fbpx
วิกิพีเดีย

อี ฮวัง

ชื่อนี้เป็นชื่อบุคคลเกาหลีที่มีนามสกุลว่า อี


อี ฮวัง (เกาหลี: 이황 李滉; ค.ศ. 1501–1570) นามปากกาว่า ทเว-กเย (Toegye เกาหลี: 퇴계 退溪) เป็นนักปราชญ์ลัทธิขงจื้อใหม่ (Neo-Confucianism) คนสำคัญของเกาหลีในสมัยราชวงศ์โชซอน แนวคิดและผลงานของอี ฮวัง นั้นมีอิทธิพลอย่างมากต่อวงการนักปราชญ์ลัทธิขงจื๊อใหม่ของอาณาจักรโชซอนนับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่สิบหกเป็นต้นมา ทั้งยังเป็นบุคคลร่วมสมัยกันกับนักปราชญ์ลัทธิขงจื๊ออีกคนของเกาหลีอย่าง อี อี

ภาพของอี ฮวังบนธนบัตร 1,000 วอนของเกาหลีใต้
ชื่อนี้เป็นชื่อบุคคลเกาหลีที่มีนามสกุลว่า {{{1}}}

ประวัติ

อี ฮวังนั้นเกิดเมื่อ ค.ศ. 1501 ในรัชสมัยขององค์ชายยอนซัน ที่เมืองอันดง จังหวัดคย็องซังเหนือ เกาหลีใต้ในปัจจุบัน อี ฮวังเกิดในตระกูล ยังบัน ระดับล่าง บิดาคือ อีชิก (เกาหลี: 이식 李埴) เป็นขุนนางท้องถิ่น เมื่อ ค.ศ. 1533 อี ฮวังเดินทางมายังเมืองฮันยางเพื่อเข้าศึกษาในราชวิทยาลัยซองกยุงกวาน เพื่อเข้าทำการสอบควากอ (จอหงวนของเกาหลี) โดยเข้าเป็นศิษย์ของคิมอินฮุ (เกาหลี: 김인후 金麟厚) นักปราชญ์ขงจื้อใหม่คนสำคัญอีกคนหนึ่ง จนกระทั่งเมื่อสอบควากอผ่านได้สำเร็จเมื่อ ค.ศ. 1534 จึงเข้ารับราชการในสมัยของพระเจ้าจุงจง

อี ฮวังนั้นเป็นสมาชิกของนักปราชญ์กลุ่ม ซาริม (เกาหลี: 사림 士林) หรือกลุ่มที่ต่อต้านการปกครองของขุนนางกลุ่มที่มีอำนาจอยู่ในราชสำนักขณะนั้น อี ฮวังได้รับอิทธิพลจากนักปราชญ์กลุ่มซาริมต่างๆเช่น โชกวางโจ (เกาหลี: 조광조 趙光祖) ซึ่งถูกประหารชีวิตไปในข้อหากบฏเมื่อ ค.ศ. 1519 เมื่อเริ่มแรกอี ฮวังรับราชการอยู่ในฮงมุนกวาน อันเป็นหน่วยงานที่คอยตรวจสอบการทำงานของขุนนางผู้ใหญ่ อี ฮวังรับราชการในราชสำนักในรัชสมัยของพระเจ้าจุงจง พระเจ้าอินจง และพระเจ้ามยองจง อยู่เป็นเวลาประมาณยี่สิบปี จนกระทั่งค.ศ. 1545 เกิดเหตุการณ์สังหารหมู่ปราชญ์ปีอึลซา (เกาหลี: 을사사화 乙巳士禍) ยุนวอนฮย็อง (เกาหลี: 윤원형 尹元衡) พระเชษฐาของพระพันปีมุนจองและพระปิตุลาของพระเจ้ามยองจงเถลิงอำนาจขึ้นในราชสำนัก มีขุนนางฝ่าย ซาริม หลายคนรวมทั้ง อี แฮ (เกาหลี: 이해 李瀣) น้องชายของอี ฮวัง ต่างได้รับผลกระทบถูกลงโทษจากเหตุการณ์ในครั้งนี้ ทำให้อี ฮวังเกิดความเบื่อหน่ายในการเมืองราชสำนักและการฉ้อราชย์บังหลวง จึงลาออกจากราชการกลับไปยังบ้านเกิดของตนที่เมืองอันดงเมื่อ ค.ศ. 1549

 
โทซันซอวอน ที่เมืองอันดง จังหวัดคย็องซังเหนือ เกาหลีใต้ในปัจจุบัน บ้านเกิดของอี ฮวัง

เมื่อกลับมาอยู่บ้านเกิดที่เมืองอันดงแล้ว อี ฮวังใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการศึกษาค้นคว้าหลักปรัชญาของลัทธิขงจื้อใหม่ โดยเฉพาะสำนักของจูซื่อ (Zhu Xi) ซึ่งอี ฮวังยึดมั่นเป็นอย่างมาก และในระหว่างนี้อี ฮวังได้ผลิตผลงานเกี่ยวกับหลักปรัชญาขงจื้อขึ้นมาหลายเล่ม ใน ค.ศ. 1560 อี ฮวังริเริ่มการจัดตั้งและก่อสร้างสำนักปราชญ์โทซัน หรือ โทซันซอวอน (เกาหลี: 도산서원 陶山書院) ขึ้นที่เมืองอันดงบ้านเกิด ไว้เพื่อเป็นสำนักศึกษาสำหรับนักเรียนและนักปราชญ์ขงจื้อรุ่นใหม่ เพื่อสร้างคนดีมีคุณธรรมเข้ารับราชการในราชสำนัก เมื่อยุนวอนฮย็องถูกประหารชีวิตไปในค.ศ. 1565 พระเจ้ามยองจงทรงพยายามรวบรวมขุนนางฝ่ายซาริมกลับเข้ารับราชการอีกครั้ง พระเจ้ามยองจงทรงร้องขอให้อี ฮวังกลับไปรับราชการอยู่หลายครั้ง แต่ทุกครั้งอี ฮวังดำรงตำแหน่งเพียงเวลาไม่นานนัก และทูลลาออกกลับบ้านเกิด

ใน ค.ศ. 1568 อี ฮวังแต่งหนังสือเรื่อง แผนภูมิทั้งสิบเกี่ยวกับหลักคุณธรรม ("Ten Diagrams on Sage Learning" เกาหลี: 성학십도 聖學十圖) ถวายพระเจ้าซอนโจ ซึ่งหนังสือเล่มนี้เป็นผลงานที่สำคัญที่สุดของอี ฮวัง และในปี ค.ศ. 1569 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้ากรมพิธีการ (เกาหลี: 이조판서 禮曹判書) แต่อี ฮวังอยู่ในตำแหน่งไม่นานนักและกลับสู่บ้านเกิดเช่นเดิม อี ฮวังถึงแก่กรรมที่เมืองอันดงบ้านเกิดของตนเมื่อปี ค.ศ. 1570 อายุ 69 ปี

มรดกสืบทอด

พระเจ้าซอนโจทรงอุปถัมป์โทซันซอวอนใน ค.ศ. 1575 และให้มีการสร้างจนเสร็จสิ้น สำนักปราชญ์โทซันเป็นสถาบันการศึกษาที่สำคัญแห่งหนึ่งของเกาหลีในสมัยโชซอนและดึงดูดนักเรียนจากทั่วภูมิภาคยองนัม เรียกแนวความคิดและหลักปรัชญาของอี ฮวังว่า สำนักยองนัม (เกาหลี: 嶺南學派) ใน ค.ศ. 1605 องค์ชายควางแฮทรงยกย่องอี ฮวังโดยสร้างศาลเพื่อกราบไหว้บูชาอี ฮวังขึ้นในซองกยุงกวาน ศิษย์ของอี ฮวังต่างเข้าไปมีบทบาทในราชสำนักเช่น ยู ซองลยอง หลักปรัชญาและผลงานของอี ฮวังเป็นที่ยึดถือของนักปราชญ์และขุนนางในสมัยต่อมา โดยเฉพาะฝ่ายตะวันออกหรือ ทงอิน และฝ่ายใต้หรือ นัมอิน ในสมัยต่อมา

อ้างอิง

  • Jae-eun Kang. The Land of Scholars: Two Thousand Years of Korean Confucianism. Homa & Sekey Books, 2006.

ฮว, อน, เป, นช, อบ, คคลเกาหล, นามสก, ลว, เกาหล, 이황, 李滉, 1501, 1570, นามปากกาว, ทเว, กเย, toegye, เกาหล, 퇴계, 退溪, เป, นน, กปราชญ, ทธ, ขงจ, อใหม, confucianism, คนสำค, ญของเกาหล, ในสม, ยราชวงศ, โชซอน, แนวค, ดและผลงานของ, นม, ทธ, พลอย, างมากต, อวงการน, กปราชญ, ทธ, . chuxniepnchuxbukhkhlekahlithiminamskulwa xi xi hwng ekahli 이황 李滉 kh s 1501 1570 nampakkawa thew key Toegye ekahli 퇴계 退溪 epnnkprachylththikhngcuxihm Neo Confucianism khnsakhykhxngekahliinsmyrachwngsochsxn aenwkhidaelaphlngankhxngxi hwng nnmixiththiphlxyangmaktxwngkarnkprachylththikhngcuxihmkhxngxanackrochsxnnbtngaetkhriststwrrsthisibhkepntnma thngyngepnbukhkhlrwmsmyknkbnkprachylththikhngcuxxikkhnkhxngekahlixyang xi xiphaphkhxngxi hwngbnthnbtr 1 000 wxnkhxngekahliit chuxniepnchuxbukhkhlekahlithiminamskulwa 1 prawti aekikhxi hwngnnekidemux kh s 1501 inrchsmykhxngxngkhchayyxnsn thiemuxngxndng cnghwdkhyxngsngehnux ekahliitinpccubn xi hwngekidintrakul yngbn radblang bidakhux xichik ekahli 이식 李埴 epnkhunnangthxngthin emux kh s 1533 xi hwngedinthangmayngemuxnghnyangephuxekhasuksainrachwithyalysxngkyungkwan ephuxekhathakarsxbkhwakx cxhngwnkhxngekahli odyekhaepnsisykhxngkhimxinhu ekahli 김인후 金麟厚 nkprachykhngcuxihmkhnsakhyxikkhnhnung cnkrathngemuxsxbkhwakxphanidsaercemux kh s 1534 cungekharbrachkarinsmykhxngphraecacungcngxi hwngnnepnsmachikkhxngnkprachyklum sarim ekahli 사림 士林 hruxklumthitxtankarpkkhrxngkhxngkhunnangklumthimixanacxyuinrachsankkhnann xi hwngidrbxiththiphlcaknkprachyklumsarimtangechn ochkwangoc ekahli 조광조 趙光祖 sungthukpraharchiwitipinkhxhakbtemux kh s 1519 emuxerimaerkxi hwngrbrachkarxyuinhngmunkwan xnepnhnwynganthikhxytrwcsxbkarthangankhxngkhunnangphuihy xi hwngrbrachkarinrachsankinrchsmykhxngphraecacungcng phraecaxincng aelaphraecamyxngcng xyuepnewlapramanyisibpi cnkrathngkh s 1545 ekidehtukarnsngharhmuprachypixulsa ekahli 을사사화 乙巳士禍 yunwxnhyxng ekahli 윤원형 尹元衡 phraechsthakhxngphraphnpimuncxngaelaphrapitulakhxngphraecamyxngcngethlingxanackhuninrachsank mikhunnangfay sarim hlaykhnrwmthng xi aeh ekahli 이해 李瀣 nxngchaykhxngxi hwng tangidrbphlkrathbthuklngothscakehtukarninkhrngni thaihxi hwngekidkhwamebuxhnayinkaremuxngrachsankaelakarchxrachybnghlwng cunglaxxkcakrachkarklbipyngbanekidkhxngtnthiemuxngxndngemux kh s 1549 othsnsxwxn thiemuxngxndng cnghwdkhyxngsngehnux ekahliitinpccubn banekidkhxngxi hwng emuxklbmaxyubanekidthiemuxngxndngaelw xi hwngichewlaswnihyipkbkarsuksakhnkhwahlkprchyakhxnglththikhngcuxihm odyechphaasankkhxngcusux Zhu Xi sungxi hwngyudmnepnxyangmak aelainrahwangnixi hwngidphlitphlnganekiywkbhlkprchyakhngcuxkhunmahlayelm in kh s 1560 xi hwngrierimkarcdtngaelakxsrangsankprachyothsn hrux othsnsxwxn ekahli 도산서원 陶山書院 khunthiemuxngxndngbanekid iwephuxepnsanksuksasahrbnkeriynaelankprachykhngcuxrunihm ephuxsrangkhndimikhunthrrmekharbrachkarinrachsank emuxyunwxnhyxngthukpraharchiwitipinkh s 1565 phraecamyxngcngthrngphyayamrwbrwmkhunnangfaysarimklbekharbrachkarxikkhrng phraecamyxngcngthrngrxngkhxihxi hwngklbiprbrachkarxyuhlaykhrng aetthukkhrngxi hwngdarngtaaehnngephiyngewlaimnannk aelathullaxxkklbbanekidin kh s 1568 xi hwngaetnghnngsuxeruxng aephnphumithngsibekiywkbhlkkhunthrrm Ten Diagrams on Sage Learning ekahli 성학십도 聖學十圖 thwayphraecasxnoc sunghnngsuxelmniepnphlnganthisakhythisudkhxngxi hwng aelainpi kh s 1569 idrbkaraetngtngepnecakrmphithikar ekahli 이조판서 禮曹判書 aetxi hwngxyuintaaehnngimnannkaelaklbsubanekidechnedim xi hwngthungaekkrrmthiemuxngxndngbanekidkhxngtnemuxpi kh s 1570 xayu 69 pimrdksubthxd aekikhphraecasxnocthrngxupthmpothsnsxwxnin kh s 1575 aelaihmikarsrangcnesrcsin sankprachyothsnepnsthabnkarsuksathisakhyaehnghnungkhxngekahliinsmyochsxnaeladungdudnkeriyncakthwphumiphakhyxngnm eriykaenwkhwamkhidaelahlkprchyakhxngxi hwngwa sankyxngnm ekahli 嶺南學派 in kh s 1605 xngkhchaykhwangaehthrngykyxngxi hwngodysrangsalephuxkrabihwbuchaxi hwngkhuninsxngkyungkwan sisykhxngxi hwngtangekhaipmibthbathinrachsankechn yu sxnglyxng hlkprchyaaelaphlngankhxngxi hwngepnthiyudthuxkhxngnkprachyaelakhunnanginsmytxma odyechphaafaytawnxxkhrux thngxin aelafayithrux nmxin insmytxmaxangxing aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb xi hwngJae eun Kang The Land of Scholars Two Thousand Years of Korean Confucianism Homa amp Sekey Books 2006 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xi hwng amp oldid 8001682, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม