fbpx
วิกิพีเดีย

กัสซีนี–เฮยเคินส์

ภารกิจ กัสซีนี–เฮยเคินส์ หรือ คัสซีนี–ฮอยเกนส์ (Cassini–Huygens) เป็นความร่วมมือระหว่างนาซา, องค์การอวกาศยุโรป (ESA) และองค์การอวกาศอิตาลี (ASI) เพื่อส่งยานไปศึกษาดาวเสาร์และระบบดาวเสาร์ อันรวมถึงวงแหวนดาวเสาร์และดาวบริวาร ยานอวกาศหุ่นยนต์ไร้คนบังคับชั้นแฟลกชิปประกอบด้วยยานกัสซีนีของนาซา และส่วนลงจอดเฮยเคินส์ของ ESA ซึ่งจะลงจอดบนไททัน ดาวบริวารใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ กัสซีนีเป็นยานอวกาศลำที่สี่ที่เยือนดาวเสาร์และเป็นลำแรกที่เข้าสู่วงโคจร ยานนี้ตั้งชื่อตามโจวันนี โดเมนีโก กัสซีนี นักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี และคริสตียาน เฮยเคินส์ นักดาราศาสตร์ชาวดัตช์

กัสซีนี–เฮยเคินส์
ภาพยาน กัสซีนี โคจรรอบดาวเสาร์โดยศิลปิน
ประเภทภารกิจกัสซีนี: โคจรรอบดาวเสาร์
เฮยเคินส์: จอดบนดวงจันทร์ไททัน
ผู้ดำเนินการกัสซีนี: NASA / JPL
เฮยเคินส์: ESA / ASI
COSPAR ID1997-061A
SATCAT no.25008
เว็บไซต์
  • NASA
  • ESA
  • ASI
ระยะภารกิจ
  • ภาพรวม:
    •  19 years, 335 days
    •  13 years, 76 days at Saturn
  • ระยะเวลาเดินทาง:
    •  6 years, 261 days
  • ภารกิจหลัก:
    •  3 years
  • ภารกิจเสริม:
    •  Equinox: 2 years, 62 days
    •  Solstice: 6 years, 205 days
    •  Finale: 4 months, 24 days
ข้อมูลยานอวกาศ
ผู้ผลิตกัสซีนี: Jet Propulsion Laboratory
เฮยเคินส์: Thales Alenia Space
มวลขณะส่งยาน5,712 kg (12,593 lb)
มวลแห้ง2,523 kg (5,562 lb)
กำลังไฟฟ้า~885 วัตต์ (BOL)
~670 วัตต์ (2010)
~663 วัตต์ (EOM/2017)
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น08:43:00, 15 ตุลาคม 2540 (UTC) (1997-10-15T08:43:00Z)
จรวดนำส่ง Titan IV(401)B B-33
ฐานส่งCape Canaveral SLC-40
สิ้นสุดภารกิจ
การกำจัดบังคับเข้าสู่ชั้นบรรยากาศดาวเสาร์
ติดต่อครั้งสุดท้าย15 กันยายน พ.ศ.2560
  • 11:55:39 UTC X-band telemetry
  • 11:55:46 UTC S-band radio science
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงKronocentric
บินผ่าน of ดาวศุกร์ (Gravity assist)
เข้าใกล้สุด26 เมษายน พ.ศ.2541
ระยะทาง283 km (176 mi)
บินผ่าน of ดาวศุกร์ (แรงโน้มถ่วง)
เข้าใกล้สุด24 มิถุนายน พ.ศ.2542
ระยะทาง623 km (387 mi)
บินผ่าน of ระบบโลก-ดวงจันทร์ (แรงโน้มถ่วง)
เข้าใกล้สุด18 สิงหาคม พ.ศ.2542, 03:28 UTC
ระยะทาง1,171 km (728 mi)
บินผ่าน of 2685 Masursky (โดยบังเอิญ)
เข้าใกล้สุด23 มกราคม พ.ศ.2543
ระยะทาง1,600,000 km (990,000 mi)
บินผ่าน of ดาวพฤหัส (แรงโน้มถ่วง)
เข้าใกล้สุด30 ธันวาคม พ.ศ.2543
ระยะทาง9,852,924 km (6,122,323 mi)
โคจรรอบ ดาวเสาร์ orbiter
แทรกวงโคจร1 กรกฎาคม พ.ศ.2547, 02:48 UTC
ยานลงจอด ไททัน
ส่วนประกอบยานอวกาศเฮยเคินส์
วันที่ลงจอด14 มกราคม พ.ศ.2548
ภารกิจวิทยาศาสตร์เชิงกลยุทธ์ขนาดใหญ่
Mars Science Laboratory →
 
ภาพจำลองสามมิติ ยานสำรวจอวกาศกัสซีนี ขณะโคจรรอบดาวเสาร์

ยานโดยสารไปกับไททัน 4บี/เซ็นทอร์เมื่อวันี่ 15 ตุลาคม 2540 ปฏิบัติภารกิจในอวกาศเป็นเวลากว่า 19 ปี โดยใช้เวลา 13 ปีโคจรรอบดาวเสาร์ แล้วศึกษาดาวเคราะห์และระบบดาวหลังเข้าสู่โคจรเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2547 การเดินทางสู่ดาวเสาร์มีการบินผ่านดาวศุกร์ (เมษายน 2541 ถึงกรกฎาคม 2542) โลก (สิงหาคม 2542) ดาวเคราะห์น้อย 2685 มาเซอร์สกี และดาวพฤหัสบดี (ธันวาคม 2543) ภารกิจสิ้นสุดลงในวันที่ 15 กันยายน 2560 เมื่อกัสซีนีได้รับคำสั่งให้บินเข้าชั้นบรรยากาศบนของดาวเสาร์และถูกเผาไหม้เพื่อป้องกันความเสี่ยงการทำให้ดาวบริวารของดาวเสาร์ปนเปื้อนจุลชีพจากโลกที่ติดไปกับยาน ทั้งนี้ ดาวบริวารของดาวเสาร์บางดวงมีสิ่งแวดล้อมที่อาจมีสิ่งมีชีวิตได้ ภารกิจดังกล่าวเป็นที่รู้กันแพร่หลายว่าประสบความสำเร็จเหนือความคาดหมาย ผู้อำนวยการกองวิทยาดาวเคราะห์ของนาซาเรียก กัสซีนี–เฮยเคินส์ ว่าเป็น "ภารกิจแห่งครั้งแรก" ซึ่งปฏิบัติความเข้าใจของมนุษย์เกี่ยวกับระบบดาวเสาร์ ซึ่งรวมทั้งดาวบริวารและวงแหวน และความเข้าใจว่าอาจพบสิ่งมีชีวิตได้ในระบบสุริยะ

ภารกิจดั้งเดิมของกัสซีนีวางแผนไว้กินเวลาสี่ปี ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2547 ถึงพฤษภาคม 2551 ต่อมาภารกิจถูกขยายเวลาไปสองปีถึงเดือนกันยายน 2553 เรียก ภารกิจวิษุวัตกัสซีนี (Cassini Equinox Mission) และขยายเวลาครั้งที่สองและครั้งสุดท้ายด้วย ภารกิจอายันกัสซีนี (Cassini Solstice Mission) ที่กินเวลาต่อมาอีกเจ็ดปีถึงวันที่ 15 กันยายน 2560

16 ประเทศในทวีปยุโรปพร้อมทั้งสหรัฐจัดตั้งทีมซึ่งรับผิดชอบต่อการออกแบบ การก่อสร้าง การบิน และการเก็บข้อมูลจากส่วนโคจรกัสซีนีและยานสำรวจเฮยเคินส์ ภารกิจดังกล่าวบริหารจัดการโดยห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่นของนาซาในสหรัฐ ที่ซึ่งส่วนบนรนโคจรถูกออกแบบและประกอบ การพัฒนายานสำรวจไททันเฮยเคินส์บริหารจัดการโดยศูนย์วิจัยอวกาศและเทคโนโลยียุโรป อุปกรณ์เครื่องมือสำหรับยานสำรวจดังกล่าวได้รับการจัดหาจากหลายประเทศ องค์การอวกาศอิตาลี (ASI) จัดหาเสาวิทยุกำลังขยายสูงของยานสำรวจกัสซีนี และเรดาร์น้ำหนักเบาและกะทัดรัด ซึ่งทำหน้าที่อเนกประสงค์ทั้งเป็นการถ่ายภาพจากเรดาร์ (synthetic aperture radar) มาตรความสูงเรดาร์และมาตรรังสี

กัสซีนีได้รับพลังงานโดยพลูโทเนียม-238 หนัก 32.7 กิโลกรัม โดยเป็นความร้อนจากการสลายกัมมันตรังสีของธาตุนั้นและเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า เฮยเคินส์ได้รับการสนับสนุนโดยกัสซีนีระหว่างการเดินทาง และเมื่อแยกออกมาใช้แบตเตอรีเคมี

อ้างอิง

  1. "Cassini–Huygens: Quick Facts". NASA. สืบค้นเมื่อ August 20, 2011.
  2. Krebs, Gunter Dirk. "Cassini / Huygens". Gunter's Space Page. สืบค้นเมื่อ June 15, 2016.
  3. Barber, Todd J. (August 23, 2010). . NASA. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ April 2, 2012. สืบค้นเมื่อ August 20, 2011.
  4. Brown, Dwayne; Cantillo, Laurie; Dyches, Preston (September 15, 2017). "NASA's Cassini Spacecraft Ends Its Historic Exploration of Saturn". NASA. สืบค้นเมื่อ September 15, 2017.
  5. Chang, Kenneth (September 14, 2017). "Cassini Vanishes Into Saturn, Its Mission Celebrated and Mourned". The New York Times. สืบค้นเมื่อ September 15, 2017.
  6. "Cassini Post-End of Mission News Conference" (Interview). Pasadena, CA: NASA Television. September 15, 2017.
  7. Brown, Dwayne; Martinez, Carolina (April 15, 2008). "NASA Extends Cassini's Grand Tour of Saturn". NASA / Jet Propulsion Laboratory. สืบค้นเมื่อ August 14, 2017.
  8. Ruslan Krivobok: Russia to develop nuclear-powered spacecraft for Mars mission. Ria Novosti, November 11, 2009, retrieved January 2, 2011

แหล่งข้อมูลอื่น

สซ, เฮยเค, นส, ภารก, หร, สซ, ฮอยเกนส, cassini, huygens, เป, นความร, วมม, อระหว, างนาซา, องค, การอวกาศย, โรป, และองค, การอวกาศอ, ตาล, เพ, อส, งยานไปศ, กษาดาวเสาร, และระบบดาวเสาร, นรวมถ, งวงแหวนดาวเสาร, และดาวบร, วาร, ยานอวกาศห, นยนต, ไร, คนบ, งค, บช, นแฟลกช, ปป. pharkic kssini ehyekhins hrux khssini hxyekns Cassini Huygens epnkhwamrwmmuxrahwangnasa xngkhkarxwkasyuorp ESA aelaxngkhkarxwkasxitali ASI ephuxsngyanipsuksadawesaraelarabbdawesar xnrwmthungwngaehwndawesaraeladawbriwar yanxwkashunyntirkhnbngkhbchnaeflkchipprakxbdwyyankssinikhxngnasa aelaswnlngcxdehyekhinskhxng ESA sungcalngcxdbniththn dawbriwarihythisudkhxngdawesar kssiniepnyanxwkaslathisithieyuxndawesaraelaepnlaaerkthiekhasuwngokhcr yannitngchuxtamocwnni odemniok kssini nkdarasastrchawxitali aelakhristiyan ehyekhins nkdarasastrchawdtchkssini ehyekhinsphaphyan kssini okhcrrxbdawesarodysilpinpraephthpharkickssini okhcrrxbdawesarehyekhins cxdbndwngcnthriththnphudaeninkarkssini NASA JPL ehyekhins ESA ASICOSPAR ID1997 061ASATCAT no 25008ewbistNASA ESA ASIrayapharkicphaphrwm 19 years 335 days 13 years 76 days at Saturn rayaewlaedinthang 6 years 261 days pharkichlk 3 years pharkicesrim Equinox 2 years 62 days Solstice 6 years 205 days Finale 4 months 24 dayskhxmulyanxwkasphuphlitkssini Jet Propulsion Laboratory ehyekhins Thales Alenia Spacemwlkhnasngyan5 712 kg 12 593 lb 1 2 mwlaehng2 523 kg 5 562 lb 1 kalngiffa 885 wtt BOL 1 670 wtt 2010 3 663 wtt EOM 2017 1 erimtnpharkicwnthisngkhun08 43 00 15 tulakhm 2540 UTC 1997 10 15T08 43 00Z crwdnasngTitan IV 401 B B 33thansngCape Canaveral SLC 40sinsudpharkickarkacdbngkhbekhasuchnbrryakasdawesar 4 5 tidtxkhrngsudthay15 knyayn ph s 2560 11 55 39 UTC X band telemetry 11 55 46 UTC S band radio science 6 lksnawngokhcrrabbxangxingKronocentricbinphan of dawsukr Gravity assist ekhaiklsud26 emsayn ph s 2541rayathang283 km 176 mi binphan of dawsukr aerngonmthwng ekhaiklsud24 mithunayn ph s 2542rayathang623 km 387 mi binphan of rabbolk dwngcnthr aerngonmthwng ekhaiklsud18 singhakhm ph s 2542 03 28 UTCrayathang1 171 km 728 mi binphan of 2685 Masursky odybngexiy ekhaiklsud23 mkrakhm ph s 2543rayathang1 600 000 km 990 000 mi binphan of dawphvhs aerngonmthwng ekhaiklsud30 thnwakhm ph s 2543rayathang9 852 924 km 6 122 323 mi okhcrrxb dawesar orbiteraethrkwngokhcr1 krkdakhm ph s 2547 02 48 UTCyanlngcxd iththnswnprakxbyanxwkasehyekhinswnthilngcxd14 mkrakhm ph s 2548pharkicwithyasastrechingklyuththkhnadihy kalieloxMars Science Laboratory phaphcalxngsammiti yansarwcxwkaskssini khnaokhcrrxbdawesar yanodysaripkbiththn 4bi esnthxremuxwni 15 tulakhm 2540 ptibtipharkicinxwkasepnewlakwa 19 pi odyichewla 13 piokhcrrxbdawesar aelwsuksadawekhraahaelarabbdawhlngekhasuokhcremuxwnthi 1 krkdakhm 2547 karedinthangsudawesarmikarbinphandawsukr emsayn 2541 thungkrkdakhm 2542 olk singhakhm 2542 dawekhraahnxy 2685 maesxrski aeladawphvhsbdi thnwakhm 2543 pharkicsinsudlnginwnthi 15 knyayn 2560 emuxkssiniidrbkhasngihbinekhachnbrryakasbnkhxngdawesaraelathukephaihmephuxpxngknkhwamesiyngkarthaihdawbriwarkhxngdawesarpnepuxnculchiphcakolkthitidipkbyan thngni dawbriwarkhxngdawesarbangdwngmisingaewdlxmthixacmisingmichiwitid pharkicdngklawepnthiruknaephrhlaywaprasbkhwamsaercehnuxkhwamkhadhmay phuxanwykarkxngwithyadawekhraahkhxngnasaeriyk kssini ehyekhins waepn pharkicaehngkhrngaerk sungptibtikhwamekhaickhxngmnusyekiywkbrabbdawesar sungrwmthngdawbriwaraelawngaehwn aelakhwamekhaicwaxacphbsingmichiwitidinrabbsuriyapharkicdngedimkhxngkssiniwangaephniwkinewlasipi tngaeteduxnmithunayn 2547 thungphvsphakhm 2551 txmapharkicthukkhyayewlaipsxngpithungeduxnknyayn 2553 eriyk pharkicwisuwtkssini Cassini Equinox Mission 7 aelakhyayewlakhrngthisxngaelakhrngsudthaydwy pharkicxaynkssini Cassini Solstice Mission thikinewlatxmaxikecdpithungwnthi 15 knyayn 256016 praethsinthwipyuorpphrxmthngshrthcdtngthimsungrbphidchxbtxkarxxkaebb karkxsrang karbin aelakarekbkhxmulcakswnokhcrkssiniaelayansarwcehyekhins pharkicdngklawbriharcdkarodyhxngptibtikaraerngkhbekhluxnixphnkhxngnasainshrth thisungswnbnrnokhcrthukxxkaebbaelaprakxb karphthnayansarwciththnehyekhinsbriharcdkarodysunywicyxwkasaelaethkhonolyiyuorp xupkrnekhruxngmuxsahrbyansarwcdngklawidrbkarcdhacakhlaypraeths xngkhkarxwkasxitali ASI cdhaesawithyukalngkhyaysungkhxngyansarwckssini aelaerdarnahnkebaaelakathdrd sungthahnathixenkprasngkhthngepnkarthayphaphcakerdar synthetic aperture radar matrkhwamsungerdaraelamatrrngsikssiniidrbphlngnganodyphluotheniym 238 hnk 32 7 kiolkrm 8 odyepnkhwamrxncakkarslaykmmntrngsikhxngthatunnaelaepliynepnphlngnganiffa ehyekhinsidrbkarsnbsnunodykssinirahwangkaredinthang aelaemuxaeykxxkmaichaebtetxriekhmixangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 1 3 Cassini Huygens Quick Facts NASA subkhnemux August 20 2011 Krebs Gunter Dirk Cassini Huygens Gunter s Space Page subkhnemux June 15 2016 Barber Todd J August 23 2010 Insider s Cassini Power Propulsion and Andrew Ging NASA khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux April 2 2012 subkhnemux August 20 2011 Brown Dwayne Cantillo Laurie Dyches Preston September 15 2017 NASA s Cassini Spacecraft Ends Its Historic Exploration of Saturn NASA subkhnemux September 15 2017 Chang Kenneth September 14 2017 Cassini Vanishes Into Saturn Its Mission Celebrated and Mourned The New York Times subkhnemux September 15 2017 Cassini Post End of Mission News Conference Interview Pasadena CA NASA Television September 15 2017 Brown Dwayne Martinez Carolina April 15 2008 NASA Extends Cassini s Grand Tour of Saturn NASA Jet Propulsion Laboratory subkhnemux August 14 2017 Ruslan Krivobok Russia to develop nuclear powered spacecraft for Mars mission Ria Novosti November 11 2009 retrieved January 2 2011aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb kssini ehyekhinsCassini Huygens main page at NASA Cassini Mission Homepage Archived 2006 04 28 thi ewyaebkaemchchin by the Jet Propulsion Laboratory bthkhwamekiywkbdarasastrhruxckrwalwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy darasastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title kssini ehyekhins amp oldid 9558551, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม