fbpx
วิกิพีเดีย

เศรษฐกิจเชิงสังคม

เศรษฐกิจเชิงสังคม (Social Economy) เป็นคำศัพท์ที่ใช้กล่าวถึงความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจในภาคส่วนที่สาม กล่าวคือเป็นระบบเศรษฐกิจของส่วนที่ไม่ใช่ภาครัฐและไม่ใช่ตลาด แต่เป็นภาคสังคม โดยเศรษฐกิจในภาคสังคมจะมีลักษณะขององค์กรที่ไม่เป็นทางการ องค์กรที่ตั้งขึ้นโดยไม่แสวงหาผลกำไร องค์กรในการสร้างความร่วมมือ องค์กรเพื่อสาธารณประโยชน์ และองค์กรการกุศล ลักษณะของเศรษฐกิจเชิงสังคมจึงไม่ได้มีการแข่งขันในกลไกตลาด (competitive market) เพื่อมุ่งหวังผลกำไรสูงสุด และไม่ใช่องค์กรในระบบราชการ (bureaucracy) ที่มีการใช้อำนาจการบังคับบัญชาจากบนลงล่าง แต่องค์กรในเศรษฐกิจเชิงสังคมจะเน้นความร่วมมือในแนวระนาบเดียวกันมากกว่า

แผนภาพของเศรษฐกิจเชิงสังคม

อรรถาธิบาย

แนนซี่ นีมตัน (Neamtan, 2004) ได้จำแนกที่มาของเศรษฐกิจเชิงสังคมออกเป็น 5 ลักษณะเด่นสำคัญดังนี้

  1. เป็นองค์กรที่มีจุดมุ่งหมายในการบริการสมาชิกและชุมชนในลักษณะองค์รวม (the whole) มากกว่าที่จะมุ่งหวังเพียงผลประโยชน์หรือกำไร
  2. ไม่ใช่หน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชน
  3. ส่งเสริมกระบวนการตัดสินใจที่เป็นประชาธิปไตย โดยใช้การมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง
  4. ให้ความสำคัญกับ “คน” และ “งาน” มากกว่าการกระจายหรือสนใจแต่รายรับและส่วนเกินจากการทำงาน
  5. มีฐานคิดสำคัญจากหลักการมีส่วนร่วม (participation) การมอบอำนาจให้ประชาชน (empowerment) และความรับผิดชอบต่อปัจเจกบุคคลและส่วนรวม (individual and collective responsibility)

ในระดับสากล คำว่าเศรษฐกิจเชิงสังคมถูกนำไปใช้กับการเรียกองค์กร 3 รูปแบบ โดยแบบที่หนึ่งเป็นองค์กรในส่วนของชุมชน (community sector) ที่อยู่ในระดับท้องถิ่น มีขนาดเล็ก และส่วนใหญ่การทำงานเป็นลักษณะของอาสาสมัคร เช่น สมาคมในชุมชน กลุ่มสหกรณ์ เป็นต้น องค์กรรูปแบบที่สองคือภาคส่วนอาสาสมัคร (voluntary sector) เป็นหน่วยงานที่เป็นทางการ มีกฎหมายรองรับ สามารถดำเนินกิจการต่างๆได้เองโดยเป็นอิสระจากภาครัฐ การทำงานมีลักษณะไม่แสวงหาผลกำไร เช่น องค์กรการกุศลขนาดใหญ่ องค์กรรณรงค์ต่างๆ ในระดับชาติ เป็นต้น และองค์กรรูปแบบที่สามคือผู้ประกอบการทางสังคม (social enterprise) เป็นหน่วยงานของภาคเอกชนที่มีเป้าหมายหลักในการทำงานเพื่อสังคมและการประกอบธุรกิจเมื่อได้ส่วนเกินหรือกำไรก็จะนำมามอบคืนให้เป็นประโยชน์กับส่วนรวม ไม่ใช่นำกำไรเข้าองค์กรเพียงอย่างเดียว เช่น กลุ่มนักธุรกิจเพื่อประชาชน องค์กรความร่วมมือระหว่างหน่วยงานเอกชน เป็นต้น

ตัวอย่างการนำไปใช้ในประเทศไทย

สำหรับในประเทศไทยพบว่าเศรษฐกิจเชิงสังคม ยังไม่ได้ถูกนำมาใช้มากนักและไม่ถูกนิยามเป็นศัพท์อย่างเป็นทางการ เพราะสังคมไทยยังนิยมเรียกการทำงานในแนวเศรษฐกิจเชิงสังคมว่าเป็นภาคประชาสังคมหรือการทำงานแบบอาสาสมัครมากกว่า ในประเทศไทย หากมีการพูดถึงคำว่าเศรษฐกิจเชิงสังคมให้กว้างขวางขึ้น จะช่วยส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ไม่ได้มุ่งหวังแต่ผลกำไรสูงสุด และเป็นขยายบทบาทของภาคส่วนที่เป็นอิสระจากรัฐและจากกลุ่มธุรกิจ โดยเศรษฐกิจเชิงสังคมจะช่วยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและการพัฒนาประชาธิปไตยได้อย่างเป็นธรรมชาติ ประเทศที่มีความสามารถในการพัฒนาประชาธิปไตยอย่างแคนาดาและญี่ปุ่นก็มีเศรษฐกิจเชิงสังคมที่เติบโตสอดคล้องกันไปเช่นกัน

อ้างอิง

  1. Defourny, Jacques and Patrick Develtere (1999). The Social Economy: The Worldwide Making of a Third Sector. Accessed July 15, 2012 from http://www.emes.net/fileadmin/emes/PDF_files/Articles/Defourny/Defourny.Develtere_SE_NorthSouth_Chap1_EN.pdf.
  2. Neamtan, Nancy (2004). “The Political Imperative: Civil Society and the Politics of Empowerment”. In Making Waves, Vol. 15, No.1.
  3. “การกลับมาของสังคมนิยมในศตวรรษที่ 21”. Sameskybooks. Accessed July 16, 2012 from http://www.sameskybooks.net/2008/02/16/socialism-for-21century/.
  4. Ishizuka, Hideo (2002). “The Social Economy Sector in Japan”. In Annals of Public and Cooperative Economics, Vol. 73, No.2.

เศรษฐก, จเช, งส, งคม, social, economy, เป, นคำศ, พท, ใช, กล, าวถ, งความส, มพ, นธ, ทางเศรษฐก, จในภาคส, วนท, สาม, กล, าวค, อเป, นระบบเศรษฐก, จของส, วนท, ไม, ใช, ภาคร, ฐและไม, ใช, ตลาด, แต, เป, นภาคส, งคม, โดยเศรษฐก, จในภาคส, งคมจะม, กษณะขององค, กรท, ไม, เป, นทาง. esrsthkicechingsngkhm Social Economy epnkhasphththiichklawthungkhwamsmphnththangesrsthkicinphakhswnthisam klawkhuxepnrabbesrsthkickhxngswnthiimichphakhrthaelaimichtlad aetepnphakhsngkhm odyesrsthkicinphakhsngkhmcamilksnakhxngxngkhkrthiimepnthangkar xngkhkrthitngkhunodyimaeswnghaphlkair xngkhkrinkarsrangkhwamrwmmux xngkhkrephuxsatharnpraoychn aelaxngkhkrkarkusl lksnakhxngesrsthkicechingsngkhmcungimidmikaraekhngkhninkliktlad competitive market ephuxmunghwngphlkairsungsud aelaimichxngkhkrinrabbrachkar bureaucracy thimikarichxanackarbngkhbbychacakbnlnglang aetxngkhkrinesrsthkicechingsngkhmcaennkhwamrwmmuxinaenwranabediywknmakkwa 1 aephnphaphkhxngesrsthkicechingsngkhmxrrthathibay aekikhaennsi nimtn Neamtan 2004 2 idcaaenkthimakhxngesrsthkicechingsngkhmxxkepn 5 lksnaednsakhydngni epnxngkhkrthimicudmunghmayinkarbrikarsmachikaelachumchninlksnaxngkhrwm the whole makkwathicamunghwngephiyngphlpraoychnhruxkair imichhnwyngankhxngphakhrthaelaphakhexkchn sngesrimkrabwnkartdsinicthiepnprachathipity odyichkarmiswnrwmxyangkwangkhwang ihkhwamsakhykb khn aela ngan makkwakarkracayhruxsnicaetrayrbaelaswnekincakkarthangan mithankhidsakhycakhlkkarmiswnrwm participation karmxbxanacihprachachn empowerment aelakhwamrbphidchxbtxpceckbukhkhlaelaswnrwm individual and collective responsibility inradbsakl khawaesrsthkicechingsngkhmthuknaipichkbkareriykxngkhkr 3 rupaebb odyaebbthihnungepnxngkhkrinswnkhxngchumchn community sector thixyuinradbthxngthin mikhnadelk aelaswnihykarthanganepnlksnakhxngxasasmkhr echn smakhminchumchn klumshkrn epntn xngkhkrrupaebbthisxngkhuxphakhswnxasasmkhr voluntary sector epnhnwynganthiepnthangkar mikdhmayrxngrb samarthdaeninkickartangidexngodyepnxisracakphakhrth karthanganmilksnaimaeswnghaphlkair echn xngkhkrkarkuslkhnadihy xngkhkrrnrngkhtang inradbchati epntn aelaxngkhkrrupaebbthisamkhuxphuprakxbkarthangsngkhm social enterprise epnhnwyngankhxngphakhexkchnthimiepahmayhlkinkarthanganephuxsngkhmaelakarprakxbthurkicemuxidswnekinhruxkairkcanamamxbkhunihepnpraoychnkbswnrwm imichnakairekhaxngkhkrephiyngxyangediyw echn klumnkthurkicephuxprachachn xngkhkrkhwamrwmmuxrahwanghnwynganexkchn epntntwxyangkarnaipichinpraethsithy aekikhsahrbinpraethsithyphbwaesrsthkicechingsngkhm yngimidthuknamaichmaknkaelaimthukniyamepnsphthxyangepnthangkar ephraasngkhmithyyngniymeriykkarthanganinaenwesrsthkicechingsngkhmwaepnphakhprachasngkhmhruxkarthanganaebbxasasmkhrmakkwa inpraethsithy hakmikarphudthungkhawaesrsthkicechingsngkhmihkwangkhwangkhun cachwysngesrimkickrrmthangesrsthkicthiimidmunghwngaetphlkairsungsud aelaepnkhyaybthbathkhxngphakhswnthiepnxisracakrthaelacakklumthurkic odyesrsthkicechingsngkhmcachwysngesrimkarmiswnrwmkhxngprachachnaelakarphthnaprachathipityidxyangepnthrrmchati praethsthimikhwamsamarthinkarphthnaprachathipityxyangaekhnadaaelayipunkmiesrsthkicechingsngkhmthietibotsxdkhlxngknipechnkn 3 4 xangxing aekikh Defourny Jacques and Patrick Develtere 1999 The Social Economy The Worldwide Making of a Third Sector Accessed July 15 2012 from http www emes net fileadmin emes PDF files Articles Defourny Defourny Develtere SE NorthSouth Chap1 EN pdf Neamtan Nancy 2004 The Political Imperative Civil Society and the Politics of Empowerment In Making Waves Vol 15 No 1 karklbmakhxngsngkhmniyminstwrrsthi 21 Sameskybooks Accessed July 16 2012 from http www sameskybooks net 2008 02 16 socialism for 21century Ishizuka Hideo 2002 The Social Economy Sector in Japan In Annals of Public and Cooperative Economics Vol 73 No 2 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title esrsthkicechingsngkhm amp oldid 7063757, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม