fbpx
วิกิพีเดีย

ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง

ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง หรือ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล (อังกฤษ: exponential function) หมายถึงฟังก์ชัน ex เมื่อ e คือจำนวนที่ทำให้ฟังก์ชัน ex เท่ากับอนุพันธ์ของมันเอง (ซึ่ง e มีค่าประมาณ 2.718281828) ฟังก์ชันเลขชี้กำลังถูกใช้เพื่อจำลองความสัมพันธ์ เมื่อการเปลี่ยนแปลงคงตัวในตัวแปรอิสระ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตามสัดส่วนเดียวกันในตัวแปรตาม (เช่นการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของอัตราร้อยละ) ฟังก์ชันนี้มักเขียนเป็น exp(x) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อตัวแปรอิสระเขียนเป็นตัวยกไม่ได้

กราฟของฟังก์ชันเลขชี้กำลัง

กราฟของฟังก์ชัน y = ex มีลักษณะตั้งชันขึ้นและมีอัตราเพิ่มค่าเร็วยิ่งขึ้นเมื่อ x เพิ่มขึ้น กราฟจะวางตัวอยู่เหนือแกน x เสมอ แต่เมื่อ x เป็นลบกราฟจะลู่เข้าแกน x ดังนั้นแกน x จึงเป็นเส้นกำกับแนวนอน (horizontal asymptote) เส้นหนึ่งของกราฟนี้ ความชันของกราฟแต่ละจุดมีค่าเท่ากับพิกัด y ของจุดนั้น ฟังก์ชันผกผันของฟังก์ชันเลขชี้กำลังคือลอการิทึมธรรมชาติ ln(x) ด้วยเหตุนี้ตำราบางเล่มจึงอ้างถึงฟังก์ชันเลขชี้กำลังว่าเป็น แอนติลอการิทึม (antilogarithm)

ในบางกรณีคำว่า ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง ก็มีใช้ในความหมายทั่วไปยิ่งขึ้น สำหรับฟังก์ชันต่าง ๆ ที่อยู่ในรูปแบบ cbx เมื่อ b คือฐานที่เป็นจำนวนจริงบวก ไม่จำเป็นต้องเป็น e ดูเพิ่มที่การเติบโตแบบเลขชี้กำลังสำหรับความหมายนี้

โดยทั่วไปตัวแปร x สามารถเป็นจำนวนจริง จำนวนเชิงซ้อน หรือแม้แต่วัตถุทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ ที่ต่างชนิดกันอย่างสิ้นเชิงก็ได้ ดูรายละเอียดที่ นิยามเชิงรูปนัย

ภาพรวม

ฟังก์ชันเลขชี้กำลังจะเกิดขึ้น เมื่อใดก็ตามที่ปริมาณอย่างหนึ่งเติบโตหรือเสื่อมสลายในอัตราที่ได้สัดส่วนกับค่าปัจจุบัน ตัวอย่างสถานการณ์นี้เช่นดอกเบี้ยทบต้นต่อเนื่อง เมื่อ ค.ศ. 1683 ยาคอบ แบร์นูลลี (Jocob Bernoulli) พบว่ามันเป็นเช่นนั้นโดยข้อเท็จจริง และนำไปสู่จำนวน e ที่ไม่ทราบค่าดังนี้

 

ต่อมา ค.ศ. 1697 โยฮันน์ แบร์นูลลี (Johann Bernoulli) ก็ได้ศึกษาแคลคูลัสของฟังก์ชันเลขชี้กำลังดังกล่าว

ถ้ามีเงินต้นจำนวน 1 และได้รับดอกเบี้ยในอัตรารายปี x โดยทบต้นรายเดือน ดังนั้นอัตราดอกเบี้ยที่ได้รับต่อเดือนจึงเป็น x/12 เท่าของมูลค่าปัจจุบัน แต่ละเดือนจึงมียอดรวมของเดือนก่อนหน้าคูณด้วย (1+x/12) ในที่สุดมูลค่าที่ได้เมื่อสิ้นปีจึงเท่ากับ (1+x/12)12 ถ้าคิดดอกเบี้ยทบต้นรายวันแทน มูลค่าจะกลายเป็น (1+x/365)365 และถ้ากำหนดให้จำนวนช่วงเวลาต่อปีเพิ่มขึ้นโดยไม่จำกัด จะนำไปสู่นิยามของลิมิตของฟังก์ชันเลขชี้กำลังดังนี้

 

นิยามนี้กำหนดไว้โดยออยเลอร์ สิ่งนี้เป็นการอธิบายลักษณะเฉพาะของฟังก์ชันเลขชี้กำลังวิธีหนึ่ง ส่วนวิธีการอื่นจะเกี่ยวข้องกับอนุกรมและสมการเชิงอนุพันธ์

จากนิยามใด ๆ เหล่านี้สามารถแสดงได้ว่าฟังก์ชันเลขชี้กำลังเป็นไปตามเอกลักษณ์การยกกำลังพื้นฐาน

 ....

จึงเป็นที่มาว่าเหตุใดฟังก์ชันเลขชี้กำลังจึงสามารถเขียนในรูปแบบ ex ได้

อนุพันธ์ (อัตราการเปลี่ยนแปลง) ของฟังก์ชันเลขชี้กำลัง คือฟังก์ชันเลขชี้กำลังโดยตัวมันเอง หรืออีกนัยหนึ่งคือ ฟังก์ชันที่มีอัตราการเปลี่ยนแปลงได้สัดส่วนกับฟังก์ชันตัวเอง (แทนที่จะหมายถึงเท่ากับตัวเอง) สามารถแสดงได้ในรูปแบบฟังก์ชันเลขชี้กำลัง สมบัติของฟังก์ชันข้อนี้นำไปสู่การอธิบายการเติบโตและการเสื่อมสลายแบบเลขชี้กำลัง

ฟังก์ชันเลขชี้กำลังขยายแนวคิดเป็นฟังก์ชันทั่ว (entire function) ชนิดหนึ่งบนระนาบเชิงซ้อน สูตรของออยเลอร์เกี่ยวข้องกับค่าของฟังก์ชันเมื่อส่งค่าอาร์กิวเมนต์ส่วนจินตภาพไปยังฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันเลขชี้กำลังก็มีสิ่งที่คล้ายกันสำหรับอาร์กิวเมนต์ที่เป็นเมทริกซ์ หรือแม้แต่สมาชิกของพีชคณิตแบบบานัค (Banach algebra) หรือพีชคณิตแบบลี (Lie algebra)

นิยามเชิงรูปนัย

ดูบทความหลักที่: การอธิบายลักษณะเฉพาะของฟังก์ชันเลขชี้กำลัง
 
ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง (สีน้ำเงิน) และผลบวกของ n + 1 พจน์แรกของอนุกรมกำลัง (สีแดง)

ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง ex สามารถอธิบายลักษณะเฉพาะได้เทียบเท่ากันหลายวิธีการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ฟังก์ชันเลขชี้กำลังอาจนิยามด้วยอนุกรมกำลังต่อไปนี้

 

การใช้นิยามวิธีอื่นของฟังก์ชันเลขชี้กำลังก็จะให้ผลลัพธ์เหมือนกันเมื่อขยายเป็นอนุกรมเทย์เลอร์

ex อาจถูกนิยามให้เป็นคำตอบ y ของสมการนี้ ซึ่งเป็นรูปแบบที่พบได้น้อยกว่า

 

ฟังก์ชันเลขชี้กำลังก็อาจหมายถึงลิมิตดังนี้ ดังที่ได้กล่าวไว้ในตอนต้น

 

อนุพันธ์และสมการเชิงอนุพันธ์

 
อนุพันธ์ของฟังก์ชันเลขชี้กำลังมีค่าเท่ากับค่าของฟังก์ชัน; จากจุด P ใด ๆ บนเส้นโค้ง (สีน้ำเงิน) ถ้ามีเส้นสัมผัส (สีแดง) และเส้นตรงตามแนวดิ่งจากจุดสัมผัส (สีเขียว) ตามลักษณะดังรูป จะเกิดรูปสามเหลี่ยมมุมฉากบนฐานแกน x (สีเขียว) ที่มีความยาว 1 หน่วย ดังนั้นความชันของเส้นสัมผัส (อนุพันธ์) ที่จุด P จึงเท่ากับความสูงของรูปสามเหลี่ยม (ค่าของฟังก์ชัน)

ความสำคัญหลักของฟังก์ชันเลขชี้กำลังในคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เกิดจากสมบัติของอนุพันธ์ของมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

 

นั่นคือ ex เป็นอนุพันธ์ของตัวเอง และเป็นตัวอย่างพื้นฐานอันหนึ่งของฟังก์ชันแบบพฟัฟฟ์ (Pfaffian function) ฟังก์ชันต่าง ๆ ที่อยู่ในรูปแบบ cex ซึ่ง c เป็นค่าคงตัว เป็นฟังก์ชันกลุ่มเดียวที่มีสมบัติเช่นนี้ (จากทฤษฎีบทปิการ์-ลินเดเลิฟ (Picard–Lindelöf theorem)) หรือกล่าวให้เจาะจงได้ว่า กำหนดให้ k เป็นค่าคงตัวจำนวนจริงใด ๆ ฟังก์ชัน f : RR จะสอดคล้องกับเงื่อนไข f ′ = kf ก็ต่อเมื่อ f(x) = cekx สำหรับค่าคงตัว c บางจำนวน การอธิบายด้วยวิธีอื่นที่ให้ผลเหมือนกันเช่น

  • ความชันของกราฟ ณ จุดใด ๆ เท่ากับความสูงของฟังก์ชันที่จุดนั้น
  • อัตราการเพิ่มของฟังก์ชันที่จุด x เท่ากับค่าของฟังก์ชันที่จุด x
  • ฟังก์ชันที่เป็นคำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์ y ′ = y
  • exp เป็นจุดตรึง (fixed point) ของอนุพันธ์ในฐานะฟังก์ชันนัล (functional)

โดยข้อเท็จจริงแล้ว สมการเชิงอนุพันธ์หลายชนิดทำให้เกิดฟังก์ชันเลขชี้กำลัง รวมทั้งสมการชเรอดิงเงอร์ (Schrödinger equation) สมการลาปลัส (Laplace's equation) และสมการที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกเชิงเดียว (simple harmonic motion)

ฟังก์ชันเลขชี้กำลังในฐานอื่นคือ

 

ดังนั้นฟังก์ชันเลขชี้กำลังใด ๆ จึงเป็นพหุคูณค่าคงตัวของอนุพันธ์ของตัวเอง

สำหรับฟังก์ชันเลขชี้กำลังในฐานอื่นที่มีค่าคงตัวประกอบในเลขชี้กำลัง

 

สมการข้างต้นเป็นจริงสำหรับค่า c ทุกจำนวน แต่ผลลัพธ์ของอนุพันธ์เมื่อ c < 0 จะเป็นจำนวนเชิงซ้อน

ถ้าอัตราการเติบโตหรือเสื่อมสลายของตัวแปรได้สัดส่วนกับขนาดของตัวแปร เช่นการเติบโตของประชากรอย่างไม่จำกัด ดอกเบี้ยทบต้นต่อเนื่อง หรือการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี ตัวแปรนั้นจะสามารถเขียนในรูปแบบค่าคงตัวคูณด้วยฟังก์ชันเลขชี้กำลังของเวลา

นอกเหนือจากนี้ ฟังก์ชันหาอนุพันธ์ได้ f(x) ชนิดใด ๆ เราสามารถหาอนุพันธ์ได้โดยใช้กฎลูกโซ่ดังนี้

 

เศษส่วนต่อเนื่องของ ex

เศษส่วนต่อเนื่องของ ex สามารถนำมาจากเอกลักษณ์ข้อหนึ่งของออยเลอร์

 

เศษส่วนต่อเนื่องนัยทั่วไปของ e2x/y ต่อไปนี้ มีค่าลู่เข้าอย่างรวดเร็ว

 

สำหรับกรณีพิเศษเมื่อ x = y = 1 จะได้

 

ระนาบเชิงซ้อน

 
กราฟของฟังก์ชันเลขชี้กำลังบนระนาบเชิงซ้อน การเปลี่ยนสีจากมืดเป็นสว่างแสดงให้เห็นถึงขนาดของฟังก์ชันเลขชี้กำลังที่เพิ่มขึ้นไปทางขวา แถบสีในแนวราบที่ซ้ำเป็นช่วงแสดงว่าฟังก์ชันเลขชี้กำลังเป็นฟังก์ชันเป็นคาบในส่วนจินตภาพของอาร์กิวเมนต์

ฟังก์ชันเลขชี้กำลังสามารถนิยามบนระนาบเชิงซ้อนได้หลายรูปแบบเทียบเท่ากัน เช่นเดียวกับกรณีของจำนวนจริง การนิยามเหล่านี้บางอย่างเหมือนสูตรต่าง ๆ ของฟังก์ชันเลขชี้กำลังสำหรับจำนวนจริง หากกล่าวโดยเฉพาะเจาะจง เรายังสามารถใช้นิยามอนุกรมกำลังซึ่งค่าจริงถูกแทนที่ด้วยค่าเชิงซ้อน

 

จากการใช้นิยามนี้ทำให้ง่ายต่อการแสดงว่า   ยังคงเป็นจริงบนระนาบเชิงซ้อน

นิยามอีกตัวอย่างหนึ่งเป็นการขยายแนวคิดของฟังก์ชันเลขชี้กำลังสำหรับจำนวนจริง ขั้นแรกระบุถึงสมบัติที่ต้องการ   ส่วนแรก ex จะใช้ฟังก์ชันเลขชี้กำลังสำหรับจำนวนจริงตามปกติ ส่วนหลังใช้สูตรของออยเลอร์นิยาม   ดังนั้นจึงจำเป็นต้องใช้การนิยามที่เกี่ยวข้องกับจำนวนจริงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

เมื่อพิจารณาฟังก์ชันที่นิยามบนระนาบเชิงซ้อน ฟังก์ชันเลขชี้กำลังยังคงมีสมบัติที่สำคัญดังนี้

  •  
  •  
  •  
  •  

สำหรับจำนวนเชิงซ้อน z และ w ทุกจำนวน

ฟังก์ชันเลขชี้กำลังเป็นฟังก์ชันทั่ว (entire function) ชนิดหนึ่ง เนื่องจากมันเป็นสาทิสสัณฐาน (holomorphic) บนระนาบเชิงซ้อนทั้งหมด ให้ผลลัพธ์เป็นจำนวนเชิงซ้อนได้ทุกจำนวนยกเว้นค่า 0 สิ่งนี้เป็นตัวอย่างหนึ่งของทฤษฎีบทเล็กของปิการ์ (Picard's little theorem) ซึ่งกล่าวว่า ฟังก์ชันทั่วที่ไม่เป็นค่าคงตัวใด ๆ ให้ผลลัพธ์เป็นจำนวนเชิงซ้อนได้ทุกจำนวน โดยอาจยกเว้นค่าใดค่าหนึ่ง

ฟังก์ชันเลขชี้กำลังมีลักษณะเป็นคาบ (periodic) ซึ่งมีคาบบนจำนวนจินตภาพเป็น 2πi และสามารถเขียนแทนได้ด้วยสูตร

 

เมื่อ a และ b เป็นค่าจริง (ดูเพิ่มที่สูตรของออยเลอร์) สูตรนี้เป็นตัวเชื่อมโยงฟังก์ชันเลขชี้กำลังเข้ากับฟังก์ชันตรีโกณมิติและฟังก์ชันไฮเพอร์บอลิก ดังนั้นฟังก์ชันมูลฐาน (elementary function) ทั้งหมดยกเว้นพหุนาม เป็นผลมาจากฟังก์ชันเลขชี้กำลังไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง

การขยายแนวคิดของลอการิทึมธรรมชาติไปยังจำนวนเชิงซ้อน ทำให้ ln(z) เป็นฟังก์ชันหลายค่า (multi-valued function) การยกกำลังสามารถเขียนให้อยู่ในรูปทั่วไปมากขึ้นดังนี้

 

สำหรับจำนวนเชิงซ้อน z และ w ทุกจำนวน การยกกำลังนี้จึงเป็นฟังก์ชันหลายค่าตามไปด้วย กฎการยกกำลังที่ระบุไว้ข้างต้นยังคงเป็นจริง ถ้าตีความว่าเป็นประโยคที่เกี่ยวกับฟังก์ชันหลายค่าอย่างถูกต้อง อย่างไรก็ตามกฎการคูณเลขชี้กำลังสำหรับจำนวนจริงบวก ไม่สามารถใช้ได้ในบริบทของฟังก์ชันหลายค่า นั่นคือ

 

ดูเพิ่มที่ความผิดพลาดของเอกลักษณ์กำลังและลอการิทึมเกี่ยวกับปัญหาของการผสานรวมการยกกำลัง

ฟังก์ชันเลขชี้กำลังเป็นการจับคู่ (map) เส้นตรงบนระนาบเชิงซ้อน ไปยังเส้นเวียนก้นหอยเชิงลอการิทึม (logarithmic spiral) บนระนาบเชิงซ้อนที่มีศูนย์กลางอยู่ที่จุดกำเนิด มีกรณีพิเศษสองกรณีได้แก่ เมื่อเส้นตรงขนานกับแกนจริง เส้นเวียนก้นหอยจะไม่เวียนใกล้เข้ามาหาตัวเอง และเมื่อเส้นตรงขนานกับแกนจินตภาพ เส้นเวียนก้นหอยจะกลายเป็นรูปวงกลมที่มีรัศมีขนาดหนึ่ง

การคำนวณ ab เมื่อทั้ง a และ b เป็นจำนวนเชิงซ้อน

ดูบทความหลักที่: การยกกำลัง

การยกกำลังเชิงซ้อน ab สามารถนิยามได้จากการแปลง a เป็นพิกัดเชิงขั้วและการใช้เอกลักษณ์ (eln(a))b = ab นั่นคือ

 

อย่างไรก็ตาม เมื่อ b ไม่ใช่จำนวนเต็ม ฟังก์ชันนี้จะเป็นฟังก์ชันหลายค่า เพราะ θ ไม่ได้มีเพียงหนึ่งเดียว

เมทริกซ์และพีชคณิตแบบบานัค

นิยามอนุกรมกำลังของฟังก์ชันเลขชี้กำลัง สามารถเข้าใจได้ว่าเป็นเมทริกซ์จัตุรัส (สำหรับฟังก์ชันที่เรียกว่าเมทริกซ์เลขชี้กำลัง) และเป็นแนวคิดทั่วไปยิ่งขึ้นในพีชคณิตแบบบานัค B ในการกำหนดเช่นนี้ e0 = 1 และ ex จะมีตัวผกผันนั่นคือ ex สำหรับ x ใด ๆ ใน B; ถ้า xy = yx ดังนั้น   แต่เอกลักษณ์นี้อาจใช้ไม่ได้ถ้า x และ y ไม่สามารถสลับที่ได้

การนิยามแบบอื่นก็นำไปสู่ฟังก์ชันเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ex สามารถนิยามเป็น   หรือนิยามเป็น f(1) เมื่อ f : RB เป็นคำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์ f ′(t) = xf(t) โดยมีเงื่อนไขเริ่มต้นว่า f(0) = 1

ฟังก์ชันเลขชี้กำลังสองชั้น

ฟังก์ชันเลขชี้กำลังสองชั้น (double exponential function) อาจมีความหมายหนึ่งในสองอย่างดังต่อไปนี้

  • ฟังก์ชันที่ประกอบด้วยพจน์เชิงเลขชี้กำลังสองพจน์ ซึ่งมีเลขชี้กำลังต่างกัน
  • ฟังก์ชัน   ฟังก์ชันนี้มีอัตราการเติบโตเร็วกว่าฟังก์ชันเลขชี้กำลังธรรมดา เช่นกำหนดให้ a = 10 จะได้ f(−1) = 1.26, f(0) = 10, f(1) = 1010, f(2) = 10100 = กูกอล, …, f(100) = กูกอลเพลกซ์

แฟกทอเรียลก็เติบโตเร็วกว่าฟังก์ชันเลขชี้กำลัง แต่ช้ากว่าฟังก์ชันเลขชี้กำลังสองชั้น ตัวอย่างของฟังก์ชันเลขชี้กำลังสองชั้นเช่น จำนวนแฟร์มาต์ (Fermat number) ที่ได้จากสูตร   และจำนวนแมร์แซนสองชั้น (double Mersenne number) ที่ได้จากสูตร   เป็นต้น

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Goldstein, Lay, Schneider, Asmar, Brief calculus and its applications, 11th ed., Prentice-Hall, 2006.
  2. "The natural exponential function is identical with its derivative. This is really the source of all the properties of the exponential function, and the basic reason for its importance in applications…" - p.448 of Courant and Robbins, What is mathematics? An elementary approach to ideas and methods (edited by Stewart), 2nd revised edition, Oxford Univ. Press, 1996.
  3. คู่มือครู คณิตศาสตร์ ม. 5 เล่ม 1, หน้า 7. (หน้า 11 ของเอกสาร)
  4. John J O'Connor; Edmund F Robertson. "The number e". School of Mathematics and Statistics. University of St Andrews, Scotland. สืบค้นเมื่อ 13-06-2011. Check date values in: |accessdate= (help)
  5. Eli Maor, e: the Story of a Number, p.156.
  6. Walter Rudin, Real and Complex Analysis, McGraw-Hill, 3rd ed., 1986, ISBN 978-0070542341, page 1
  7. Ahlfors, Lars V. (1953). Complex analysis. McGraw-Hill Book Company, Inc.

แหล่งข้อมูลอื่น

งก, นเลขช, กำล, หร, งก, นเอกซ, โพเนนเช, ยล, งกฤษ, exponential, function, หมายถ, งฟ, งก, เม, อจำนวนท, ทำให, งก, เท, าก, บอน, นธ, ของม, นเอง, าประมาณ, 718281828, กใช, เพ, อจำลองความส, มพ, นธ, เม, อการเปล, ยนแปลงคงต, วในต, วแปรอ, สระ, ทำให, เก, ดการเปล, ยนแปลงตาม. fngkchnelkhchikalng hrux fngkchnexksophennechiyl xngkvs exponential function hmaythungfngkchn ex emux e khuxcanwnthithaihfngkchn ex ethakbxnuphnthkhxngmnexng sung e mikhapraman 2 718281828 1 2 fngkchnelkhchikalngthukichephuxcalxngkhwamsmphnth emuxkarepliynaeplngkhngtwintwaeprxisra thaihekidkarepliynaeplngtamsdswnediywknintwaeprtam echnkarephimkhunhruxldlngkhxngxtrarxyla fngkchnnimkekhiynepn exp x odyechphaaxyangyingemuxtwaeprxisraekhiynepntwykimidkrafkhxngfngkchnelkhchikalng y e x displaystyle y e x krafkhxngfngkchn y ex milksnatngchnkhunaelamixtraephimkhaerwyingkhunemux x ephimkhun krafcawangtwxyuehnuxaekn x esmx aetemux x epnlbkrafcaluekhaaekn x dngnnaekn x cungepnesnkakbaenwnxn horizontal asymptote esnhnungkhxngkrafni khwamchnkhxngkrafaetlacudmikhaethakbphikd y khxngcudnn fngkchnphkphnkhxngfngkchnelkhchikalngkhuxlxkarithumthrrmchati ln x dwyehtunitarabangelmcungxangthungfngkchnelkhchikalngwaepn aexntilxkarithum antilogarithm 3 inbangkrnikhawa fngkchnelkhchikalng kmiichinkhwamhmaythwipyingkhun sahrbfngkchntang thixyuinrupaebb cbx emux b khuxthanthiepncanwncringbwk imcaepntxngepn e duephimthikaretibotaebbelkhchikalngsahrbkhwamhmayniodythwiptwaepr x samarthepncanwncring canwnechingsxn hruxaemaetwtthuthangkhnitsastrtang thitangchnidknxyangsinechingkid duraylaexiydthi niyamechingrupny enuxha 1 phaphrwm 2 niyamechingrupny 3 xnuphnthaelasmkarechingxnuphnth 4 essswntxenuxngkhxng ex 5 ranabechingsxn 5 1 karkhanwn ab emuxthng a aela b epncanwnechingsxn 6 emthriksaelaphichkhnitaebbbankh 7 fngkchnelkhchikalngsxngchn 8 duephim 9 xangxing 10 aehlngkhxmulxunphaphrwm aekikhfngkchnelkhchikalngcaekidkhun emuxidktamthiprimanxyanghnungetibothruxesuxmslayinxtrathiidsdswnkbkhapccubn twxyangsthankarnniechndxkebiythbtntxenuxng emux kh s 1683 yakhxb aebrnulli Jocob Bernoulli phbwamnepnechnnnodykhxethccring 4 aelanaipsucanwn e thiimthrabkhadngni lim n 1 1 n n displaystyle lim n to infty left 1 frac 1 n right n dd txma kh s 1697 oyhnn aebrnulli Johann Bernoulli kidsuksaaekhlkhulskhxngfngkchnelkhchikalngdngklaw 4 thamiengintncanwn 1 aelaidrbdxkebiyinxtraraypi x odythbtnrayeduxn dngnnxtradxkebiythiidrbtxeduxncungepn x 12 ethakhxngmulkhapccubn aetlaeduxncungmiyxdrwmkhxngeduxnkxnhnakhundwy 1 x 12 inthisudmulkhathiidemuxsinpicungethakb 1 x 12 12 thakhiddxkebiythbtnraywnaethn mulkhacaklayepn 1 x 365 365 aelathakahndihcanwnchwngewlatxpiephimkhunodyimcakd canaipsuniyamkhxnglimitkhxngfngkchnelkhchikalngdngni exp x lim n 1 x n n displaystyle exp x lim n to infty left 1 frac x n right n dd niyamnikahndiwodyxxyelxr 5 singniepnkarxthibaylksnaechphaakhxngfngkchnelkhchikalngwithihnung swnwithikarxuncaekiywkhxngkbxnukrmaelasmkarechingxnuphnthcakniyamid ehlanisamarthaesdngidwafngkchnelkhchikalngepniptamexklksnkarykkalngphunthan exp x y exp x exp y displaystyle exp x y exp x cdot exp y dd cungepnthimawaehtuidfngkchnelkhchikalngcungsamarthekhiyninrupaebb ex idxnuphnth xtrakarepliynaeplng khxngfngkchnelkhchikalng khuxfngkchnelkhchikalngodytwmnexng hruxxiknyhnungkhux fngkchnthimixtrakarepliynaeplngidsdswnkbfngkchntwexng aethnthicahmaythungethakbtwexng samarthaesdngidinrupaebbfngkchnelkhchikalng smbtikhxngfngkchnkhxninaipsukarxthibaykaretibotaelakaresuxmslayaebbelkhchikalngfngkchnelkhchikalngkhyayaenwkhidepnfngkchnthw entire function chnidhnungbnranabechingsxn sutrkhxngxxyelxrekiywkhxngkbkhakhxngfngkchnemuxsngkhaxarkiwemntswncintphaphipyngfngkchntrioknmiti fngkchnelkhchikalngkmisingthikhlayknsahrbxarkiwemntthiepnemthriks hruxaemaetsmachikkhxngphichkhnitaebbbankh Banach algebra hruxphichkhnitaebbli Lie algebra niyamechingrupny aekikhdubthkhwamhlkthi karxthibaylksnaechphaakhxngfngkchnelkhchikalng fngkchnelkhchikalng sinaengin aelaphlbwkkhxng n 1 phcnaerkkhxngxnukrmkalng siaedng fngkchnelkhchikalng ex samarthxthibaylksnaechphaaidethiybethaknhlaywithikar odyechphaaxyangying fngkchnelkhchikalngxacniyamdwyxnukrmkalngtxipni 6 e x n 0 x n n 1 x x 2 2 x 3 3 x 4 4 displaystyle e x sum n 0 infty x n over n 1 x x 2 over 2 x 3 over 3 x 4 over 4 cdots dd karichniyamwithixunkhxngfngkchnelkhchikalngkcaihphllphthehmuxnknemuxkhyayepnxnukrmethyelxrex xacthukniyamihepnkhatxb y khxngsmkarni sungepnrupaebbthiphbidnxykwa x 1 y d t t displaystyle x int 1 y dt over t dd fngkchnelkhchikalngkxachmaythunglimitdngni dngthiidklawiwintxntn e x lim n 1 x n n displaystyle e x lim n rightarrow infty left 1 frac x n right n dd xnuphnthaelasmkarechingxnuphnth aekikh xnuphnthkhxngfngkchnelkhchikalngmikhaethakbkhakhxngfngkchn cakcud P id bnesnokhng sinaengin thamiesnsmphs siaedng aelaesntrngtamaenwdingcakcudsmphs siekhiyw tamlksnadngrup caekidrupsamehliymmumchakbnthanaekn x siekhiyw thimikhwamyaw 1 hnwy dngnnkhwamchnkhxngesnsmphs xnuphnth thicud P cungethakbkhwamsungkhxngrupsamehliym khakhxngfngkchn khwamsakhyhlkkhxngfngkchnelkhchikalnginkhnitsastraelawithyasastr ekidcaksmbtikhxngxnuphnthkhxngmn odyechphaaxyangying d d x e x e x displaystyle d over dx e x e x dd nnkhux ex epnxnuphnthkhxngtwexng aelaepntwxyangphunthanxnhnungkhxngfngkchnaebbphfff Pfaffian function fngkchntang thixyuinrupaebb cex sung c epnkhakhngtw epnfngkchnklumediywthimismbtiechnni cakthvsdibthpikar linedelif Picard Lindelof theorem hruxklawihecaacngidwa kahndih k epnkhakhngtwcanwncringid fngkchn f R R casxdkhlxngkbenguxnikh f kf ktxemux f x cekx sahrbkhakhngtw c bangcanwn karxthibaydwywithixunthiihphlehmuxnknechn khwamchnkhxngkraf n cudid ethakbkhwamsungkhxngfngkchnthicudnn xtrakarephimkhxngfngkchnthicud x ethakbkhakhxngfngkchnthicud x fngkchnthiepnkhatxbkhxngsmkarechingxnuphnth y y exp epncudtrung fixed point khxngxnuphnthinthanafngkchnnl functional odykhxethccringaelw smkarechingxnuphnthhlaychnidthaihekidfngkchnelkhchikalng rwmthngsmkarcherxdingengxr Schrodinger equation smkarlapls Laplace s equation aelasmkarthiekiywkhxngkbkarekhluxnthiaebbharmxnikechingediyw simple harmonic motion fngkchnelkhchikalnginthanxunkhux d d x a x a x ln a displaystyle d over dx a x a x ln a dd dngnnfngkchnelkhchikalngid cungepnphhukhunkhakhngtwkhxngxnuphnthkhxngtwexngsahrbfngkchnelkhchikalnginthanxunthimikhakhngtwprakxbinelkhchikalng a c x a c x ln a c c gt 0 displaystyle left a cx right a cx ln a cdot c qquad c gt 0 dd smkarkhangtnepncringsahrbkha c thukcanwn aetphllphthkhxngxnuphnthemux c lt 0 caepncanwnechingsxnthaxtrakaretibothruxesuxmslaykhxngtwaepridsdswnkbkhnadkhxngtwaepr echnkaretibotkhxngprachakrxyangimcakd dxkebiythbtntxenuxng hruxkarslaytwkhxngsarkmmntrngsi twaeprnncasamarthekhiyninrupaebbkhakhngtwkhundwyfngkchnelkhchikalngkhxngewlanxkehnuxcakni fngkchnhaxnuphnthid f x chnidid erasamarthhaxnuphnthidodyichkdlukosdngni d d x e f x f x e f x displaystyle d over dx e f x f x e f x dd essswntxenuxngkhxng ex aekikhessswntxenuxngkhxng ex samarthnamacakexklksnkhxhnungkhxngxxyelxr e x 1 x 1 x x 2 2 x x 3 3 x x 4 4 x x 5 5 x x 6 displaystyle e x 1 cfrac x 1 cfrac x x 2 cfrac 2x x 3 cfrac 3x x 4 cfrac 4x x 5 cfrac 5x x 6 ddots dd essswntxenuxngnythwipkhxng e2x y txipni mikhaluekhaxyangrwderw e 2 x y 1 2 x y x x 2 3 y x 2 5 y x 2 7 y x 2 9 y x 2 11 y x 2 13 y displaystyle e 2x y 1 cfrac 2x y x cfrac x 2 3y cfrac x 2 5y cfrac x 2 7y cfrac x 2 9y cfrac x 2 11y cfrac x 2 13y ddots dd sahrbkrniphiessemux x y 1 caid e 2 7 2 5 1 7 1 9 1 11 1 13 displaystyle e 2 7 cfrac 2 5 cfrac 1 7 cfrac 1 9 cfrac 1 11 cfrac 1 13 ddots dd ranabechingsxn aekikh krafkhxngfngkchnelkhchikalngbnranabechingsxn karepliynsicakmudepnswangaesdngihehnthungkhnadkhxngfngkchnelkhchikalngthiephimkhunipthangkhwa aethbsiinaenwrabthisaepnchwngaesdngwafngkchnelkhchikalngepnfngkchnepnkhabinswncintphaphkhxngxarkiwemnt fngkchnelkhchikalngsamarthniyambnranabechingsxnidhlayrupaebbethiybethakn echnediywkbkrnikhxngcanwncring karniyamehlanibangxyangehmuxnsutrtang khxngfngkchnelkhchikalngsahrbcanwncring hakklawodyechphaaecaacng erayngsamarthichniyamxnukrmkalngsungkhacringthukaethnthidwykhaechingsxn e z n 0 z n n displaystyle e z sum n 0 infty frac z n n dd cakkarichniyamnithaihngaytxkaraesdngwa d d z e z e z displaystyle textstyle d over dz e z e z yngkhngepncringbnranabechingsxnniyamxiktwxyanghnungepnkarkhyayaenwkhidkhxngfngkchnelkhchikalngsahrbcanwncring khnaerkrabuthungsmbtithitxngkar e x i y e x e i y displaystyle e x iy e x e iy swnaerk ex caichfngkchnelkhchikalngsahrbcanwncringtampkti swnhlngichsutrkhxngxxyelxrniyam e i y cos y i sin y displaystyle e iy cos y i sin y dngnncungcaepntxngichkarniyamthiekiywkhxngkbcanwncringxyanghlikeliyngimid 7 emuxphicarnafngkchnthiniyambnranabechingsxn fngkchnelkhchikalngyngkhngmismbtithisakhydngni e z w e z e w displaystyle e z w e z e w e 0 1 displaystyle e 0 1 e z 0 displaystyle e z neq 0 d d z e z e z displaystyle d over dz e z e z sahrbcanwnechingsxn z aela w thukcanwnfngkchnelkhchikalngepnfngkchnthw entire function chnidhnung enuxngcakmnepnsathissnthan holomorphic bnranabechingsxnthnghmd ihphllphthepncanwnechingsxnidthukcanwnykewnkha 0 singniepntwxyanghnungkhxngthvsdibthelkkhxngpikar Picard s little theorem sungklawwa fngkchnthwthiimepnkhakhngtwid ihphllphthepncanwnechingsxnidthukcanwn odyxacykewnkhaidkhahnungfngkchnelkhchikalngmilksnaepnkhab periodic sungmikhabbncanwncintphaphepn 2pi aelasamarthekhiynaethniddwysutr e a b i e a cos b i sin b displaystyle e a bi e a cos b i sin b dd emux a aela b epnkhacring duephimthisutrkhxngxxyelxr sutrniepntwechuxmoyngfngkchnelkhchikalngekhakbfngkchntrioknmitiaelafngkchnihephxrbxlik dngnnfngkchnmulthan elementary function thnghmdykewnphhunam epnphlmacakfngkchnelkhchikalngimthangidkthanghnungkarkhyayaenwkhidkhxnglxkarithumthrrmchatiipyngcanwnechingsxn thaih ln z epnfngkchnhlaykha multi valued function karykkalngsamarthekhiynihxyuinrupthwipmakkhundngni z w e w ln z displaystyle z w e w ln z dd sahrbcanwnechingsxn z aela w thukcanwn karykkalngnicungepnfngkchnhlaykhatamipdwy kdkarykkalngthirabuiwkhangtnyngkhngepncring thatikhwamwaepnpraoykhthiekiywkbfngkchnhlaykhaxyangthuktxng xyangirktamkdkarkhunelkhchikalngsahrbcanwncringbwk imsamarthichidinbribthkhxngfngkchnhlaykha nnkhux e z w e z w displaystyle e z w neq e left zw right dd duephimthikhwamphidphladkhxngexklksnkalngaelalxkarithumekiywkbpyhakhxngkarphsanrwmkarykkalngfngkchnelkhchikalngepnkarcbkhu map esntrngbnranabechingsxn ipyngesnewiynknhxyechinglxkarithum logarithmic spiral bnranabechingsxnthimisunyklangxyuthicudkaenid mikrniphiesssxngkrniidaek emuxesntrngkhnankbaekncring esnewiynknhxycaimewiyniklekhamahatwexng aelaemuxesntrngkhnankbaekncintphaph esnewiynknhxycaklayepnrupwngklmthimirsmikhnadhnung twxyangkarlngcudkhxngfngkchnelkhchikalngbnranabechingsxn z Re ex iy z Im ex iy karkhanwn ab emuxthng a aela b epncanwnechingsxn aekikh dubthkhwamhlkthi karykkalng karykkalngechingsxn ab samarthniyamidcakkaraeplng a epnphikdechingkhwaelakarichexklksn eln a b ab nnkhux a b r e 8 i b e ln r 8 i b e ln r 8 i b displaystyle a b re theta i b e ln r theta i b e ln r theta i b dd xyangirktam emux b imichcanwnetm fngkchnnicaepnfngkchnhlaykha ephraa 8 imidmiephiynghnungediywemthriksaelaphichkhnitaebbbankh aekikhniyamxnukrmkalngkhxngfngkchnelkhchikalng samarthekhaicidwaepnemthrikscturs sahrbfngkchnthieriykwaemthrikselkhchikalng aelaepnaenwkhidthwipyingkhuninphichkhnitaebbbankh B inkarkahndechnni e0 1 aela ex camitwphkphnnnkhux e x sahrb x id in B tha xy yx dngnn e x y e x e y displaystyle e x y e x e y aetexklksnnixacichimidtha x aela y imsamarthslbthiidkarniyamaebbxunknaipsufngkchnediywkn twxyangechn ex samarthniyamepn lim n 1 x n n displaystyle textstyle lim n to infty left 1 frac x n right n hruxniyamepn f 1 emux f R B epnkhatxbkhxngsmkarechingxnuphnth f t xf t odymienguxnikherimtnwa f 0 1fngkchnelkhchikalngsxngchn aekikhfngkchnelkhchikalngsxngchn double exponential function xacmikhwamhmayhnunginsxngxyangdngtxipni fngkchnthiprakxbdwyphcnechingelkhchikalngsxngphcn sungmielkhchikalngtangkn fngkchn f x a a x displaystyle f x a a x fngkchnnimixtrakaretiboterwkwafngkchnelkhchikalngthrrmda echnkahndih a 10 caid f 1 1 26 f 0 10 f 1 1010 f 2 10100 kukxl f 100 kukxlephlksaefkthxeriylketiboterwkwafngkchnelkhchikalng aetchakwafngkchnelkhchikalngsxngchn twxyangkhxngfngkchnelkhchikalngsxngchnechn canwnaefrmat Fermat number thiidcaksutr F m 2 2 m 1 displaystyle F m 2 2 m 1 aelacanwnaemraesnsxngchn double Mersenne number thiidcaksutr M M p 2 2 p 1 1 displaystyle MM p 2 2 p 1 1 epntnduephim aekikhe khakhngtw karetibotaebbelkhchikalng karesuxmslayaebbelkhchikalng karykkalng ethethrchnxangxing aekikh Goldstein Lay Schneider Asmar Brief calculus and its applications 11th ed Prentice Hall 2006 The natural exponential function is identical with its derivative This is really the source of all the properties of the exponential function and the basic reason for its importance in applications p 448 of Courant and Robbins What is mathematics An elementary approach to ideas and methods edited by Stewart 2nd revised edition Oxford Univ Press 1996 khumuxkhru khnitsastr m 5 elm 1 hna 7 hna 11 khxngexksar 4 0 4 1 John J O Connor Edmund F Robertson The number e School of Mathematics and Statistics University of St Andrews Scotland subkhnemux 13 06 2011 Check date values in accessdate help Eli Maor e the Story of a Number p 156 Walter Rudin Real and Complex Analysis McGraw Hill 3rd ed 1986 ISBN 978 0070542341 page 1 Ahlfors Lars V 1953 Complex analysis McGraw Hill Book Company Inc aehlngkhxmulxun aekikhComplex exponential function on PlanetMath Derivative of exponential function on PlanetMath Derivative of exponential function interactive graph exrik dbebilyu iwssitn Exponential Function cakaemthewild Taylor Series Expansions of Exponential Functions at efunda com Complex exponential interactive graphicekhathungcak https th wikipedia org w index php title fngkchnelkhchikalng amp oldid 7850633, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม