fbpx
วิกิพีเดีย

อุทยานแห่งชาติภูซาง

อุทยานแห่งชาติภูซาง อยู่ในเขตอำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา และอำเภอเทิง จังหวัดเชียงรายเป็นอุทยานแห่งชาติที่มีอาณาเขตติดต่อประเทศลาว และเป็นพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า

อุทยานแห่งชาติภูซาง
ที่ตั้งจังหวัดพะเยา จังหวัดเชียงราย
พื้นที่178,049.62 ไร่
จัดตั้ง19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545
ผู้เยี่ยมชม54,589 (2559)
หน่วยราชการสำนักอุทยานแห่งชาติ

ลักษณะภูมิประเทศ

ภูมิประเทศ อุทยานแห่งชาติภูซาง มีพื้นที่เป็นเทือกเขาสลับซับซ้อนติดเขตแดนสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีความสูงตั้งแต่ 440-1,548 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ยอดเขาที่สูงที่สุด คือ ยอดเขาดอยผาหม่น มีความสูงประมาณ 1,548 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง เป็นแหล่งต้นน้ำลำธารของแม่น้ำลาว น้ำหงาว น้ำเปื๋อย น้ำบง และน้ำญวน เพื่อหล่อเลี้ยงพื้นที่เกษตรกรรมของประชาชนในเขต อำเภอภูซาง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา และ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย อาณาเขตติดต่อด้านทิศเหนือ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย อาณาเขตติดต่อด้านทิศใต้ อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา อาณาเขตติดต่อด้านทิศตะวันออก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว อาณาเขตติดต่อด้านทิศตะวันตก อำเภอภูซาง

น้ำตกภูซาง เป็นน้ำตกชั้นเดียว ซึ่งตกลงสู่แอ่งน้ำเบื้องล่างสูงประมาณ 25 เมตร น้ำตกภูซางเป็นน้ำตกที่เป็นกระแสน้ำอุ่น มีอุณหภูมิประมาณ 35 องศาเซลเซียส

ลักษณะภูมิอากาศ

ภูมิอากาศ แบ่งได้ 3 ฤดู

  • ฤดูฝน ตั้งแต่เดือน มิถุนายน - กันยายน
  • ฤดูหนาว ตั้งแต่เดือน ตุลาคม - กุมภาพันธ์
  • ฤดูร้อน ตั้งแต่เดือน มีนาคม - พฤษภาคม

พืชพรรณและสัตว์ป่า

สภาพป่าในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูซาง มีความหลากหลายของชนิดป่า ซึ่งสามารถจำแนกเป็นชนิดป่าต่างๆ โดยอาศัยปัจจัยทางสภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ ลักษณะดินและลักษณะของพืชพรรณที่ขึ้นอยู่ได้ 5 ชนิด ดังนี้

  • ป่าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) มีร้อยละ 50 ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติชนิดพันธุ์ไม้ที่พบ เช่น สัก,แดง,ประดู่,มะค่าโมง,ตะแบก,เก็ดแดง เป็นต้น ชนิดพันธุ์ไม้พื้นล่าง เช่น ไผ่ชนิดต่างๆ และหญ้าชนิดต่างๆ ชนิดพันธุ์ไม้เลื้อย เช่น หนามหัน บันไดลิง (เครือบ้า) เป็นต้น
  • ป่าเต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest) มีร้อยละ 30 ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ชนิดพันธุ์ไม้ที่พบ เช่น เต็ง,รัง,เหียง,พลวง เป็นต้น ชนิดพันธุ์ไม้พื้นล่าง เช่น หญ้าชนิดต่างๆ ชนิดพันธุ์ไม้เลื้อย เช่น บันไดลิง(เครือบ้า),ไม้พุ่ม เช่น มะเม่า เป็นต้น
  • ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) มีร้อยละ 10 ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ชนิดพันธุ์ไม้ที่พบ เช่น ไม้ตระกูลก่อ ทะโล้ มณฑาป่า จำปีป่า เป็นต้น ชนิดพันธุ์ไม้พื้นล่าง เช่น ผักกูด กล้วยไม้เฟิร์น มอส พืชวงศ์ขิงข่า เป็นต้น
  • ป่าดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) มีร้อยละ 8 ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ชนิดพันธุ์ไม้ที่พบ เช่น เติม ถ่อน ยางแดง ยางขาว ตะเคียนทอง แดง มะค่าโมง เป็นต้น ชนิดพันธุ์ไม้พื้นล่าง เช่นไผ่บง ไผ่หก มะพร้าวเต่า พืชวงศ์ขิงข่า เป็นต้น ชนิดพันธุ์ไม้เลื้อย เช่น สะบ้าช้าง เป็นต้น
  • ป่าสน (Pine Forest) มีร้อยละ 2 ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ชนิดพันธุ์ไม้ที่พบ เช่น สนสองใบ สนสามใบ ชนิดพันธุ์ไม้พื้นล่าง เช่นหญ้าชนิดต่างๆ

สัตว์ป่า ในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูซางมีสัตว์ป่าหลายชนิด เช่น เลียงผา กวาง เก้ง หมูป่า ลิง ค่าง ชะนี กระจง หมาใน ไก่ป่า ไก่ฟ้า กระรอก อีเห็น กระแตเหนือ และนกชนิดต่างๆ ที่พบเห็นมากกว่า 150 ชนิด และสัตว์เลื้อยคลาน เช่น ตะกวด เต่าปูลู ตัวนิ่ม งูชนิดต่างๆ เป็นต้น ซึ่งอุทยานแห่งชาติภูซางได้กำหนดให้ เต่าปูลู เป็นสัญลักษณ์ประจำอุทยานแห่งชาติภูซาง

การเดินทาง

อุทยานแห่งชาติภูซางอยู่ห่างจากจังหวัดพะเยาประมาณ 96 กิโลเมตร ไปตามเส้นทาง พะเยา -ดอกคำใต้-จุน-เชียงคำ (ทางหลวงหมายเลข 1021) และอยู่ห่างจากอำเภอเชียงคำประมาณ 20 กิโลเมตร โดยจากเชียงคำ ก่อนถึงโรงเรียนภูซางวิทยาคม เลี้ยวขวาเข้ามา (หมายเลขทางหลวง 1093) ผ่านที่ว่าการอำเภอภูซาง หรือเดินทางจากจังหวัดเชียงราย-เทิง-เชียงคำ ระยะทางประมาณ 100 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 1021 หากเดินทางโดยรถโดยสารประจำทางจากพะเยา ถึงอำเภอเชียงคำ หรือจาก เชียงราย แล้วต่อรถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสายเชียงคำ-บ้านฮวก รถจะผ่านที่ทำการอุทยานแห่งชาติภูซาง

  1. สถิตินักท่องเที่ยวที่เข้าไปในเขตอุทยานแห่งชาติต่าง ๆ ปีงบประมาณ 2562 โดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

ทยานแห, งชาต, ซาง, อย, ในเขตอำเภอภ, ซาง, งหว, ดพะเยา, และอำเภอเท, งหว, ดเช, ยงรายเป, นอ, ทยานแห, งชาต, อาณาเขตต, ดต, อประเทศลาว, และเป, นพ, นท, ความอ, ดมสมบ, รณ, ของทร, พยากรป, าไม, และส, ตว, าท, งจ, งหว, ดพะเยา, งหว, ดเช, ยงรายพ, นท, ไร, ดต, ง19, มภาพ, นธ, 25. xuthyanaehngchatiphusang xyuinekhtxaephxphusang cnghwdphaeya aelaxaephxething cnghwdechiyngrayepnxuthyanaehngchatithimixanaekhttidtxpraethslaw aelaepnphunthimikhwamxudmsmburnkhxngthrphyakrpaimaelastwpaxuthyanaehngchatiphusangthitngcnghwdphaeya cnghwdechiyngrayphunthi178 049 62 ircdtng19 kumphaphnth ph s 2545phueyiymchm54 589 1 2559 hnwyrachkarsankxuthyanaehngchati enuxha 1 lksnaphumipraeths 2 lksnaphumixakas 3 phuchphrrnaelastwpa 4 karedinthanglksnaphumipraeths aekikhphumipraeths xuthyanaehngchatiphusang miphunthiepnethuxkekhaslbsbsxntidekhtaednsatharnrthprachathipityprachachnlaw mikhwamsungtngaet 440 1 548 emtrcakradbnathaelpanklang yxdekhathisungthisud khux yxdekhadxyphahmn mikhwamsungpraman 1 548 emtrcakradbnathaelpanklang epnaehlngtnnalatharkhxngaemnalaw nahngaw naepuxy nabng aelanaywn ephuxhlxeliyngphunthiekstrkrrmkhxngprachachninekht xaephxphusang xaephxechiyngkha cnghwdphaeya aela xaephxething cnghwdechiyngray xanaekhttidtxdanthisehnux xaephxething cnghwdechiyngray xanaekhttidtxdanthisit xaephxechiyngkha cnghwdphaeya xanaekhttidtxdanthistawnxxk satharnrthprachathipityprachachnlaw xanaekhttidtxdanthistawntk xaephxphusangnatkphusang epnnatkchnediyw sungtklngsuaexngnaebuxnglangsungpraman 25 emtr natkphusangepnnatkthiepnkraaesnaxun mixunhphumipraman 35 xngsaeslesiyslksnaphumixakas aekikhphumixakas aebngid 3 vdu vdufn tngaeteduxn mithunayn knyayn vduhnaw tngaeteduxn tulakhm kumphaphnth vdurxn tngaeteduxn minakhm phvsphakhmphuchphrrnaelastwpa aekikhsphaphpainphunthixuthyanaehngchatiphusang mikhwamhlakhlaykhxngchnidpa sungsamarthcaaenkepnchnidpatang odyxasypccythangsphaphphumipraeths sphaphphumixakas lksnadinaelalksnakhxngphuchphrrnthikhunxyuid 5 chnid dngni paebycphrrn Mixed Deciduous Forest mirxyla 50 khxngphunthixuthyanaehngchatichnidphnthuimthiphb echn sk aedng pradu makhaomng taaebk ekdaedng epntn chnidphnthuimphunlang echn iphchnidtang aelahyachnidtang chnidphnthuimeluxy echn hnamhn bnidling ekhruxba epntn paetngrng Dry Dipterocarp Forest mirxyla 30 khxngphunthixuthyanaehngchati chnidphnthuimthiphb echn etng rng ehiyng phlwng epntn chnidphnthuimphunlang echn hyachnidtang chnidphnthuimeluxy echn bnidling ekhruxba imphum echn maema epntn padibekha Hill Evergreen Forest mirxyla 10 khxngphunthixuthyanaehngchati chnidphnthuimthiphb echn imtrakulkx thaol mnthapa capipa epntn chnidphnthuimphunlang echn phkkud klwyimefirn mxs phuchwngskhingkha epntn padibaelng Dry Evergreen Forest mirxyla 8 khxngphunthixuthyanaehngchati chnidphnthuimthiphb echn etim thxn yangaedng yangkhaw taekhiynthxng aedng makhaomng epntn chnidphnthuimphunlang echniphbng iphhk maphraweta phuchwngskhingkha epntn chnidphnthuimeluxy echn sabachang epntn pasn Pine Forest mirxyla 2 khxngphunthixuthyanaehngchati chnidphnthuimthiphb echn snsxngib snsamib chnidphnthuimphunlang echnhyachnidtangstwpa inekhtphunthixuthyanaehngchatiphusangmistwpahlaychnid echn eliyngpha kwang ekng hmupa ling khang chani kracng hmain ikpa ikfa krarxk xiehn kraaetehnux aelankchnidtang thiphbehnmakkwa 150 chnid aelastweluxykhlan echn takwd etapulu twnim nguchnidtang epntn sungxuthyanaehngchatiphusangidkahndih etapulu epnsylksnpracaxuthyanaehngchatiphusangkaredinthang aekikhxuthyanaehngchatiphusangxyuhangcakcnghwdphaeyapraman 96 kiolemtr iptamesnthang phaeya dxkkhait cun echiyngkha thanghlwnghmayelkh 1021 aelaxyuhangcakxaephxechiyngkhapraman 20 kiolemtr odycakechiyngkha kxnthungorngeriynphusangwithyakhm eliywkhwaekhama hmayelkhthanghlwng 1093 phanthiwakarxaephxphusang hruxedinthangcakcnghwdechiyngray ething echiyngkha rayathangpraman 100 kiolemtr tamthanghlwnghmayelkh 1021 hakedinthangodyrthodysarpracathangcakphaeya thungxaephxechiyngkha hruxcak echiyngray aelwtxrthodysarpracathangkhnadelksayechiyngkha banhwk rthcaphanthithakarxuthyanaehngchatiphusang sthitinkthxngethiywthiekhaipinekhtxuthyanaehngchatitang pingbpraman 2562 odykrmxuthyanaehngchati stwpa aelaphnthuphuchekhathungcak https th wikipedia org w index php title xuthyanaehngchatiphusang amp oldid 9355329, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม