fbpx
วิกิพีเดีย

แม่เหล็ก

แม่เหล็ก เป็นแร่หรือโลหะที่มีสมบัติดูดเหล็กได้ ในประวัติศาสตร์ พบว่า สาร"Magnesian stone") ("หินแมกแนเซียน") เป็นวัตถุที่ดูดเหล็กได้ แม่เหล็ก (มาจากภาษากรีก μαγνήτις λίθος magnḗtis líthos) แม่เหล็กสามารถทำให้เกิดสนามแม่เหล็กได้ นั่นคือมันสามารถส่งแรงดูดหรือแรงผลัก ออกไปรอบ ๆ ตัวมันได้ แม้ว่าสนามแม่เหล็กจะเป็นสิ่งที่ไม่สามารถมองเห็นได้แต่มันเป็นเกี่ยวข้องกับคุณสมบัติสำคัญของแม่เหล็กโดยตรง ได้แก่ คุณสมบัติการดูดและการผลักกันระหว่างแท่งแม่เหล็ก เราสามารถสร้างแม่เหล็กขึ้นมาได้ วิธีแรกคือ นำเหล็กมาถูกับแม่เหล็ก วิธีที่สองคือ ป้อนกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวดที่พันรอบเหล็ก แรงเหนี่ยวนำในขดลวดทำให้เหล็กนั้นกลายเป็นแม่เหล็กชั่วคราว และทำให้เกิด สนามแม่เหล็กรอบ ๆ เหล็กนั้น เราเรียกแม่เหล็กแบบนี้ว่า แม่เหล็กไฟฟ้า ปัจจุบัน มีสารอื่นที่ทำให้เป็นแม่เหล็กได้ เช่น นิเกิล โคบอล แมงกานีส

แม่เหล็กรูปเกือกม้า ทำให้แม่เหล็กมีแรงดูดมากขึ้น
รูปแสดงเส้นแรงแม่เหล็กจากขั้วเหนือไปขั้วใต้ บริเวณที่แรงนี้ส่งไปถึง เรียกว่าสนามแม่เหล็ก
รูปแสดงการเรียงตัวของผงตะไบเหล็กในสนามแม่เหล็ก

คุณสมบัติของแม่เหล็ก

  1. แม่เหล็กมี 2 ขั้วเสมอ ขั้วเหนือและขั้วใต้ ถ้าแขวนแท่งแม่เหล็กให้เคลื่อนที่อย่างอิสระ เมื่อหยุดนิ่ง ขั้วที่ชี้ไปทางทิศเหนือ เรียกว่า ขั้วเหนือ (N) ขั้วที่ชี้ไปทางทิศใต้ เรียกว่า ขั้วใต้ (S)
  2. ขั้วแม่เหล็กทั้งขั้วเหนือและขั้วใต้จะดูดสารแม่เหล็กเสมอ
  3. เมื่อนำแม่เหล็ก 2 อันมาอยู่ใกล้กัน ขั้วเหมือนกันจะผลักกัน และขั้วต่างกันจะดูดกัน
  4. แรงดูดจะมีมากที่สุดที่บริเวณขั้วทั้งสองของแม่เหล็กและลดน้อยลงเมื่อถัดเข้ามา
  5. เส้นแรงแม่เหล็กมีทิศทางออกจากขั้วเหนือไปยังขั้วใต้ ทั้งสามมิติ
  6. สนามแม่เหล็กหมายถึงบริเวณที่แม่เหล็กส่งแรงไปถึง

การประดิษฐ์แม่เหล็ก

  1. แท่งแม่เหล็กโดยการถู วางแท่งแม่เหล็กบนโต๊ะแล้วใช้แท่งแม่เหล็กถูลากจากปลายหนึ่งไปยังอีกข้างหนึ่งแล้วยกขึ้นนำกลับมาวางที่ปลายตั้งต้น ทำซ้ำหลาย ๆ ครั้ง จนกระทั่งแท่งเหล็กกลายเป็นแม่เหล็ก สังเกตลักษณะของเหล็ก
  • ถ้าเหล็กเป็นเหล็กอ่อน (iron) จะได้แม่เหล็กชั่วคราว
  • ถ้าเหล็กเป็นเหล็กกล้า (steel) จะได้แม่เหล็กถาวร

ซึ่งแม่เหล็กจะหมดอำนาจเมื่อถูกนำไปเผาหรือทุบด้วยค้อนหลาย ๆ ครั้ง

  1. เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวดสามารถแสดงอำนาจเป็นแม่เหล็กเกิดขึ้นได้และอำนาจจะหมดเมื่อหยุดปล่อยกระแสไฟฟ้า

การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าในสนามแม่เหล็ก

เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า q เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก B ⃑ ด้วยความเร็ว v ⃑ ทำมุมใด ๆ ที่ไม่ขนานกับสนามแม่เหล็กจะมีแรงกระทำต่ออนุภาคดังสมการ F ⃑= q (V ⃑×B ⃑) โดยทิศทางสามารถหาได้จาก กฎมือขวา (right hand rule) และเมื่อนำลวดตัวนำที่มีฉนวนหุ้มมาขดเป็นวงกลมหลาย ๆ วงเรียงซ้อนกัน เป็นรูปทรงกระบอก เรียกว่า โซเลนอยด์ (solenoid)

กระแสไฟฟ้าทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก

เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนำจะเกิดสนามแม่เหล็กรอบลวดตัวนำในลักษณะดังนี้

  1. .กระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนำตรง จะเกิดสนามแม่เหล็กรอบลวดตัวนำ หาทิศทางของสนามแม่เหล็กได้จาก กฎมือขวาโดยการกำมือรอบลวดตัวนำตรง และให้นิ้วหัวแม่มือชี้ไปทางทิศทางของกระแสไฟฟ้า ทิศการวนตามการชี้ของนิ้วทั้งสี่จะชี้ทิศทางของสนามแม่เหล็ก
  2. เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านโซเลนอยด์ (รวมทั้งลวดตัวนำวงกลม) จะเกิดสนามแม่เหล็กที่มีลักษณะคล้ายกับสนามแม่เหล็กของแท่งแม่เหล็ก การหาทิศทางยังคงใช้กฎมือขวาโดยวิธีกำมือขวาให้นิ้วทั้งสี่ชี้ไปตามทิศทางของกระแสไฟฟ้านิ้วหัวแม่มือจะชี้ทิศทางของสนามแม่เหล็ก
  3. กระแสไฟฟ้าผ่านทอรอยด์ จะเกิดสนามแม่เหล็กภายในทอรอยด์ การหาทิศทางใช้วิธีกำมือขวารอบแกนทอรอยด์ให้นิ้วทั้งสี่วนไปตามทิศทางของกระแสไฟฟ้า นิ้วหัวแม้มือจะชี้ทิศทางของสนามแม่เหล็ก

แรงแม่เหล็กกระทำต่อลวดตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้า

เมื่อลวดตัวนำตรงยาว l ที่มีกระแสไฟฟ้า I ผ่านขณะวางตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก B ⃑ จะเกิดแรงกระทำด้วยขนาด F=IlB โดยทิศทางของแรงหาได้จากการกำมือขวาโดยวนนิ้วทั้งสี่ (ผ่านมุมเล็ก) จากทิศทางของกระแสไฟฟ้าไปหาทิศทางของสนามแม่เหล็กนิ้วหัวแม่มือจะชี้ทิศทางของแรง ส่วนในกรณีลวดตัวนำวางในทิศทางกระแสไฟฟ้าที่ทำมุมθกับสนามแม่เหล็กB ⃑ ขนาดของแรงจะเป็น F=IlBsin⁡θ โดยยังคงใช้กฎมือขวาหาทิศทางของแรงได้เช่นกัน แรงแม่เหล็กระหว่างลวดตัวนำสองเส้นที่ขนานกันและมีกระแสไฟฟ้าผ่าน ลวดตัวนำสองเส้นที่ขนานกันและมีกระแสไฟฟ้าผ่าน จะมีแรงกระทำระหว่างลวดตัวนำทั้งสองโดยจะเป็นแรงดึงดูดถ้ากระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำทั้งสองมีทิศทางเดียวกัน แต่จะเป็นแรงผลัก ถ้ากระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำทั้งสองมีทิศทางตรงข้ามกัน

แกลแวนอมิเตอร์และมอเตอร์กระแสตรง

แกลแวนอมิเตอร์เป็นเครื่องมือวัดไฟฟ้าประกอบด้วยขดลวดทองแดงเคลือบน้ำยาที่หมุนรอบแกน มีลักษณะเป็นขดลวดสี่เหลี่ยมมีแกนหมุนที่หมุนได้คล่องซึ่งจะใช้วัตถุที่มีความแข็งมาก เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดจะเกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบบิดขดลวดให้หมุนไป ทำให้เข็มชี้ (ตัดกับแกนหมุนของขดลวด) เบนตามไปด้วย มุมเบนของเข็มชี้แปรผันตรงกับขนาดของกระแสไฟฟ้าที่ผ่านขดลวด การสร้างสเกลเพื่ออ่านกระแสไฟฟ้าทำได้โดยผ่านกระแสไฟฟ้าขนาดต่าง ๆ มอเตอร์กระแสตรง เป็นอุปกรณ์เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล ประกอบด้วยขดลวดที่หมุนได้รอบแกนวางอยู่ในสนามแม่เหล็ก มีคอมมิวเทเตอร์และแปรงสัมผัสช่วยให้ขดลวดหมุนอย่างต่อเนื่องในทิศทางเดียวเมื่อมีกระแสจากแบตเตอรี่ผ่านเข้าขดลวด

กระแสเหนี่ยวนำและแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ

กระแสไฟฟ้าในขดลวดตัวนำเกิดจากการที่มีการเปลี่ยนแปลงฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านขดลวดตัวนำเรียกการทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าลักษณะนี้ว่า การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า (eletro magnetic induction) และเรียกกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากวิธีนี้ว่า กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ (inducedcurrent) ปลายทั้งสองของเส้นลวดตัวนำมีความต่างศักย์ ดังนั้นถ้าต่อเส้นลวดตัวนำนี้ให้ครบวงจร ก็จะมีกระแสไฟฟ้าในวงจร แสดงว่าปลายทั้งสองของเส้นลวดตัวนำทำหน้าที่ เสมือนเป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้า แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่เกิดขึ้นนี้เรียกว่า แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ (induced electromotive force) หรือ อีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำ (induced emf) กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ สรุปได้ว่า แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่เกิดขึ้นในขดลวดเป็นสัดส่วนกับอัตราการเปลี่ยนแปลงฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านขดลวดนั้นเมื่อเทียบกับเวลา กฎของเลนซ์มีใจความว่า แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ในขดลวดจะทำให้เกิดกระแสเหนี่ยวนำในทิศทางที่ทำให้เกิดฟลักซ์แม่เหล็กใหม่ขึ้นมาต้านการเปลี่ยนแปลง ของฟลักซ์แม่เหล็กที่ตัดผ่านขดลวดนั้น

แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำในมอเตอร์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

มอเตอร์ขณะหมุนจะมีฟลักซ์แม่เหล็กเปลี่ยนแปลงผ่านขดลวด ทำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำมีทิศทางตรงข้ามกับแรงเคลื่อนไฟฟ้าเดิม เรียกว่า แรงเคลื่อนไฟฟ้าต้านกลับ ในกรณีมอเตอร์ติดขัดหรือหมุนช้ากว่าปกติแรงเคลื่อนไฟฟ้าต้านกลับจะมีค่าน้อยทำให้กระแสไฟฟ้าในขดลวดมีค่ามาก อาจทำให้ขดลวดร้อนจนไหม้ได้ จึงจำเป็นต้องตัดสวิตซ์เพื่อหยุดการทำงานของมอเตอร์ทุกครั้งที่แรงเคลื่อนไฟฟ้าต้านกลับมีค่าน้อย

ค่าของปริมาณที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้ากระแสสลับ

เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับให้แรงเคลื่อนไฟฟ้าเปลี่ยนค่าตามเวลาในรูปฟังก์ชันไซน์ดังสมการ

e = E_m sin⁡ωt

เมื่อ e เป็นแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่เวลา t ใด ๆ Em เป็นแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำสูงสุด ω เป็นความถี่เชิงมุมซึ่งมีค่าเท่ากับ 2πf (โดย f เป็นความถี่ในการเปลี่ยนค่าซ้ำเดิมของแรงเคลื่อนไฟฟ้า)

การนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าและแม่เหล็กไปใช้ประโยชน์

ความรู้ทางไฟฟ้าและแม่เหล็กถูกนำไปใช้ในการสร้างและพัฒนาเครื่องมือเครื่องใช้ด้านต่าง ๆ เช่น ไมโครโฟน ลำโพง แผ่นบันทึกข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ฯลฯ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. [1], พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒
  2. แม่เหล็กและแม่เหล็กโลก

แหล่งข้อมูลอื่น

แม, เหล, เป, นแร, หร, อโลหะท, สมบ, ดเหล, กได, ในประว, ศาสตร, พบว, สาร, magnesian, stone, นแมกแนเซ, ยน, เป, นว, ตถ, ดเหล, กได, มาจากภาษากร, μαγνήτις, λίθος, magnḗtis, líthos, สามารถทำให, เก, ดสนามได, นค, อม, นสามารถส, งแรงด, ดหร, อแรงผล, ออกไปรอบ, วม, นได, แม, . aemehlk epnaerhruxolhathimismbtidudehlkid 1 inprawtisastr phbwa sar Magnesian stone hinaemkaenesiyn epnwtthuthidudehlkid aemehlk macakphasakrik magnhtis li8os magnḗtis lithos aemehlksamarththaihekidsnamaemehlkid nnkhuxmnsamarthsngaerngdudhruxaerngphlk xxkiprxb twmnid aemwasnamaemehlkcaepnsingthiimsamarthmxngehnidaetmnepnekiywkhxngkbkhunsmbtisakhykhxngaemehlkodytrng idaek khunsmbtikardudaelakarphlkknrahwangaethngaemehlk erasamarthsrangaemehlkkhunmaid withiaerkkhux naehlkmathukbaemehlk withithisxngkhux pxnkraaesiffaekhaipinkhdlwdthiphnrxbehlk aerngehniywnainkhdlwdthaihehlknnklayepnaemehlkchwkhraw aelathaihekid snamaemehlkrxb ehlknn 2 eraeriykaemehlkaebbniwa aemehlkiffa pccubn misarxunthithaihepnaemehlkid echn niekil okhbxl aemngkanisaemehlkrupekuxkma thaihaemehlkmiaerngdudmakkhun rupaesdngesnaerngaemehlkcakkhwehnuxipkhwit briewnthiaerngnisngipthung eriykwasnamaemehlk rupaesdngkareriyngtwkhxngphngtaibehlkinsnamaemehlk enuxha 1 khunsmbtikhxngaemehlk 2 karpradisthaemehlk 3 karekhluxnthikhxngxnuphakhthimipracuiffainsnamaemehlk 4 kraaesiffathaihekidsnamaemehlk 5 aerngaemehlkkrathatxlwdtwnathimikraaesiffa 6 aeklaewnxmietxraelamxetxrkraaestrng 7 kraaesehniywnaaelaaerngekhluxniffaehniywna 8 aerngekhluxniffaehniywnainmxetxraelaekhruxngkaenidiffa 8 1 karnakhwamruekiywkbiffaaelaaemehlkipichpraoychn 9 duephim 10 xangxing 11 aehlngkhxmulxunkhunsmbtikhxngaemehlk aekikhaemehlkmi 2 khwesmx khwehnuxaelakhwit thaaekhwnaethngaemehlkihekhluxnthixyangxisra emuxhyudning khwthichiipthangthisehnux eriykwa khwehnux N khwthichiipthangthisit eriykwa khwit S khwaemehlkthngkhwehnuxaelakhwitcadudsaraemehlkesmx emuxnaaemehlk 2 xnmaxyuiklkn khwehmuxnkncaphlkkn aelakhwtangkncadudkn aerngdudcamimakthisudthibriewnkhwthngsxngkhxngaemehlkaelaldnxylngemuxthdekhama esnaerngaemehlkmithisthangxxkcakkhwehnuxipyngkhwit thngsammiti snamaemehlkhmaythungbriewnthiaemehlksngaerngipthungkarpradisthaemehlk aekikhaethngaemehlkodykarthu wangaethngaemehlkbnotaaelwichaethngaemehlkthulakcakplayhnungipyngxikkhanghnungaelwykkhunnaklbmawangthiplaytngtn thasahlay khrng cnkrathngaethngehlkklayepnaemehlk sngektlksnakhxngehlkthaehlkepnehlkxxn iron caidaemehlkchwkhraw thaehlkepnehlkkla steel caidaemehlkthawrsungaemehlkcahmdxanacemuxthuknaipephahruxthubdwykhxnhlay khrng emuxplxykraaesiffaekhaipinkhdlwdsamarthaesdngxanacepnaemehlkekidkhunidaelaxanaccahmdemuxhyudplxykraaesiffakarekhluxnthikhxngxnuphakhthimipracuiffainsnamaemehlk aekikhemuxxnuphakhthimipracuiffa q ekhluxnthiinsnamaemehlk B dwykhwamerw v thamumid thiimkhnankbsnamaemehlkcamiaerngkrathatxxnuphakhdngsmkar F q V B odythisthangsamarthhaidcak kdmuxkhwa right hand rule aelaemuxnalwdtwnathimichnwnhummakhdepnwngklmhlay wngeriyngsxnkn epnrupthrngkrabxk eriykwa oselnxyd solenoid kraaesiffathaihekidsnamaemehlk aekikhemuxkraaesiffaphanlwdtwnacaekidsnamaemehlkrxblwdtwnainlksnadngni kraaesiffaphanlwdtwnatrng caekidsnamaemehlkrxblwdtwna hathisthangkhxngsnamaemehlkidcak kdmuxkhwaodykarkamuxrxblwdtwnatrng aelaihniwhwaemmuxchiipthangthisthangkhxngkraaesiffa thiskarwntamkarchikhxngniwthngsicachithisthangkhxngsnamaemehlk emuxmikraaesiffaphanoselnxyd rwmthnglwdtwnawngklm caekidsnamaemehlkthimilksnakhlaykbsnamaemehlkkhxngaethngaemehlk karhathisthangyngkhngichkdmuxkhwaodywithikamuxkhwaihniwthngsichiiptamthisthangkhxngkraaesiffaniwhwaemmuxcachithisthangkhxngsnamaemehlk kraaesiffaphanthxrxyd caekidsnamaemehlkphayinthxrxyd karhathisthangichwithikamuxkhwarxbaeknthxrxydihniwthngsiwniptamthisthangkhxngkraaesiffa niwhwaemmuxcachithisthangkhxngsnamaemehlkaerngaemehlkkrathatxlwdtwnathimikraaesiffa aekikhemuxlwdtwnatrngyaw l thimikraaesiffa I phankhnawangtngchakkbsnamaemehlk B caekidaerngkrathadwykhnad F IlB odythisthangkhxngaernghaidcakkarkamuxkhwaodywnniwthngsi phanmumelk cakthisthangkhxngkraaesiffaiphathisthangkhxngsnamaemehlkniwhwaemmuxcachithisthangkhxngaerng swninkrnilwdtwnawanginthisthangkraaesiffathithamum8kbsnamaemehlkB khnadkhxngaerngcaepn F IlBsin 8 odyyngkhngichkdmuxkhwahathisthangkhxngaerngidechnkn aerngaemehlkrahwanglwdtwnasxngesnthikhnanknaelamikraaesiffaphan lwdtwnasxngesnthikhnanknaelamikraaesiffaphan camiaerngkratharahwanglwdtwnathngsxngodycaepnaerngdungdudthakraaesiffainlwdtwnathngsxngmithisthangediywkn aetcaepnaerngphlk thakraaesiffainlwdtwnathngsxngmithisthangtrngkhamknaeklaewnxmietxraelamxetxrkraaestrng aekikhaeklaewnxmietxrepnekhruxngmuxwdiffaprakxbdwykhdlwdthxngaedngekhluxbnayathihmunrxbaekn milksnaepnkhdlwdsiehliymmiaeknhmunthihmunidkhlxngsungcaichwtthuthimikhwamaekhngmak emuxmikraaesiffaphankhdlwdcaekidomemntkhxngaerngkhukhwbbidkhdlwdihhmunip thaihekhmchi tdkbaeknhmunkhxngkhdlwd ebntamipdwy mumebnkhxngekhmchiaeprphntrngkbkhnadkhxngkraaesiffathiphankhdlwd karsrangseklephuxxankraaesiffathaidodyphankraaesiffakhnadtang mxetxrkraaestrng epnxupkrnepliynphlngnganiffaepnphlngngankl prakxbdwykhdlwdthihmunidrxbaeknwangxyuinsnamaemehlk mikhxmmiwethetxraelaaeprngsmphschwyihkhdlwdhmunxyangtxenuxnginthisthangediywemuxmikraaescakaebtetxriphanekhakhdlwdkraaesehniywnaaelaaerngekhluxniffaehniywna aekikhkraaesiffainkhdlwdtwnaekidcakkarthimikarepliynaeplngflksaemehlkthiphankhdlwdtwnaeriykkarthaihekidkraaesiffalksnaniwa karehniywnaaemehlkiffa eletro magnetic induction aelaeriykkraaesiffathiekidcakwithiniwa kraaesiffaehniywna inducedcurrent playthngsxngkhxngesnlwdtwnamikhwamtangsky dngnnthatxesnlwdtwnaniihkhrbwngcr kcamikraaesiffainwngcr aesdngwaplaythngsxngkhxngesnlwdtwnathahnathi esmuxnepnaehlngkaenidiffa aerngekhluxniffathiekidkhunnieriykwa aerngekhluxniffaehniywna induced electromotive force hrux xiexmexfehniywna induced emf kdkarehniywnakhxngfaraedy srupidwa aerngekhluxniffaehniywnathiekidkhuninkhdlwdepnsdswnkbxtrakarepliynaeplngflksaemehlkthiphankhdlwdnnemuxethiybkbewla kdkhxngelnsmiickhwamwa aerngekhluxniffaehniywna inkhdlwdcathaihekidkraaesehniywnainthisthangthithaihekidflksaemehlkihmkhunmatankarepliynaeplng khxngflksaemehlkthitdphankhdlwdnnaerngekhluxniffaehniywnainmxetxraelaekhruxngkaenidiffa aekikhmxetxrkhnahmuncamiflksaemehlkepliynaeplngphankhdlwd thaihekidaerngekhluxniffaehniywnamithisthangtrngkhamkbaerngekhluxniffaedim eriykwa aerngekhluxniffatanklb inkrnimxetxrtidkhdhruxhmunchakwapktiaerngekhluxniffatanklbcamikhanxythaihkraaesiffainkhdlwdmikhamak xacthaihkhdlwdrxncnihmid cungcaepntxngtdswitsephuxhyudkarthangankhxngmxetxrthukkhrngthiaerngekhluxniffatanklbmikhanxykhakhxngprimanthiekiywkhxngkbiffakraaesslbekhruxngkaenidiffakraaesslbihaerngekhluxniffaepliynkhatamewlainrupfngkchnisndngsmkare E m sin wtemux e epnaerngekhluxniffaehniywnathiewla t id Em epnaerngekhluxniffaehniywnasungsud w epnkhwamthiechingmumsungmikhaethakb 2pf ody f epnkhwamthiinkarepliynkhasaedimkhxngaerngekhluxniffa karnakhwamruekiywkbiffaaelaaemehlkipichpraoychn aekikh khwamruthangiffaaelaaemehlkthuknaipichinkarsrangaelaphthnaekhruxngmuxekhruxngichdantang echn imokhrofn laophng aephnbnthukkhxmulkhxngkhxmphiwetxr lduephim aekikhaemehlkiffa aemehlkthisrangsnamaemehlkcakkraaesiffaxangxing aekikh 1 phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2542 aemehlkaelaaemehlkolkaehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb aemehlkAbout Magnets http www il mahidol ac th e media electromagnetism sub lesson 8 2 htm bthkhwamekiywkbwithyasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy withyasastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title aemehlk amp oldid 9030344, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม