fbpx
วิกิพีเดีย

เรดอน

ทั่วไป
ชื่อ, สัญลักษณ์, เลขอะตอม เรดอน, Rn, 86
อนุกรมเคมี ก๊าซมีตระกูล
หมู่, คาบ, บล็อก 18, 6, p
ลักษณะ ไม่มีสี
มวลอะตอม (222) กรัม/โมล
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [Xe] 4f14 5d10 6s2 6p6
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน 2, 8, 18, 32, 18, 8
คุณสมบัติทางกายภาพ
สถานะ แก๊ส
จุดหลอมเหลว 202 K
(-71 °C)
จุดเดือด 211.3 K(-61.7 °C)
ความร้อนของการหลอมเหลว 3.247 กิโลจูล/โมล
ความร้อนของการกลายเป็นไอ 18.10 กิโลจูล/โมล
ความร้อนจำเพาะ (25 °C) 20.786 J/(mol·K)
ความดันไอ
P/Pa 1 10 100 1 k 10 k 100 k
ที่ T K 110 121 134 152 176 211
คุณสมบัติของอะตอม
โครงสร้างผลึก cubic face centered
สถานะออกซิเดชัน 0
อิเล็กโตรเนกาติวิตี no data (พอลิงสเกล)
พลังงานไอออไนเซชัน ระดับที่ 1: 1037 กิโลจูล/โมล
รัศมีอะตอม (คำนวณ) 120 pm
รัศมีโควาเลนต์ 145 pm
อื่น ๆ
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก nonmagnetic
การนำความร้อน (300 K) 3.61 mW/(m·K)
เลขทะเบียน CAS 10043-92-2
ไอโซโทปเสถียรที่สุด
บทความหลัก: ไอโซโทปของเรดอน
iso NA ครึ่งชีวิต DM DE (MeV) DP
211Rn syn 14.6 h Epsilon 2.892 211At
Alpha 5.965 207Po
222Rn 100% 3.824 d Alpha 5.590 218Po
แหล่งอ้างอิง

เรดอน (อังกฤษ: Radon) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 86 และสัญลักษณ์คือ Rn เรดอนเป็นธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นก๊าซเฉื่อย (radioactive noble gas) ได้จากการแยกสลายธาตุเรเดียม เรดอนเป็นก๊าซที่หนักที่สุดและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไอโซโทปของเรดอนคือ Rn-222 ใช้ในงานรักษาผู้ป่วยแบบเรดิโอเธอราปี (radiotherapy) ก๊าซเรดอนที่สะสมในบ้านเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอดและทำให้ผู้ป่วยในสหภาพยุโรปเสียชีวิตปีละ 20,000 คน

เรดอนถูกสร้างขึ้นโดยผ่านกระบวนการอีกขั้นหนึ่งของการย่อยสลายธาตุกัมมันตรังสีทั่วไป โดยที่ธอเรียมและยูเรเนียมซึ่งเป็นธาตุกัมมันตภาพดึกดำบรรพ์ที่มีอยู่ตั้งแต่ครั้งที่โลกเริ่มก่อตัวขึ้น ได้เกิดการสลายตัวของธาตุและให้ผลเป็นธาตุเรเดียม และการสลายตัวของเรเดียมจึงทำให้เกิดธาตุเรดอน ซึ่งเมื่อเรดอนสลายตัว ก็ทำให้เกิดธาตุ radon  daughter อันเป็นชื่อเรียกของธาตุกัมมันตรังสีใหม่ที่ได้มา ซึ่งต่างจากเรดอนที่มีสถานะเป็นแก๊ซตรงที่มีสถานะเป็นของแข็งและเกาะติดกับพื้นผิว

ลักษณะ

คุณสมบัติทางกายภาพ

เรดอนจัดเป็นก๊าซเฉื่อยที่ไร้รส สี และกลิ่น ไม่สามารถตรวจจับได้ด้วยผัสสะสัมผัสของมนุษย์ ในอุณหภูมิและความดันมาตรฐาน เรดอนจะมีสภาพเป็นก๊าซอะตอมเดี่ยวที่มีความหนาแน่นเท่ากับ 9.73 กิโลกรัม/เมตร3, มากกว่าความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศโลกที่ระดับน้ำทะเลประมาณ 8 เท่า

เรดอนจะสามารถสังเกตเห็นได้เมื่อนำไปแช่เย็นในอุณหภูมิที่ต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง ซึ่งจะเปล่งแสงเป็นสีเหลืองไปถึงแดงส้มแปรผันตามอุณหภูมิที่ลดลง ด้วยสาเหตุจากการแผ่รังสีที่เข้มข้นขึ้น

เรดอนสามารถละลายในน้ำได้ ซึ่งสามารถละลายได้มากกว่าเมื่อเทียบกับก๊าซมีตระกูลชนิดอื่น และละลายได้ดีกว่าในของเหลวชีวภาพเมื่อเทียบกับการละลายในน้ำ

คุณสมบัติทางเคมี

เรดอนจัดเป็นสมาชิกของกลุ่มธาตุวาเลนซ์เป็นศูนย์หรือถูกเรียกว่ากลุ่มก๊าซมีตระกูล ในการดึงอีเล็กตรอนหนึ่งๆออกจากเปลือกต้องใช้พลังงานไอออไนเซชัน 1037 กิโลจูล/โมล เรดอนมีอิเล็กโตรเนกาทิวิตีต่ำกว่าซีนอนอ้างอิงจากตารางธาตุ ดังนั้นจีงเกิดปฏิกิริยาได้มากกว่า

การทดลองเกี่ยวกับธาตุเรดอนนั้นมีน้อยเนื่องด้วยปัจจัยทางด้านค่าใช้จ่ายที่สูงกอปรกับเป็นธาตุกัมมันตรังสี เรดอนสามารถออกซิไดซ์ได้ด้วยตัวออกซิ ไดซ์ที่มีประสิทธิภาพอย่างฟลูออรีนซึ่งจะทำให้เกิดเรดอนไดฟลูออรีน อันสามารถแยกส่วนกลับไปสู่ธาตุเดิมได้ในอุณหภูมิที่มากกว่า 250 องศาเซลเซียส เรดอนมีระดับการระเหยเป็นไอที่ต่ำและถูกเชื่อว่าเป็น RnF2

เนื่องจากเรดอนมีครึ่งชีวิตที่สั้นและสารประกอบที่มีกัมมันตภาพรังสีจึงทำให้การตรวจสอบรายละเอียดของสารประกอบทำได้ยาก ทำให้มีเพียงข้อตั้งทางทฤษฎีที่คาดว่าเรดอนน่าจะมีระยะระหว่างพันธะ Rn-F เป็น 2.08 Å และสารประกอบมีอุณหพลศาสตร์ที่คงที่และผันผวนน้อยกว่าเมื่อเทียบกับ XeF2.

[RnF]+ ไอออน เชื่อว่าก่อตัวขึ้นมาตามรูปแบบนี้:
Rn (g) + 2 [O2]+[SbF6] (s) → [RnF]+[Sb2F11] (s) + 2 O2 (g)

ไอโซโทป

เรดอนไม่มีไอโซโทปคงที่ โดยทั่วไปจะมีไอโซโทปกัมมันตรังสี 36 ตัว ที่มีมวลอะตอมตั้งแต่ 193 ถึง 228 ประกอบเข้าด้วยกัน ไอโซโทปตัวคงที่ที่สุดของเรดอนคือ 222Rn อันเป็นไอโซโทปที่ได้จากการสลายตัวของเรเดียม-226 หรือจากการสลายตัวของยูเรเนียม-238 มีไอโซโทป 3 ตัวที่มีครึ่งชีวิตเพียงหนึ่งชั่วโมงกว่าอันได้แก่ 211Rn, 210Rn และ 224Rn

ไอโซโทปตัวอื่นๆที่มีครึ่งชีวิตสั้นได้แก่ 220Rn เป็นไอโซโทปที่ได้จากการสลายตัวของธอเรียม-232 ซึ่งเป็นไอโซโทปตัวคงที่ที่สุดของธาตุธอเรียม เรียกโดยทั่วไปว่า"ธอรอน"อันมีครึ่งชีวิตอยู่ที่ 55.6 วินาทีและยังปล่อยรังสีอัลฟาออกมา เช่นเดียวกับ 219Rn ที่เป็นผลผลิตจากไอโซโทปของธาตุแอคติเนียมตัวที่ 227 ซึ่งเป็นไอโซโทปตัวคงที่ที่สุด เรียกโดยทั่วไปว่า"แอคตินอน"อันมีครึ่งชีวิตอยู่ที่ 3.96 วินาทีและปล่อยรังสีอัลฟาเช่นกัน

นิรุกติศาสตร์

ในตอนแรกเรดอนมีหลายชื่อที่ใช้เรียก โดย "เอ็กซ์ราดิโอ"ถูกใช้เรียกในช่วงปีคริสต์ศักราช 1904 และต่อมาได้มีการเสนอชื่อให้ใช้"เรดอน"ในปีคริสต์ศักราช 1918 และ"เรดิออน"ในปีคริสต์ศักราช 1919 แต่ในท้ายที่สุดแล้ว เรดอนก็ถูกเลือกให้เป็นชื่อที่ใช้เรียกแก๊ซชนิดนี้ตั้งแต่ปีคริสต์ศักราช 1920 และในปีคริสต์ศักราช 1923 คณะกรรมการจาก IUPAC ได้คัดเลือกให้ใช้ชื่อเรดอนธาตุนี้

ประวัติ

เรดอนจัดเป็นธาตุกัมมันตรังสีธาตุที่ 5  ที่มีการค้นพบถัดจากยูเรเนียม ธอเรียม เรเดียม และ โปโลเนียม ย้อนกลับไปในช่วงปีคริสต์ศักราช 1900  เฟเดอริช เอิร์นส์ ดอร์นได้ให้รายงานเกี่ยวกับการทดลองว่าด้วยเรื่องส่วนประกอบของธาตุเรเดียมได้ปล่อยแก๊ซกัมมันตภาพรังสีออกมา ซึ่งเขาเรียกมันว่า เรเดียม อีมาเนชัน(Ra Em) ซึ่งก่อนหน้าที่จะมีรายงานของดอร์ม ปิแอร์ คูรี และ มารี คูรี ได้สังเกตเห็นว่ามีมีก๊าซถูกปล่อยออกมาจากกระบวนการสลายตัวของเรเดียม และคงกัมมันตภาพรังสีเป็นเวลานานนับเดือน ในช่วงปีคริสต์ศักราช 1899

ในปีคริสต์ศักราช 1910 เซอร์ วิลเลียม แรมซี และ โรเบิร์ต วิทลอว์-เกรย์ แยกเรดอนได้สำเร็จ  และประมาณค่าความหนาแน่นและให้ประมาณค่าเรดอนว่าเป็นก๊าซที่หนักที่สุดเท่าที่เคยค้นพบ ซึ่งผลที่ได้นี้ได้รับการรับรองจาก CIAAW ในปีคริสต์ศักราช 1912

การปรากฏ

เรดอนก่อตัวขึ้นจากกระบวนการสลายตัวของเรเดียม-226 ซึ่งพบได้ในแร่ยูเรเนียม หินฟอสเฟต หินดินดาน หินอัคนี หินแปรบางชนิดอย่างหินแกรนิต หินไนส์ เป็นต้น และหินทั่วๆไปอย่างเช่นหินอ่อนเองบางทีก็มีเรเดียม-226 เป็นส่วนประกอบอยู่ แต่มักจะพบในปริมาณที่น้อย

ในบริเวณ1ตารางไมล์บนพื้นผิวของโลก ลึกลงไป 6-15 นิ้ว จะมีธาตุเรเดียมอยู่ประมาณ 1 กรัม ซึ่งจะปล่อยก๊าซเรดอนในปริมาณไม่มากออกมาสู่ชั้นบรรยากาศของโลก

ด้วยเหตุนี้ทำให้สามารถพบเรดอนได้ในหลายๆที่ด้วยกันบนภาคพื้นดินในปริมาณตั้งแต่ 1 ถึง 100 แบ็กแรล/เมตร3 และเหนือผิวมหาสมุทรประมาณ 0.1 แบ็กแรล/เมตร3 แต่จะสามารถตรวจพบได้ในปริมาณที่มากในเขตเหมืองและถ้ำ โดยปริมาณที่ตรวจพบมีประมาณตั้งแต่ 20 ไปจนถึง 2,000 แบ็กแรล/เมตร3.

อ้างอิง

  1. . All Measures. 2004. สืบค้นเมื่อ 2008-02-12.
  2. Williams, David R. (2007-04-19). "Earth Fact Sheet". NASA. สืบค้นเมื่อ 2008-06-26.
  3. "Radon". Jefferson Lab. สืบค้นเมื่อ 2008-06-26.
  4. Thomas, Jens (2002). Noble Gases. Marshall Cavendish. p. 13. ISBN 978-0-7614-1462-9.
  5. Thomas, Jens (2002). Noble Gases. Marshall Cavendish. p. 13. ISBN 978-0-7614-1462-9.
  6. David R. Lide (2003). "Section 10, Atomic, Molecular, and Optical Physics; Ionization Potentials of Atoms and Atomic Ions". CRC Handbook of Chemistry and Physics (84th ed.). Boca Raton, Florida: CRC Press.
  7. Stein, L. (1970). "Ionic Radon Solution". Science. 168 (3929): 362–4. Bibcode:1970Sci...168..362S. doi:10.1126/science.168.3929.362. PMID 17809133.
  8. Pitzer, Kenneth S. (1975). "Fluorides of radon and element 118". J. Chem. Soc., Chem. Commun. (18): 760–1. doi:10.1039/C3975000760b.
  9. Meng- Sheng Liao; Qian- Er Zhang (1998). "Chemical Bonding in XeF2, XeF4, KrF2, KrF4, RnF2, XeCl2, and XeBr2: From the Gas Phase to the Solid State". The Journal of Physical Chemistry A. 102 (52): 10647. doi:10.1021/jp9825516.
  10. Holloway, J (1986). "Noble-gas fluorides". Journal of Fluorine Chemistry. 33: 149. doi:10.1016/S0022-1139(00)85275-6.
  11. Sonzogni, Alejandro. "Interactive Chart of Nuclides". National Nuclear Data Center: Brookhaven National Laboratory. สืบค้นเมื่อ 2008-06-06.
  12. "Principal Decay Scheme of the Uranium Series". Gulflink.osd.mil. สืบค้นเมื่อ 2008-09-12.
  13. Ramsay, Sir William; Collie, J. Normal (1904). "The Spectrum of the Radium Emanation". Proceedings of the Royal Society. 73 (488–496): 470–6. doi:10.1098/rspl.1904.0064.
  14. Schmidt, Curt (1918). "Periodisches System und Genesis der Elemente". Z. Anorg. Ch. 103: 79–118. doi:10.1002/zaac.19181030106.
  15. Perrin, J (1919). "Radon". Ann. Physique. 11: 5.
  16. Adams, Elliot Quincy (1920). "The Independent Origin of Actinium". J. Amer. Chem. Soc. 42 (11): 2205. doi:10.1021/ja01456a010.
  17. Dorn, Friedrich Ernst (1900). "Ueber die von radioaktiven Substanzen ausgesandte Emanation". Abhandlungen der Naturforschenden Gesellschaft zu Halle. Stuttgart. 22: 155.
  18. Curie, P.; Curie, Mme. Marie (1899). "Sur la radioactivite provoquee par les rayons de Becquerel". Comptes rendus hebdomadaires des séances de l'Académie des sciences. 129: 714–6.
  19. Ramsay, W.; Gray, R. W. (1910). "La densité de l'emanation du radium". Comptes rendus hebdomadaires des seances de l'Academie des sciences. 151: 126–8.
  20. Thad. Godish, (2001) . "Indoor Environment Quality". Boca Raton, FL. CRC Press LLC.
  21. J. H. Harley (1975). Noble gases. U.S. Environmental Protection Agency. pp. 109–114.
  22. Sperrin, Malcolm; Gillmore, Gavin; Denman, Tony (2001). "Radon concentration variations in a Mendip cave cluster". Environmental Management and Health. 12 (5): 476. doi:10.1108/09566160110404881.

เรดอน, แอสทาท, แฟรนเซ, ยมxe, ogท, วไปช, ญล, กษณ, เลขอะตอม, 86อน, กรมเคม, าซม, ตระก, ลหม, คาบ, บล, อก, pล, กษณะ, ไม, มวลอะตอม, กร, โมลการจ, ดเร, ยงอ, เล, กตรอน, 4f14, 5d10, 6p6อ, เล, กตรอนต, อระด, บพล, งงาน, 8ค, ณสมบ, ทางกายภาพสถานะ, แก, สจ, ดหลอมเหลว, ดเด, อด,. erdxnaexsthathin aefrnesiymXe Rn Ogthwipchux sylksn elkhxatxm erdxn Rn 86xnukrmekhmi kasmitrakulhmu khab blxk 18 6 plksna immisimwlxatxm 222 krm omlkarcderiyngxielktrxn Xe 4f14 5d10 6s2 6p6xielktrxntxradbphlngngan 2 8 18 32 18 8khunsmbtithangkayphaphsthana aekscudhlxmehlw 202 K 71 C cudeduxd 211 3 K 61 7 C khwamrxnkhxngkarhlxmehlw 3 247 kiolcul omlkhwamrxnkhxngkarklayepnix 18 10 kiolcul omlkhwamrxncaephaa 25 C 20 786 J mol K khwamdnix P Pa 1 10 100 1 k 10 k 100 kthi T K 110 121 134 152 176 211khunsmbtikhxngxatxmokhrngsrangphluk cubic face centeredsthanaxxksiedchn 0xielkotrenkatiwiti no data phxlingsekl phlngnganixxxineschn radbthi 1 1037 kiolcul omlrsmixatxm khanwn 120 pmrsmiokhwaelnt 145 pmxun karcderiyngthangaemehlk nonmagnetickarnakhwamrxn 300 K 3 61 mW m K elkhthaebiyn CAS 10043 92 2ixosothpesthiyrthisudbthkhwamhlk ixosothpkhxngerdxn iso NA khrungchiwit DM DE MeV DP211Rn syn 14 6 h Epsilon 2 892 211AtAlpha 5 965 207Po222Rn 100 3 824 d Alpha 5 590 218Poaehlngxangxingerdxn xngkvs Radon khuxthatuekhmithimihmayelkhxatxm 86 aelasylksnkhux Rn erdxnepnthatukmmntrngsithiepnkasechuxy radioactive noble gas idcakkaraeykslaythatuerediym erdxnepnkasthihnkthisudaelaepnxntraytxsukhphaph ixosothpkhxngerdxnkhux Rn 222 ichinnganrksaphupwyaebberdioxethxrapi radiotherapy kaserdxnthisasminbanepnsaehtukhxngorkhmaerngpxdaelathaihphupwyinshphaphyuorpesiychiwitpila 20 000 khnerdxnthuksrangkhunodyphankrabwnkarxikkhnhnungkhxngkaryxyslaythatukmmntrngsithwip odythithxeriymaelayuereniymsungepnthatukmmntphaphdukdabrrphthimixyutngaetkhrngthiolkerimkxtwkhun idekidkarslaytwkhxngthatuaelaihphlepnthatuerediym aelakarslaytwkhxngerediymcungthaihekidthatuerdxn sungemuxerdxnslaytw kthaihekidthatu radon daughter xnepnchuxeriykkhxngthatukmmntrngsiihmthiidma sungtangcakerdxnthimisthanaepnaekstrngthimisthanaepnkhxngaekhngaelaekaatidkbphunphiw enuxha 1 lksna 1 1 khunsmbtithangkayphaph 1 2 khunsmbtithangekhmi 1 3 ixosothp 2 niruktisastr 3 prawti 4 karprakt 5 xangxinglksna aekikhkhunsmbtithangkayphaph aekikh erdxncdepnkasechuxythiirrs si aelaklin imsamarthtrwccbiddwyphssasmphskhxngmnusy inxunhphumiaelakhwamdnmatrthan erdxncamisphaphepnkasxatxmediywthimikhwamhnaaennethakb 9 73 kiolkrm emtr3 1 makkwakhwamhnaaennkhxngchnbrryakasolkthiradbnathaelpraman 8 etha 2 erdxncasamarthsngektehnidemuxnaipaecheyninxunhphumithitakwacudeyuxkaekhng sungcaeplngaesngepnsiehluxngipthungaedngsmaeprphntamxunhphumithildlng 3 4 dwysaehtucakkaraephrngsithiekhmkhnkhun 5 erdxnsamarthlalayinnaid sungsamarthlalayidmakkwaemuxethiybkbkasmitrakulchnidxun aelalalayiddikwainkhxngehlwchiwphaphemuxethiybkbkarlalayinna khunsmbtithangekhmi aekikh erdxncdepnsmachikkhxngklumthatuwaelnsepnsunyhruxthukeriykwaklumkasmitrakul inkardungxielktrxnhnungxxkcakepluxktxngichphlngnganixxxineschn 1037 kiolcul oml 6 erdxnmixielkotrenkathiwititakwasinxnxangxingcaktarangthatu dngnncingekidptikiriyaidmakkwakarthdlxngekiywkbthatuerdxnnnminxyenuxngdwypccythangdankhaichcaythisungkxprkbepnthatukmmntrngsi erdxnsamarthxxksiidsiddwytwxxksi idsthimiprasiththiphaphxyangfluxxrinsungcathaihekiderdxnidfluxxrin 7 8 xnsamarthaeykswnklbipsuthatuedimidinxunhphumithimakkwa 250 xngsaeslesiys erdxnmiradbkarraehyepnixthitaaelathukechuxwaepn RnF2enuxngcakerdxnmikhrungchiwitthisnaelasarprakxbthimikmmntphaphrngsicungthaihkartrwcsxbraylaexiydkhxngsarprakxbthaidyak thaihmiephiyngkhxtngthangthvsdithikhadwaerdxnnacamirayarahwangphntha Rn F epn 2 08 A aelasarprakxbmixunhphlsastrthikhngthiaelaphnphwnnxykwaemuxethiybkb XeF2 9 RnF ixxxn echuxwakxtwkhunmatamrupaebbni 10 Rn g 2 O2 SbF6 s RnF Sb2F11 s 2 O2 g ixosothp aekikh erdxnimmiixosothpkhngthi odythwipcamiixosothpkmmntrngsi 36 tw thimimwlxatxmtngaet 193 thung 228 prakxbekhadwykn 11 ixosothptwkhngthithisudkhxngerdxnkhux 222Rn xnepnixosothpthiidcakkarslaytwkhxngerediym 226 hruxcakkarslaytwkhxngyuereniym 238 12 miixosothp 3 twthimikhrungchiwitephiynghnungchwomngkwaxnidaek 211Rn 210Rn aela 224Rnixosothptwxunthimikhrungchiwitsnidaek 220Rn epnixosothpthiidcakkarslaytwkhxngthxeriym 232 sungepnixosothptwkhngthithisudkhxngthatuthxeriym eriykodythwipwa thxrxn xnmikhrungchiwitxyuthi 55 6 winathiaelayngplxyrngsixlfaxxkma echnediywkb 219Rn thiepnphlphlitcakixosothpkhxngthatuaexkhtieniymtwthi 227 sungepnixosothptwkhngthithisud eriykodythwipwa aexkhtinxn xnmikhrungchiwitxyuthi 3 96 winathiaelaplxyrngsixlfaechnknniruktisastr aekikhintxnaerkerdxnmihlaychuxthiicheriyk ody exksradiox thukicheriykinchwngpikhristskrach 1904 13 aelatxmaidmikaresnxchuxihich erdxn inpikhristskrach 1918 14 aela erdixxn inpikhristskrach 1919 15 aetinthaythisudaelw erdxnkthukeluxkihepnchuxthiicheriykaekschnidnitngaetpikhristskrach 1920 16 aelainpikhristskrach 1923 khnakrrmkarcak IUPAC idkhdeluxkihichchuxerdxnthatuniprawti aekikherdxncdepnthatukmmntrngsithatuthi 5 thimikarkhnphbthdcakyuereniym thxeriym erediym aela opoleniym yxnklbipinchwngpikhristskrach 1900 efedxrich exirns dxrnidihraynganekiywkbkarthdlxngwadwyeruxngswnprakxbkhxngthatuerediymidplxyaekskmmntphaphrngsixxkma sungekhaeriykmnwa erediym ximaenchn Ra Em 17 sungkxnhnathicamirayngankhxngdxrm piaexr khuri aela mari khuri idsngektehnwamimikasthukplxyxxkmacakkrabwnkarslaytwkhxngerediym aelakhngkmmntphaphrngsiepnewlanannbeduxn inchwngpikhristskrach 1899 18 inpikhristskrach 1910 esxr wileliym aermsi aela orebirt withlxw ekry aeykerdxnidsaerc aelapramankhakhwamhnaaennaelaihpramankhaerdxnwaepnkasthihnkthisudethathiekhykhnphb 19 sungphlthiidniidrbkarrbrxngcak CIAAW inpikhristskrach 1912karprakt aekikherdxnkxtwkhuncakkrabwnkarslaytwkhxngerediym 226 sungphbidinaeryuereniym hinfxseft hindindan hinxkhni hinaeprbangchnidxyanghinaekrnit hinins epntn aelahinthwipxyangechnhinxxnexngbangthikmierediym 226 epnswnprakxbxyu aetmkcaphbinprimanthinxy 20 inbriewn1tarangimlbnphunphiwkhxngolk luklngip 6 15 niw camithatuerediymxyupraman 1 krm sungcaplxykaserdxninprimanimmakxxkmasuchnbrryakaskhxngolk 21 dwyehtunithaihsamarthphberdxnidinhlaythidwyknbnphakhphundininprimantngaet 1 thung 100 aebkaerl emtr3 aelaehnuxphiwmhasmuthrpraman 0 1 aebkaerl emtr3 aetcasamarthtrwcphbidinprimanthimakinekhtehmuxngaelatha odyprimanthitrwcphbmipramantngaet 20 ipcnthung 2 000 aebkaerl emtr3 22 xangxing aekikh Radon All Measures 2004 subkhnemux 2008 02 12 Williams David R 2007 04 19 Earth Fact Sheet NASA subkhnemux 2008 06 26 Radon Jefferson Lab subkhnemux 2008 06 26 Thomas Jens 2002 Noble Gases Marshall Cavendish p 13 ISBN 978 0 7614 1462 9 Thomas Jens 2002 Noble Gases Marshall Cavendish p 13 ISBN 978 0 7614 1462 9 David R Lide 2003 Section 10 Atomic Molecular and Optical Physics Ionization Potentials of Atoms and Atomic Ions CRC Handbook of Chemistry and Physics 84th ed Boca Raton Florida CRC Press Stein L 1970 Ionic Radon Solution Science 168 3929 362 4 Bibcode 1970Sci 168 362S doi 10 1126 science 168 3929 362 PMID 17809133 Pitzer Kenneth S 1975 Fluorides of radon and element 118 J Chem Soc Chem Commun 18 760 1 doi 10 1039 C3975000760b Meng Sheng Liao Qian Er Zhang 1998 Chemical Bonding in XeF2 XeF4 KrF2 KrF4 RnF2 XeCl2 and XeBr2 From the Gas Phase to the Solid State The Journal of Physical Chemistry A 102 52 10647 doi 10 1021 jp9825516 Holloway J 1986 Noble gas fluorides Journal of Fluorine Chemistry 33 149 doi 10 1016 S0022 1139 00 85275 6 Sonzogni Alejandro Interactive Chart of Nuclides National Nuclear Data Center Brookhaven National Laboratory subkhnemux 2008 06 06 Principal Decay Scheme of the Uranium Series Gulflink osd mil subkhnemux 2008 09 12 Ramsay Sir William Collie J Normal 1904 The Spectrum of the Radium Emanation Proceedings of the Royal Society 73 488 496 470 6 doi 10 1098 rspl 1904 0064 Schmidt Curt 1918 Periodisches System und Genesis der Elemente Z Anorg Ch 103 79 118 doi 10 1002 zaac 19181030106 Perrin J 1919 Radon Ann Physique 11 5 Adams Elliot Quincy 1920 The Independent Origin of Actinium J Amer Chem Soc 42 11 2205 doi 10 1021 ja01456a010 Dorn Friedrich Ernst 1900 Ueber die von radioaktiven Substanzen ausgesandte Emanation Abhandlungen der Naturforschenden Gesellschaft zu Halle Stuttgart 22 155 Curie P Curie Mme Marie 1899 Sur la radioactivite provoquee par les rayons de Becquerel Comptes rendus hebdomadaires des seances de l Academie des sciences 129 714 6 Ramsay W Gray R W 1910 La densite de l emanation du radium Comptes rendus hebdomadaires des seances de l Academie des sciences 151 126 8 Thad Godish 2001 Indoor Environment Quality Boca Raton FL CRC Press LLC J H Harley 1975 Noble gases U S Environmental Protection Agency pp 109 114 Sperrin Malcolm Gillmore Gavin Denman Tony 2001 Radon concentration variations in a Mendip cave cluster Environmental Management and Health 12 5 476 doi 10 1108 09566160110404881 bthkhwamekiywkbekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy ekhmiekhathungcak https th wikipedia org w index php title erdxn amp oldid 9348247, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม