fbpx
วิกิพีเดีย

เลออนฮาร์ด ออยเลอร์

เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ (เยอรมัน: Leonhard Euler, 15 เมษายน พ.ศ. 225018 กันยายน พ.ศ. 2326) เป็นนักคณิตศาสตร์และนักฟิสิกส์ชาวสวิส ได้ชื่อว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งของโลก เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ เป็นบุคคลแรกที่เริ่มใช้คำว่า "ฟังก์ชัน" ในแวดวงคณิตศาสตร์ (ตามคำนิยามของไลบ์นิซ ใน ค.ศ. 1694) ในการบรรยายถึงความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร เช่น y = f(x) นอกจากนี้ เขายังเป็นคนแรกที่นำแคลคูลัสเข้าไปประยุกต์ในศาสตร์ฟิสิกส์

ภาพของเลออนฮาร์ด ออยเลอร์ วาดโดยจิตรกร เอ็มมานูเอล ฮันด์มันน์ (Emanuel Handmann) เมื่อ ค.ศ.1753

ออยเลอร์เกิดและโตในเมืองบาเซิล เขาเป็นเด็กที่มีความเป็นอัจฉริยะทางคณิตศาสตร์ เขาเป็นศาสตราจารย์สอนวิชาคณิตศาสตร์ที่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก และต่อมาก็สอนที่เบอร์ลิน และกลับไปอยู่ที่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กจวบจนวาระสุดท้ายของชีวิต เขาเป็นนักคณิตศาสตร์มีผลงานมากมายที่สุดคนหนึ่ง ผลงานทั้งหมดของเขารวบรวมได้ถึง 75 เล่ม ผลงานเหล่านี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อการพัฒนาของคณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ 18 ออยเลอร์สูญเสียการมองเห็นและตาบอดสนิทตลอด 17 ปีสุดท้ายในชีวิตของเขา ถึงกระนั้น ในช่วงนี้เองที่เขาสามารถผลิตผลงานได้มากถึงครึ่งหนึ่งของผลงานทั้งหมดที่เขาผลิตขึ้นมา

ดาวเคราะห์น้อย 2002 ออยเลอร์ ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่เขา

ผลงาน

 
การตีความหมายเชิงเรขาคณิตของสูตรของออยเลอร์

ออยเลอร์มีผลงานในแทบทุกสาขาของวิชาคณิตศาสตร์ เช่น เรขาคณิต แคลคูลัส ตรีโกณมิติ พีชคณิต ทฤษฎีจำนวน เป็นต้น เช่นเดียวกับแวดวงฟิสิกส์ เช่น ผลงานเรื่องกลศาสตร์ความต่อเนื่อง ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของดวงจันทร์ เป็นต้น ออยเลอร์ถือว่าเป็นบุคคลสำคัญคนหนึ่งในประวัติศาสตร์แห่งคณิตศาสตร์

ออยเลอร์ได้รับการตั้งเป็นชื่อของจำนวน 2 จำนวน อันได้แก่ จำนวนของออยเลอร์ (e) ซึ่งมีค่าประมาณ 2.71828 และ ค่าคงตัวออยเลอร์-แมสเชโรนี (γ) มีค่าประมาณ 0.57721

ตัวอย่างสูตรคณิตศาสตร์ที่ออยเลอร์คิดค้น

 
 
 สูตรของออยเลอร์ : สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชันตรีโกณมิติกับฟังก์ชันเลขชี้กำลังเชิงซ้อน
 เอกลักษณ์ของออยเลอร์ : เป็นกรณีหนึ่งของสูตรออยเลอร์ ( ) โดยแสดงค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์ถึง 5 อย่าง (ได้แก่ e, i, π, 1, 0)

เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์

ออยเลอร์เป็นผู้นำเสนอข้อตกลงเรื่องเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์จำนวนมากผ่านผลงานของเขา จนเกิดการนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ตัวอย่างที่เด่นชัดที่สุดคือ เขาเป็นผู้เสนอความคิดรวบยอดเรื่องฟังก์ชัน และใช้สัญลักษณ์ f(x) เป็นครั้งแรก ซึ่งมีความหมายว่า ฟังก์ชัน f ใด ๆ ที่ใช้เข้ากับตัวแปร (อาร์กิวเมนต์) x นอกจากนี้ ออยเลอร์ยังคิดค้นเครื่องหมายตรีโกณมิติที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ใช้อักษร e แทนฐานของลอการิทึมธรรมชาติ (ในปัจจุบัน e มีชื่อว่าจำนวนของออยเลอร์) ใช้อักษรกรีก Σ (ซิกมา) แทนสัญกรณ์ผลรวมจากการบวกของเซตจำนวน และใช้อักษร i แทนหน่วยจินตภาพ เป็นต้น นอกจากนี้ ออยเลอร์ยังใช้อักษรกรีก π ที่แสดงถึงอัตราส่วนระหว่างเส้นรอบวงต่อเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมใด ๆ ซึ่งเป็นผลให้เกิดความนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย แม้ว่าเขาจะไม่ได้เป็นผู้ริเริ่มใช้ก็ตาม

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Dunham 1999, p. 17
  2. Boyer, Carl B.; Uta C. Merzbach (1991). A History of Mathematics. John Wiley & Sons. pp. 439–445. ISBN 0-471-54397-7.
  3. Stephen Wolfram, Mathematical Notation: Past and Future

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Leonhardeuler.com
  • eulerarchive.org เว็บไซด์รวบรวมผลงานของออยเลอร์

เลออนฮาร, ออยเลอร, เยอรม, leonhard, euler, เมษายน, 2250, นยายน, 2326, เป, นน, กคณ, ตศาสตร, และน, กฟ, กส, ชาวสว, ได, อว, าเป, นน, กคณ, ตศาสตร, งใหญ, ดคนหน, งของโลก, เป, นบ, คคลแรกท, เร, มใช, คำว, งก, ในแวดวงคณ, ตศาสตร, ตามคำน, ยามของไลบ, ใน, 1694, ในการบรรยายถ,. elxxnhard xxyelxr eyxrmn Leonhard Euler 15 emsayn ph s 2250 18 knyayn ph s 2326 epnnkkhnitsastraelankfisikschawswis idchuxwaepnnkkhnitsastrthiyingihythisudkhnhnungkhxngolk elxxnhard xxyelxr epnbukhkhlaerkthierimichkhawa fngkchn 1 inaewdwngkhnitsastr tamkhaniyamkhxngilbnis in kh s 1694 inkarbrryaythungkhwamsmphnththiekiywkhxngkbtwaepr echn y f x nxkcakni ekhayngepnkhnaerkthinaaekhlkhulsekhaipprayuktinsastrfisiksphaphkhxngelxxnhard xxyelxr wadodycitrkr exmmanuexl hndmnn Emanuel Handmann emux kh s 1753 xxyelxrekidaelaotinemuxngbaesil ekhaepnedkthimikhwamepnxcchriyathangkhnitsastr ekhaepnsastracarysxnwichakhnitsastrthiesntpietxrsebirk aelatxmaksxnthiebxrlin aelaklbipxyuthiesntpietxrsebirkcwbcnwarasudthaykhxngchiwit ekhaepnnkkhnitsastrmiphlnganmakmaythisudkhnhnung phlnganthnghmdkhxngekharwbrwmidthung 75 elm phlnganehlanimixiththiphlxyangmaktxkarphthnakhxngkhnitsastrinstwrrsthi 18 xxyelxrsuyesiykarmxngehnaelatabxdsnithtlxd 17 pisudthayinchiwitkhxngekha thungkrann inchwngniexngthiekhasamarthphlitphlnganidmakthungkhrunghnungkhxngphlnganthnghmdthiekhaphlitkhunmadawekhraahnxy 2002 xxyelxr tngchuxephuxepnekiyrtiaekekha enuxha 1 phlngan 1 1 ekhruxnghmaythangkhnitsastr 2 duephim 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunphlngan aekikh kartikhwamhmayechingerkhakhnitkhxngsutrkhxngxxyelxr xxyelxrmiphlnganinaethbthuksakhakhxngwichakhnitsastr echn erkhakhnit aekhlkhuls trioknmiti phichkhnit thvsdicanwn epntn echnediywkbaewdwngfisiks echn phlnganeruxngklsastrkhwamtxenuxng thvsdikarekhluxnthikhxngdwngcnthr epntn xxyelxrthuxwaepnbukhkhlsakhykhnhnunginprawtisastraehngkhnitsastrxxyelxridrbkartngepnchuxkhxngcanwn 2 canwn xnidaek canwnkhxngxxyelxr e sungmikhapraman 2 71828 aela khakhngtwxxyelxr aemsechorni g mikhapraman 0 57721twxyangsutrkhnitsastrthixxyelxrkhidkhn e x n 0 x n n lim n 1 0 x 1 x 2 2 x n n displaystyle e x sum n 0 infty x n over n lim n to infty left frac 1 0 frac x 1 frac x 2 2 cdots frac x n n right n 1 1 n 2 lim n 1 1 2 1 2 2 1 3 2 1 n 2 p 2 6 displaystyle sum n 1 infty 1 over n 2 lim n to infty left frac 1 1 2 frac 1 2 2 frac 1 3 2 cdots frac 1 n 2 right frac pi 2 6 e i f cos f i sin f displaystyle e i varphi cos varphi i sin varphi sutrkhxngxxyelxr smkaraesdngkhwamsmphnthrahwangfngkchntrioknmitikbfngkchnelkhchikalngechingsxne i p 1 0 displaystyle e i pi 1 0 exklksnkhxngxxyelxr epnkrnihnungkhxngsutrxxyelxr f p displaystyle varphi pi odyaesdngkhakhngtwthangkhnitsastrthung 5 xyang idaek e i p 1 0 ekhruxnghmaythangkhnitsastr aekikh xxyelxrepnphunaesnxkhxtklngeruxngekhruxnghmaythangkhnitsastrcanwnmakphanphlngankhxngekha cnekidkarniymichknxyangaephrhlay twxyangthiednchdthisudkhux ekhaepnphuesnxkhwamkhidrwbyxderuxngfngkchn 1 aelaichsylksn f x epnkhrngaerk sungmikhwamhmaywa fngkchn f id thiichekhakbtwaepr xarkiwemnt x nxkcakni xxyelxryngkhidkhnekhruxnghmaytrioknmitithiichknxyangaephrhlayinpccubn ichxksr e aethnthankhxnglxkarithumthrrmchati inpccubn e michuxwacanwnkhxngxxyelxr ichxksrkrik S sikma aethnsykrnphlrwmcakkarbwkkhxngestcanwn aelaichxksr i aethnhnwycintphaph 2 epntn nxkcakni xxyelxryngichxksrkrik p thiaesdngthungxtraswnrahwangesnrxbwngtxesnphansunyklangkhxngwngklmid sungepnphlihekidkhwamniymichknxyangaephrhlay aemwaekhacaimidepnphurierimichktam 3 duephim aekikhaephnphaphxxyelxr priphnthxxyelxr khxkhwamkhadkarnkhxngxxyelxr saphanthngecdaehngemuxngekhxniksaebrkxangxing aekikh 1 0 1 1 Dunham 1999 p 17 Boyer Carl B Uta C Merzbach 1991 A History of Mathematics John Wiley amp Sons pp 439 445 ISBN 0 471 54397 7 Stephen Wolfram Mathematical Notation Past and Futureaehlngkhxmulxun aekikhLeonhardeuler com eulerarchive org ewbisdrwbrwmphlngankhxngxxyelxrekhathungcak https th wikipedia org w index php title elxxnhard xxyelxr amp oldid 7935109, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม