fbpx
วิกิพีเดีย

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หรือ ตระกูลภาษาอินเดีย-ยุโรป (อังกฤษ: Indo-European languages) ประกอบด้วยภาษาหลักและภาษาย่อยรวม 443 ภาษา (ตามการประมาณของ SIL) ที่พูดโดยคนประมาณ 3 พันล้านคน ซึ่งรวมถึงตระกูลภาษาหลัก ๆ ของยุโรป และเอเชียตะวันตก ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลใหญ่ ภาษาปัจจุบันที่อยู่ในตระกูลใหญ่นี้ มีเช่น ภาษาเบงกอล ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาโปรตุเกส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน (แต่ละภาษามีคนพูดมากกว่า 100 ล้านคน)

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน
ภูมิภาค:แต่เดิมใช้ในพื้นที่หลายส่วนของเอเชียและส่วนใหญ่ของยุโรป ปัจจุบันใช้กันทั่วโลก
มีเจ้าของภาษาประมาณ 3.2 พันล้านคน
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
หนึ่งในตระกูลภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุดในโลก
ภาษาดั้งเดิม:อินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม
กลุ่มย่อย:
ISO 639-2 / 5:ine
กลอตโตลอก:indo1319
การกระจายของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียนปัจจุบันภายในถิ่นกำเนิด (คือยูเรเชีย):
  เฮลเลนิก (กรีก)
  ภาษานอกตระกูลอินโด-ยูโรเปียน
  • · บริเวณที่มีจุดประสีหรือแถบสีหมายถึงบริเวณที่ปรากฏภาวะพหุภาษา
  • · กลุ่มภาษาที่เป็น ตัวเอียง หมายความว่ามีภาษาหลงเหลืออยู่เพียงภาษาเดียวในกลุ่มภาษานั้น
  • · เครื่องหมาย แสดงกลุ่มภาษาสูญแล้ว

ประวัติศาสตร์

ความเป็นไปได้ของต้นกำเนิดร่วมของภาษาต่าง ๆ เหล่านี้ เสนอเป็นครั้งแรกโดยเซอร์วิลเลียม โจนส์ ซึ่งได้สังเกตเห็นความเหมือนกันระหว่างภาษาที่เก่าแก่ที่สุด 4 ภาษาที่รู้จักในยุคนั้น คือ ภาษาละติน ภาษากรีก ภาษาสันสกฤต และภาษาเปอร์เซีย การเปรียบเทียบภาษาเหล่านี้ และภาษาเก่าแก่อื่น ๆ อย่างมีระบบ โดยฟรานซ์ บอปป์ สนับสนุนทฤษฎีนี้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักวิชาการเคยเรียกภาษากลุ่มนี้ว่า "ภาษากลุ่มอินโด-เจอร์แมนิก" (Indo-Germanic) หรือ "อารยัน" (Aryan) อย่างไรก็ดี เมื่อปรากฏชัดเจนว่า ความคล้ายคลึงนี้ มีอยู่ในภาษาของยุโรปส่วนใหญ่ จึงได้เปลี่ยนชื่อให้ครอบคลุมมากขึ้นเป็น อินโด-ยูโรเปียน (Indo-European) ตัวอย่างเช่น มีความคล้ายคลึงกันอย่างมากระหว่างภาษาสันสกฤตกับภาษาย่อยของภาษาลิทัวเนียและภาษาลัตเวียที่พูดในสมัยก่อน

ภาษาบรรพบุรุษที่เป็นต้นกำเนิด (ที่ได้สืบสร้างขึ้นมาใหม่) เรียกว่าภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม (Proto-Indo-European, PIE) มีข้อโต้แย้งเกี่ยวกับที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่เป็นถิ่นกำเนิด (เรียกว่า "อัวร์ไฮมาท" — Urheimat) ที่ตั้งที่เป็นไปได้มากที่สุดในปัจจุบันคือที่ราบทางเหนือของทะเลดำและทะเลแคสเปียน (ตามทฤษฎีของเคอร์แกน) หรืออานาโตเลีย (ตามทฤษฎีของโคลิน เร็นฟริว) ผู้ที่สนับสนุนทฤษฎีของเคอร์แกนสักจะตั้งอายุของภาษาต้นกำเนิดเป็นประมาณ 4,000 ปีก่อน ค.ศ. ส่วนผู้ที่สนับสนุนทฤษฎีของถิ่นกำเนิดในอานาโตเลียมักจะกำหนดอายุของภาษานี้เป็นช่วงหลายสหัสวรรษก่อนหน้านี้ (อินโด-ฮิตไทต์)

กลุ่มย่อย

กลุ่มย่อยต่าง ๆ ของตระกูลอินโด-ยูโรเปียนรวมถึง (ตามลำดับตามประวัติศาสตร์ของการปรากฏครั้งแรก) :

นอกจาก 10 แขนงที่ได้กล่าวไว้แล้ว ยังมีภาษาอื่น ๆ ที่สูญแล้วที่รู้จักน้อยมาก:

  • กลุ่มภาษาอิลลีเรีย, สูญแล้ว ไม่สมบูรณ์ คาดว่าสัมพันธ์กับภาษาเมสซาเปียน มีการเสนอความสัมพันธ์กับภาษาแอลเบเนียบ้าง
  • ภาษาเวเนติก, สูญแล้ว ไม่สมบูรณ์ ใกล้เคียงกับอิตาลิก
  • ภาษาเมสซาเปียน, สูญแล้ว ไม่สมบูรณ์, ภาษายังอ่านไม่ออก
  • ภาษาฟรีเจีย — ภาษาสูญแล้วของฟรีเจียโบราณ, ไม่สมบูรณ์
  • ภาษาไปโอเนีย, สูญแล้ว ไม่สมบูรณ์
  • ภาษาเทรซ — สูญแล้ว ไม่สมบูรณ์
  • ภาษาเดเชีย — สูญแล้ว ไม่สมบูรณ์
  • ภาษามาซิโดเนียโบราณ ตามปรากฏ ใกล้เคียงกับภาษากรีก ภาษาฟรีเจียน และอาจใกล้เคียงกับภาษาเทรซด้วย

นอกจากนี้ ยังมีภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียนอื่น ๆ ที่ไม่ปรากฏหลักฐานใด ๆ ในปัจจุบัน

อ้างอิง

  1. Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Indo-European". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.CS1 maint: display-editors (link)

ตระก, ลภาษาอ, นโด, โรเป, ยน, หร, ตระก, ลภาษาอ, นเด, โรป, งกฤษ, indo, european, languages, ประกอบด, วยภาษาหล, กและภาษาย, อยรวม, ภาษา, ตามการประมาณของ, ดโดยคนประมาณ, นล, านคน, งรวมถ, งตระก, ลภาษาหล, ของย, โรป, และเอเช, ยตะว, นตก, งจ, ดอย, ในตระก, ลใหญ, ภาษาป, จจ. trakulphasaxinod yuorepiyn hrux trakulphasaxinediy yuorp xngkvs Indo European languages prakxbdwyphasahlkaelaphasayxyrwm 443 phasa tamkarpramankhxng SIL thiphudodykhnpraman 3 phnlankhn sungrwmthungtrakulphasahlk khxngyuorp aelaexechiytawntk sungcdxyuintrakulihy phasapccubnthixyuintrakulihyni miechn phasaebngkxl phasaxngkvs phasafrngess phasaeyxrmn phasahindi phasaoprtueks phasarsesiy aelaphasasepn aetlaphasamikhnphudmakkwa 100 lankhn trakulphasaxinod yuorepiynphumiphakh aetedimichinphunthihlayswnkhxngexechiyaelaswnihykhxngyuorp pccubnichknthwolkmiecakhxngphasapraman 3 2 phnlankhnkarcaaenkthangphasasastr hnungintrakulphasathimiphuphudmakthisudinolkphasadngedim xinod yuorepiyndngedimklumyxy aexlebeniy xanaoteliy xarmieniy bxlot slawik bxltikaelaslawik ekhlt ecxraemnik ehlelnik rwmkrik xinod xiereniyn xinod xaryn xihran aelanuristhan xitalik rwmormans othaekheriyn edokh ethrechiyn xillieriy ISO 639 2 5 ineklxtotlxk indo1319 1 karkracaykhxngphasatrakulxinod yuorepiynpccubnphayinthinkaenid khuxyuerechiy aexlebeniy xarmieniy bxlot slawik bxltik bxlot slawik slawik ekhlt ecxraemnik ehlelnik krik xinod xiereniyn xinod xaryn xihran aelanuristhan xitalik ormans phasanxktrakulxinod yuorepiyn briewnthimicudprasihruxaethbsihmaythungbriewnthipraktphawaphhuphasa klumphasathiepn twexiyng hmaykhwamwamiphasahlngehluxxyuephiyngphasaediywinklumphasann ekhruxnghmay aesdngklumphasasuyaelwprawtisastr aekikhkhwamepnipidkhxngtnkaenidrwmkhxngphasatang ehlani esnxepnkhrngaerkodyesxrwileliym ocns sungidsngektehnkhwamehmuxnknrahwangphasathiekaaekthisud 4 phasathiruckinyukhnn khux phasalatin phasakrik phasasnskvt aelaphasaepxresiy karepriybethiybphasaehlani aelaphasaekaaekxun xyangmirabb odyfrans bxpp snbsnunthvsdini inkhriststwrrsthi 19 nkwichakarekhyeriykphasaklumniwa phasaklumxinod ecxraemnik Indo Germanic hrux xaryn Aryan xyangirkdi emuxpraktchdecnwa khwamkhlaykhlungni mixyuinphasakhxngyuorpswnihy cungidepliynchuxihkhrxbkhlummakkhunepn xinod yuorepiyn Indo European twxyangechn mikhwamkhlaykhlungknxyangmakrahwangphasasnskvtkbphasayxykhxngphasalithweniyaelaphasaltewiythiphudinsmykxnphasabrrphburusthiepntnkaenid thiidsubsrangkhunmaihm eriykwaphasaxinod yuorepiyndngedim Proto Indo European PIE mikhxotaeyngekiywkbthitngthangphumisastrthiepnthinkaenid eriykwa xwrihmath Urheimat thitngthiepnipidmakthisudinpccubnkhuxthirabthangehnuxkhxngthaeldaaelathaelaekhsepiyn tamthvsdikhxngekhxraekn hruxxanaoteliy tamthvsdikhxngokhlin ernfriw phuthisnbsnunthvsdikhxngekhxraeknskcatngxayukhxngphasatnkaenidepnpraman 4 000 pikxn kh s swnphuthisnbsnunthvsdikhxngthinkaenidinxanaoteliymkcakahndxayukhxngphasaniepnchwnghlayshswrrskxnhnani xinod hititht klumyxy aekikhklumyxytang khxngtrakulxinod yuorepiynrwmthung tamladbtamprawtisastrkhxngkarpraktkhrngaerk klumphasaxanaoteliy aekhnngthimihlkthanpraktekaaekthisud cakchwngstwrrsthi 18 kxnkhristkal suyaelw thiednthisudkhuxphasakhxnghititht klumphasaxinod xiereniyn rwmthungphasasnskvt mihlkthanprakttngaetshswrrsthi 2 kxnkhristkal phasaxewsta aelaphasaepxresiy phasakrik mihlkthanphasaimsieniynthiimsmburn cakstwrrsthi 14 kxnkhristkal ohemxr mixayuinchwngstwrrsthi 8 kxnkhristkal duprawtisastrkhxngphasakrik klumphasaxitalik rwmthungphasalatin rwmthungphasathisubmacakphasani khuxklumphasaormans prakttngaetshswrrsthi 1 kxnkhristkal klumphasaekhlt khacarukphasakxlich Gaulish mixayutngaetstwrrsthi 6 kxnkhristkal exksarphasaixrichobrancakkhriststwrrsthi 6 klumphasaecxraemnik rwmthungphasaxngkvs hlkthanthipraktkhrngaerkkhuxkhacarukxksrruncakpramankhriststwrrsthi 2 exksarthimieruxngrawthiekaaekthisudepnphasakxthik khriststwrrsthi 4 phasaxarmieniy mihlkthanprakttngaetkhriststwrrsthi 5 klumphasaothaekheriyn phasasuyaelwkhxngchawothaekheriyn prakt 2 phasayxy mihlkthanprakttngaetkhriststwrrsthi 6 odypraman klumphasabxlot slawik rwmthungphasaklumbxltikaelaphasaklumslawik klumphasaslawikmihlkthanprakttngaetkhriststwrrsthi 6 exksarthiekaaekthisudepnphasaslawxnikkhristckreka khriststwrrsthi 9 klumphasabxltikmihlkthanprakttngaetkhriststwrrsthi 14 phasaaexlebeniy mihlkthanprakttngaetkhriststwrrsthi 16 mikaresnxkhwamsmphnthkbphasaxillieriy edechiy hruxethrsnxkcak 10 aekhnngthiidklawiwaelw yngmiphasaxun thisuyaelwthirucknxymak klumphasaxillieriy suyaelw imsmburn khadwasmphnthkbphasaemssaepiyn mikaresnxkhwamsmphnthkbphasaaexlebeniybang phasaewentik suyaelw imsmburn iklekhiyngkbxitalik phasaemssaepiyn suyaelw imsmburn phasayngxanimxxk phasafrieciy phasasuyaelwkhxngfrieciyobran imsmburn phasaipoxeniy suyaelw imsmburn phasaethrs suyaelw imsmburn phasaedechiy suyaelw imsmburn phasamasiodeniyobran tamprakt iklekhiyngkbphasakrik phasafrieciyn aelaxaciklekhiyngkbphasaethrsdwynxkcakni yngmiphasatrakulxinod yuorepiynxun thiimprakthlkthanid inpccubnxangxing aekikh Nordhoff Sebastian Hammarstrom Harald Forkel Robert Haspelmath Martin b k 2013 Indo European Glottolog 2 2 Leipzig Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology CS1 maint display editors link ekhathungcak https th wikipedia org w index php title trakulphasaxinod yuorepiyn amp oldid 9489479, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม