fbpx
วิกิพีเดีย

เนเมียวสีหบดี

เนเมียวสีหบดี เนมโยสีหปเต๊ะ (พม่า: နေမျိုးသီဟပတေ့, Ne Myo Thihapate) ในพงศาวดารไทยเรียก โปสุพลา โปชุกพลา เนเมียวมหาเสนาบดี หรือ เมียนหวุ่นเนเมียวมหาเสนาบดี ในหลักฐานล้านนาเรียก โป่ซุกซุกปะสิหะ โป่ซุกขบปะสิหะพะเท โป่ซุกขบปะสิงหะพะเท โป่เจียกชุปปสีหพะเท หรือโป่เจียก เป็นแม่ทัพของราชวงศ์โก้นบองที่โดดเด่นมีฝีมือการรบเป็นที่น่าเกรงขาม อีกทั้งเป็นทหารคู่บารมีของพระเจ้ามังระอีกคนหนึ่ง

เนเมียวสีหบดี
နေမျိုး သီဟပတေ့
เกิดหุบเขามู, ราชอาณาจักรพม่า
รับใช้ราชวงศ์โก้นบอง
บริการ/สังกัดกองทัพอาณาจักรพม่า
ประจำการค.ศ. 1752–1776
ชั้นยศพลเอก
การยุทธ์สงครามโก้นบอง-หงสาวดี (ค.ศ. 1752–1757)
พม่าพิชิตหลวงพระบาง (ค.ศ. 1765)
สงครามพม่า-สยาม (ค.ศ. 1765-1767)
สงครามพม่า-สยาม (ค.ศ. 1775–1776)
บำเหน็จเนเมียวสีหบดี
Ne Myo Thenapati (ค.ศ. 1776)
งานอื่นMinister at the Hluttaw (ค.ศ. 1776–1782?)

ราชการทหาร

เริ่มต้นอาชีพทหารโดยเป็นหนึ่งใน 68 ทหารผู้กล้าหาญที่ร่วมกันสถาปนาราชวงศ์โก้นบอง โดยได้รับเลือกจากพระเจ้าอลองพญา ใน พ.ศ. 2295 และได้กลายมาเป็นหนึ่งใน"ทหารที่โดดเด่นที่สุด" ของกองทัพรวมชาติแห่งพระเจ้าอลองพญา (พ.ศ. 2295-2300) ต่อมาเขาเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้พิชิต 3 อาณาจักร คือ อาณาจักรล้านนา, อาณาจักรล้านช้าง และ อาณาจักรอยุธยา ร่วมกับ มังมหานรธา เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2310

ลาวและอยุธยา (2308-2310)

ใน พ.ศ. 2307 พระเจ้ามังระ ตัดสินพระทัยริเริ่มการสงครามกับอาณาจักรอยุธยาใหม่อีกครั้ง พระองค์ได้เลือกเนเมียวสีหบดีและมังมหานรธาเป็นผู้บัญชาการร่วมในการรุกรานคราวนี้ เนเมียวสีหบดีนำเส้นทางรุกรานทางเหนือโดยมีกำลังพล 20,000 นาย เริ่มต้นจากรัฐลาว เวียงจันทน์ตกลงยินยอมจะเป็นเมืองขึ้นของพม่าโดยไม่มีการสู้รบเกิดขึ้น หลวงพระบางขัดขืนแต่ทัพเนเมียวสีหบดีสามารถยึดเมืองได้อย่างง่ายดายในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2308 ทำให้พม่ามีอำนาจควบคุมอย่างสมบูรณ์ตามชายแดนทิศเหนือของอาณาจักรอยุธยาทั้งหมด

เนเมียวสีหบดีเคลื่อนทัพลงมาตามแม่น้ำเจ้าพระยา มุ่งสู่กรุงศรีอยุธยา กองทัพมาถึงชานกรุงเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2309 ไปบรรจบกับทัพของมังมหานรธา ฝ่ายพม่าเริ่มต้นการล้อมนาน 14 เดือน ราวเดือนมีนาคม พ.ศ. 2310 มังมหานรธาเสียชีวิตด้วยโรคภัยไข้เจ็บ และเนเมียวสีหบดีกลายมาเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของปฏิบัติการทั้งหมด กองทัพพม่าตีกรุงศรีอยุธยาแตกในวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310

ดินแดนที่พม่าได้นั้นไม่คงอยู่นานเมื่อพระเจ้ามังระมีบัญชาให้ทหารพม่าส่วนใหญ่กลับประเทศเมื่อปลายปี พ.ศ. 2310 เพื่อรับมือกับการรุกรานของจีนและอินเดียซึ่งคุกคามนครอังวะ ส่วนคนไทยนั้นยึดเอาดินแดนของตนกลับคืนภายในปี พ.ศ. 2312

กลับมาช่วยพม่ารบจีน (2310-2312)

ในขณะที่เนเมียวสีหบดีกำลังทำสงครามอยู่กับอยุธยาอยู่นั้น กองทัพต้าชิงของจักรพรรดิเฉียนหลงได้เห็นว่าเป็นโอกาสเหมาะที่จะเข้าทำลายกรุงอังวะ เนื่องจากมีปัญหาข้อพิพาทแถวชายแดนมานาน ในระยะแรกของการบุกครั้งที่1 และ2 พระเจ้ามังระยังให้เนเมียวสีหบดีทำสงครามในอยุธยาต่อไป โดยสงครามกับจีนพระองค์จะทรงจัดการเอง ต่อมาภายหลัง ในการบุกครั้งที่3กองทัพต้าชิงส่งทัพใหญ่มา เนเมียวสีหบดีที่พิชิตอยุธยาลงได้แล้วเร่งเดินทางกลับมาช่วยกรุงอังวะรับศึกต้าชิงทันที แต่ยังไม่ทันกลับมาถึงอะแซหวุ่นกี้ก็สามารถพิชิตกองทัพต้าชิงได้แล้ว ส่วนในการบุกครั้งที่4ของต้าชิง เนเมียวสีหบดีได้เดินทางกลับมาถึงกรุงอังวะ โดยมีส่วนสำคัญในการช่วยอะแซหวุ่นกี้ตีกระหนาบต้าชิงจนจะได้ชัยชนะอยู่แล้ว แต่แม่ทัพใหญ่อะแซหวุ่นกี้ก็ได้ตัดสินใจจบสงครามที่ไม่มีประโยชน์ครั้งนี้ลง ด้วยการเจรจาสงบศึกได้ลงนามในสนธิสัญญากองตนในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2312 อันเป็นการยุติสงครามจีน-พม่าลง

เชียงใหม่ (2316)

ต้นปี พ.ศ. 2316 โป่มะยุง่วนข้าหลวงพม่าคนใหม่ประจำอยู่ที่เชียงใหม่พร้อมกับกองทัพขนาดใหญ่พอสมควร พระเจ้ามังระต้องการเริ่มสงครามกับกรุงธนบุรีที่เริ่มก่อสร้างอาณาจักรขึ้นมาใหม่ แต่ยังต้องระวังภัยคุกคามจากจีนทางเหนือ และอยู่ในช่วงฟื้นฟูกำลังพลขึ้นมาใหม่ เนื่องจากใช้กำลังทหารไปมากเมื่อครั้งทำศึกกับจีน โดยก่อนหน้านี้เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2312 สงครามพม่าและจีนสิ้นสุดลงด้วยการทำสนธิสัญญากองตนซึ่งทั้งสองฝ่ายไม่พอใจนัก จีนยังคงทหารจำนวนมากไว้ที่ชายแดนเพื่อเตรียมทำศึกอีกครั้ง ขณะที่เชียงใหม่โปมะยุง่วนเมื่อถูกส่งมาปกครอง ก็ใช้อำนาจกดขี่ชาวพื้นเมือง จนความรู้ไปถึงโปสุพลา (เนเมียวสีหบดี) เนเมียวสีหบดีจึงมีเรื่องขุ่นข้องหมองใจกับโปมะยุง่วน เนื่องจากให้การสนับสนุนเจ้าท้องถิ่นอยู่ เพราะเนเมียวสีหบดีมองว่าการเชื่อมสัมพันธไมตรีกับชาวพื้นเมืองทางเหนือจำเป็นต่อยุทธศาสตร์การทำสงครามกับกรุงธนบุรี แต่โปมะยุง่วนกับขูดรีดและกลั่นแกล้งขุนนางท้องถิ่นจำนวนมาก จนสุดท้ายมีเรื่องจนทำให้พระยาจ่าบ้าน, พระเจ้ากาวิละเข้าร่วมกับกรุงธนบุรี และทำสงครามกับพม่าอยู่หลายครั้งด้วยความช่วยเหลือของกรุงธนบุรี สุดท้ายอาณาจักรล้านนาซึ่งอยู่ในปกครองของพม่ากว่า 200 ปีจึงสิ้นสุดลง เมืองเชียงใหม่ เมืองลำพูน เมืองลำปาง เมืองแพร่และเมืองน่าน เข้ามาอยู่ในพระราชอาณาเขตไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2317 เป็นต้นมา

ธนบุรี (2318-2319)

ขุนนางท้องถิ่นเปลี่ยนไปเข้ากับฝ่ายกรุงธนบุรี และขับไล่ข้าหลวงพม่าออกจากเชียงใหม่ด้วยความช่วยเหลือของกรุงธนบุรี ในปี พ.ศ. 2317 พระเจ้ามังระที่ในขณะนั้นพระองค์ประชวรบ้างแล้ว ได้มีบัญชาให้กองทัพพม่าเปิดศึกกับกรุงธนบุรี เนเมียวสีหบดีเป็นรองแม่ทัพ ได้คุมทหารทางด้านเหนืออีกครั้ง ภายใต้การบัญชาการของแม่ทัพใหญ่อะแซหวุ่นกี้ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2318

บุกครั้งแรก

เนเมียวสีหบดียกกองทัพซึ่งตั้งอยู่ที่เชียงแสนลงมายังเชียงใหม่ ในการศึกครั้งนั้นกองทัพของเนเมียวสีหบดียกมาล้อมเชียงใหม่ แต่ไม่ยอมโหมกำลังเข้าตีทำแต่เพียงล้อมไว้ รอจนกองทัพของเจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ ยกขึ้นมาช่วยเชียงใหม่ จากนั้นก็ตั้งรับพลาง ถอยพลางกลับเชียงแสนไป สอดรับกับทัพใหญ่ของอะแซหวุ่นกี้ที่ยกเข้าทางด่านแม่ละเมา เข้าตีเมืองตาก สุโขทัย มุ่งสู่พิษณุโลกในจังหวะที่การป้องกันเมืองพิษณุโลกอ่อนแอที่สุด เนื่องจากทัพของเจ้าพระยาทั้ง 2 ติดศึกอยู่ทางเชียงใหม่

บุกครั้งที่สอง

เมื่อกองทัพของเจ้าพระยาทั้งสองถอยกลับไปป้องกันเมืองพิษณุโลกแล้ว กองทัพของเนเมียวสีหบดีที่เตรียมพลไว้พร้อมอยู่แล้วที่เมืองนายกำลังจะเคลื่อนพลลงมาสมทบกับอะแซหวุ่นกี้ที่ตอนนั้นสามารถยึดเมืองพิษณุโลกได้แล้ว แต่แล้วเขาก็ต้องยกกองทัพกลับไปอีกครั้ง หลังอะแซหวุ่นกี้สั่งยกเลิกการรุกรานเมื่อทราบข่าวพระเจ้ามังระสวรรคต ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2319

บั้นปลายชีวิต

เมื่อพระเจ้ามังระสรรคตแล้ว พระเจ้าจิงกูจาพระโอรสของพระองค์ได้เลื่อนยศเนเมียวสีหบดีขึ้นเป็นเนมโยเสนาปติ (နေမျိုးသေနာပတိ) ในปีพ.ศ. 2319 มีตำแหน่งเป็นหวุ่นคยี (ဝန်ကြီး) หรือเสนาบดี และได้มีตำแหน่งอยู่ในสภาลุดดอด้วย หลังจากนั้นไม่ปรากฏหลักฐานถึงอีก

อ้างอิง

  1. Kyaw Thet (1962). History of Burma (ภาษาพม่า). Yangon: University of Rangoon Press. p. 327.
  2. ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 14 คำให้การชาวอังวะ และคำให้การมหาโค มหากฤช เรื่อง เมืองพม่า นายพลโท พระยากลาโหมราชเสนาพิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพเถ้าแก่ทองดี ปาณิกบุตร์ จ.จ.เมื่อปีมะเส็ง พ.ศ. ๒๔๗๒
  3. GE Harvey (1925). History of Burma. London: Frank Cass & Co. Ltd. pp. 250–254.
  4. Thant Myint-U (2006). The River of Lost Footsteps--Histories of Burma. Farrar, Straus and Giroux. pp. 98–99. ISBN 978-0-374-16342-6, 0-374-16342-1 Check |isbn= value: invalid character (help).
  5. Lt. Gen. Sir Arthur P. Phayre (1883). History of Burma (1967 ed.). London: Susil Gupta. pp. 188–190.

เนเม, ยวส, หบด, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, เนมโยส, หปเต, พม, ဟပတ, thihapate, ในพงศาวดารไทยเร, ยก, โปส, พลา, โปช, กพลา. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudenemiywsihbdi enmoysihpeta phma န မ သ ဟပတ Ne Myo Thihapate inphngsawdarithyeriyk opsuphla opchukphla enemiywmhaesnabdi hrux emiynhwunenemiywmhaesnabdi 2 inhlkthanlannaeriyk opsuksukpasiha opsukkhbpasihaphaeth opsukkhbpasinghaphaeth opeciykchuppsihphaeth hruxopeciyk epnaemthphkhxngrachwngsoknbxngthioddednmifimuxkarrbepnthinaekrngkham xikthngepnthharkhubarmikhxngphraecamngraxikkhnhnung 3 enemiywsihbdi န မ သ ဟပတ ekidhubekhamu rachxanackrphmarbichrachwngsoknbxngbrikar wbr sngkdkxngthphxanackrphmapracakarkh s 1752 1776chnysphlexkkaryuththsngkhramoknbxng hngsawdi kh s 1752 1757 phmaphichithlwngphrabang kh s 1765 sngkhramphma syam kh s 1765 1767 sngkhramphma syam kh s 1775 1776 baehncenemiywsihbdi Ne Myo Thenapati kh s 1776 1 nganxunMinister at the Hluttaw kh s 1776 1782 enuxha 1 rachkarthhar 1 1 lawaelaxyuthya 2308 2310 1 2 klbmachwyphmarbcin 2310 2312 1 3 echiyngihm 2316 1 4 thnburi 2318 2319 1 4 1 bukkhrngaerk 1 4 2 bukkhrngthisxng 2 bnplaychiwit 3 xangxingrachkarthhar aekikherimtnxachiphthharodyepnhnungin 68 thharphuklahaythirwmknsthapnarachwngsoknbxng odyidrbeluxkcakphraecaxlxngphya in ph s 2295 aelaidklaymaepnhnungin thharthioddednthisud 4 khxngkxngthphrwmchatiaehngphraecaxlxngphya ph s 2295 2300 txmaekhaepnthiruckkndiinthanaphuphichit 3 xanackr khux xanackrlanna xanackrlanchang aela xanackrxyuthya rwmkb mngmhanrtha emuxeduxnemsayn ph s 2310 lawaelaxyuthya 2308 2310 aekikh dubthkhwamhlkthi karesiykrungsrixyuthyakhrngthisxng in ph s 2307 phraecamngra tdsinphrathyrierimkarsngkhramkbxanackrxyuthyaihmxikkhrng phraxngkhideluxkenemiywsihbdiaelamngmhanrthaepnphubychakarrwminkarrukrankhrawni enemiywsihbdinaesnthangrukranthangehnuxodymikalngphl 20 000 nay erimtncakrthlaw ewiyngcnthntklngyinyxmcaepnemuxngkhunkhxngphmaodyimmikarsurbekidkhun hlwngphrabangkhdkhunaetthphenemiywsihbdisamarthyudemuxngidxyangngaydayineduxnminakhm ph s 2308 thaihphmamixanackhwbkhumxyangsmburntamchayaednthisehnuxkhxngxanackrxyuthyathnghmd 4 enemiywsihbdiekhluxnthphlngmatamaemnaecaphraya mungsukrungsrixyuthya kxngthphmathungchankrungemuxwnthi 20 mkrakhm ph s 2309 ipbrrcbkbthphkhxngmngmhanrtha 5 fayphmaerimtnkarlxmnan 14 eduxn raweduxnminakhm ph s 2310 mngmhanrthaesiychiwitdwyorkhphyikhecb aelaenemiywsihbdiklaymaepnphubychakarsungsudkhxngptibtikarthnghmd kxngthphphmatikrungsrixyuthyaaetkinwnthi 7 emsayn ph s 2310 4 dinaednthiphmaidnnimkhngxyunanemuxphraecamngramibychaihthharphmaswnihyklbpraethsemuxplaypi ph s 2310 ephuxrbmuxkbkarrukrankhxngcinaelaxinediysungkhukkhamnkhrxngwa 4 5 swnkhnithynnyudexadinaednkhxngtnklbkhunphayinpi ph s 2312 klbmachwyphmarbcin 2310 2312 aekikh inkhnathienemiywsihbdikalngthasngkhramxyukbxyuthyaxyunn kxngthphtachingkhxngckrphrrdiechiynhlngidehnwaepnoxkasehmaathicaekhathalaykrungxngwa enuxngcakmipyhakhxphiphathaethwchayaednmanan inrayaaerkkhxngkarbukkhrngthi1 aela2 phraecamngrayngihenemiywsihbdithasngkhraminxyuthyatxip odysngkhramkbcinphraxngkhcathrngcdkarexng txmaphayhlng inkarbukkhrngthi3kxngthphtachingsngthphihyma enemiywsihbdithiphichitxyuthyalngidaelwerngedinthangklbmachwykrungxngwarbsuktachingthnthi aetyngimthnklbmathungxaaeshwunkiksamarthphichitkxngthphtachingidaelw swninkarbukkhrngthi4khxngtaching enemiywsihbdiidedinthangklbmathungkrungxngwa odymiswnsakhyinkarchwyxaaeshwunkitikrahnabtachingcncaidchychnaxyuaelw aetaemthphihyxaaeshwunkikidtdsiniccbsngkhramthiimmipraoychnkhrngnilng dwykarecrcasngbsukidlngnaminsnthisyyakxngtninwnthi 22 thnwakhm ph s 2312 xnepnkaryutisngkhramcin phmalng echiyngihm 2316 aekikh tnpi ph s 2316 opmayungwnkhahlwngphmakhnihmpracaxyuthiechiyngihmphrxmkbkxngthphkhnadihyphxsmkhwr phraecamngratxngkarerimsngkhramkbkrungthnburithierimkxsrangxanackrkhunmaihm aetyngtxngrawngphykhukkhamcakcinthangehnux aelaxyuinchwngfunfukalngphlkhunmaihm enuxngcakichkalngthharipmakemuxkhrngthasukkbcin odykxnhnaniemuxeduxnthnwakhm ph s 2312 sngkhramphmaaelacinsinsudlngdwykarthasnthisyyakxngtnsungthngsxngfayimphxicnk cinyngkhngthharcanwnmakiwthichayaednephuxetriymthasukxikkhrng khnathiechiyngihmopmayungwnemuxthuksngmapkkhrxng kichxanackdkhichawphunemuxng cnkhwamruipthungopsuphla enemiywsihbdi enemiywsihbdicungmieruxngkhunkhxnghmxngickbopmayungwn enuxngcakihkarsnbsnunecathxngthinxyu ephraaenemiywsihbdimxngwakarechuxmsmphnthimtrikbchawphunemuxngthangehnuxcaepntxyuththsastrkarthasngkhramkbkrungthnburi aetopmayungwnkbkhudridaelaklnaeklngkhunnangthxngthincanwnmak cnsudthaymieruxngcnthaihphrayacaban phraecakawilaekharwmkbkrungthnburi aelathasngkhramkbphmaxyuhlaykhrngdwykhwamchwyehluxkhxngkrungthnburi sudthayxanackrlannasungxyuinpkkhrxngkhxngphmakwa 200 picungsinsudlng emuxngechiyngihm emuxnglaphun emuxnglapang emuxngaephraelaemuxngnan ekhamaxyuinphrarachxanaekhtithytngaetpi ph s 2317 epntnma thnburi 2318 2319 aekikh khunnangthxngthinepliynipekhakbfaykrungthnburi aelakhbilkhahlwngphmaxxkcakechiyngihmdwykhwamchwyehluxkhxngkrungthnburi inpi ph s 2317 phraecamngrathiinkhnannphraxngkhprachwrbangaelw idmibychaihkxngthphphmaepidsukkbkrungthnburi enemiywsihbdiepnrxngaemthph idkhumthharthangdanehnuxxikkhrng phayitkarbychakarkhxngaemthphihyxaaeshwunki ineduxntulakhm ph s 2318 bukkhrngaerk aekikh enemiywsihbdiykkxngthphsungtngxyuthiechiyngaesnlngmayngechiyngihm inkarsukkhrngnnkxngthphkhxngenemiywsihbdiykmalxmechiyngihm aetimyxmohmkalngekhatithaaetephiynglxmiw rxcnkxngthphkhxngecaphrayackriaelaecaphrayasursih ykkhunmachwyechiyngihm caknnktngrbphlang thxyphlangklbechiyngaesnip sxdrbkbthphihykhxngxaaeshwunkithiykekhathangdanaemlaema ekhatiemuxngtak suokhthy mungsuphisnuolkincnghwathikarpxngknemuxngphisnuolkxxnaexthisud enuxngcakthphkhxngecaphrayathng 2 tidsukxyuthangechiyngihm bukkhrngthisxng aekikh emuxkxngthphkhxngecaphrayathngsxngthxyklbippxngknemuxngphisnuolkaelw kxngthphkhxngenemiywsihbdithietriymphliwphrxmxyuaelwthiemuxngnaykalngcaekhluxnphllngmasmthbkbxaaeshwunkithitxnnnsamarthyudemuxngphisnuolkidaelw aetaelwekhaktxngykkxngthphklbipxikkhrng hlngxaaeshwunkisngykelikkarrukranemuxthrabkhawphraecamngraswrrkht ineduxnmithunayn ph s 2319bnplaychiwit aekikhemuxphraecamngrasrrkhtaelw phraecacingkucaphraoxrskhxngphraxngkhideluxnysenemiywsihbdikhunepnenmoyesnapti န မ သ န ပတ inpiph s 2319 mitaaehnngepnhwunkhyi ဝန က hruxesnabdi aelaidmitaaehnngxyuinsphaluddxdwy hlngcaknnimprakthlkthanthungxikxangxing aekikh Kyaw Thet 1962 History of Burma phasaphma Yangon University of Rangoon Press p 327 prachumphngsawdar phakhthi 14 khaihkarchawxngwa aelakhaihkarmhaokh mhakvch eruxng emuxngphma nayphloth phrayaklaohmrachesnaphimphinnganphrarachthanephlingsphethaaekthxngdi panikbutr c c emuxpimaesng ph s 2472 GE Harvey 1925 History of Burma London Frank Cass amp Co Ltd pp 250 254 4 0 4 1 4 2 4 3 Thant Myint U 2006 The River of Lost Footsteps Histories of Burma Farrar Straus and Giroux pp 98 99 ISBN 978 0 374 16342 6 0 374 16342 1Check isbn value invalid character help 5 0 5 1 Lt Gen Sir Arthur P Phayre 1883 History of Burma 1967 ed London Susil Gupta pp 188 190 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title enemiywsihbdi amp oldid 9656528, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม