xxsetreliykxngthpheruxxxsetreliy aekhnadakxngthpheruxaekhnada chilikxngthpheruxchili eruxfriektchn Jacob van Heemskerck eyxrmnikxngthpheruxeyxrmni eruxfriektpxngknphythangxakaschn Sachsen xitalikxngkpheruxxitali yipunkxngkalngpxngkntnexngthangthaelkhxngyipun opaelndkxngthpheruxopaelnd eruxfriektchnoxliewxr hasard epxrri pakisthankxngthpheruxpakisthan ekahliitkxngthpheruxsatharnrthekahli enethxraelndkxngthpheruxenethxraelnd shrthkxngthpheruxshrthxemrika sepnkxngthpheruxsepn eruxfriektchnoxliewxr hasard epxrri turkikxngthpheruxturki ithwnkxngthpheruxithwn eruxfriektchnoxliewxr hasard epxrri chnkhiddaelaeruxfriektchnnxtt xangxing aekikh kxngthpheruxshrthxemrika US Navy Fact File khipnawuthsaetndard 11 tulakhm 2002 subkhnemux 5 mithunayn 2006 eryethiyn Raytheon com 17 minakhm2009 subkhnemux 24 singhakhm 2009 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb xarixexm 66 saetndardewbistkhipnawuthsaetndardcakeryethiyn Archived 2007 11 16 thi ewyaebkaemchchin thankhxmulkxngthpherux khipnawuthaestndard bthkhwamekiywkbthhar karthhar hruxxawuthniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy karthharekhathungcak https th wikipedia org w index php title xarixexm 66 saetndard amp oldid 9545709, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม