fbpx
วิกิพีเดีย

โฟตอน

โฟตอน (อังกฤษ: Photon) หรือ อนุภาคของแสง เป็นการพิจารณาแสงในลักษณะของอนุภาค เนื่องจากในทางฟิสิกส์นั้น คลื่นสามารถประพฤติตัวเหมือนอนุภาคเมื่ออยู่ในสภาวะใดสภาวะหนึ่ง ซึ่งในทางตรงกันข้ามอนุภาคก็แสดงสมบัติของคลื่นได้เช่นกัน เรียกว่าเป็นคุณสมบัติทวิภาคของคลื่น-อนุภาค (อังกฤษ: wave–particle duality) ดังนั้นเมื่อพิจารณาแสงหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในลักษณะอนุภาค อนุภาคนั้นถูกเรียกว่า โฟตอน

ทั้งนี้การพิจารณาดังกล่าวเกิดจากการศึกษาปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่โลหะปลดปล่อยอิเล็กตรอนออกมาเมื่อถูกฉายด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อย่างเช่น รังสีเอกซ์ (X-ray) อิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมาถูกเรียกว่า โฟโตอิเล็กตรอน (photoelectron) ปรากฏการณ์ดังกล่าวถูกเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Hertz Effect ตามชื่อของผู้ค้นพบ คือ นาย ไฮน์ริช เฮิร์ตซ์

โฟตอนมีปฏิยานุภาค คือ ปฏิโฟตอน (อังกฤษ: Anti-Photon) ซึ่งมีสปินเหมือนอนุภาคต้นแบบทุกประการ โฟตอนจึงเป็นปฏิยานุภาคของตัวมันเอง

คุณสมบัติทางกายภาพ

 
ทรงกรวยแสดงค่าเป็นไปได้ของคลื่น 4 เวกเตอร์ของโฟตอน สีเขียวและสีครามเป็นตัวแทนของการโพลาไรซ์ด้านซ้ายและขวา

โฟตอนปราศจากมวล, ไม่มีประจุไฟฟ้า และเสถียร โฟตอนมีสถานะโพลาไรซ์ที่เป็นไปได้สองสถานะและอธิบายได้โดยตัวแปรที่มีความต่อเนื่องสามตัว: เป็นส่วนประกอบของเวกเตอร์คลื่นซึ่งกำหนดความยาวคลื่น λ และทิศทางของการแพร่กระจายของมัน โฟตอนคือเกจโบซอนสำหรับแรงแม่เหล็กไฟฟ้า และดังนั้นจำนวนควอนตัมอื่น ๆ ทั้งหมดของโฟตอน (เช่นจำนวนเลปตอน (lepton number), จำนวนแบริออน (baryon number) และจำนวนเฟลเวอร์ควอนตัม (flavour quantum numbers)) จึงเป็นศูนย์

โฟตอนจะถูกปลดปล่อยออกมาในกระบวนการทางธรรมชาติมากมาย

หมายเหตุ

  1. มวลของโฟตอนเชื่อว่าจะเป็นศูนย์อย่างชัดเจนตามที่มีการทดลองและการพืจารณาทางทฤษฎีที่ได้อธิบายไว้ในบทความนี้ บางแหล่งข้อมูลยังกล่าวถึงหลักการ มวลเคลื่อนที่สัมพันธ์ ซึ่งเป็นแค่พลังงานที่มีขนาดเป็นหน่วยของมวล สำหรับโฟตอนที่มีความยาวคลื่น λ หรือพลังงาน E นี่เป็น h/λc หรือ E/c2 ค่านี้สำหรับ "มวล" ไม่ถูกใช้กันทั่วไปในด้านวิทยาศาสตร์อีกต่อไป ข้อมูลเพิ่มเติม: What is the mass of a photon? http://math.ucr.edu/home/baez/physics/ParticleAndNuclear/photon_mass.html

อ้างอิง

  1. Kobychev, V.V. (2005). "Constraints on the photon charge from observations of extragalactic sources". Astronomy Letters. 31 (3): 147–151. arXiv:hep-ph/0411398. Bibcode:2005AstL...31..147K. doi:10.1134/1.1883345. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)

โฟตอน, งกฤษ, photon, หร, อน, ภาคของแสง, เป, นการพ, จารณาแสงในล, กษณะของอน, ภาค, เน, องจากในทางฟ, กส, คล, นสามารถประพฤต, วเหม, อนอน, ภาคเม, ออย, ในสภาวะใดสภาวะหน, งในทางตรงก, นข, ามอน, ภาคก, แสดงสมบ, ของคล, นได, เช, นก, เร, ยกว, าเป, นค, ณสมบ, ทว, ภาคของคล, อน,. oftxn xngkvs Photon hrux xnuphakhkhxngaesng epnkarphicarnaaesnginlksnakhxngxnuphakh enuxngcakinthangfisiksnn khlunsamarthpraphvtitwehmuxnxnuphakhemuxxyuinsphawaidsphawahnung sunginthangtrngknkhamxnuphakhkaesdngsmbtikhxngkhlunidechnkn eriykwaepnkhunsmbtithwiphakhkhxngkhlun xnuphakh xngkvs wave particle duality dngnnemuxphicarnaaesnghruxkhlunaemehlkiffainlksnaxnuphakh xnuphakhnnthukeriykwa oftxnthngnikarphicarnadngklawekidcakkarsuksapraktkarnofotxielkthrik sungepnpraktkarnthiolhapldplxyxielktrxnxxkmaemuxthukchaydwykhlunaemehlkiffa xyangechn rngsiexks X ray xielktrxnthithukplxyxxkmathukeriykwa ofotxielktrxn photoelectron praktkarndngklawthukeriykxikxyanghnungwa Hertz Effect tamchuxkhxngphukhnphb khux nay ihnrich ehirtsoftxnmiptiyanuphakh khux ptioftxn xngkvs Anti Photon sungmispinehmuxnxnuphakhtnaebbthukprakar oftxncungepnptiyanuphakhkhxngtwmnexngkhunsmbtithangkayphaph aekikh thrngkrwyaesdngkhaepnipidkhxngkhlun 4 ewketxrkhxngoftxn siekhiywaelasikhramepntwaethnkhxngkarophlairsdansayaelakhwa oftxnprascakmwl Note 1 immipracuiffa 1 aelaesthiyr oftxnmisthanaophlairsthiepnipidsxngsthanaaelaxthibayidodytwaeprthimikhwamtxenuxngsamtw epnswnprakxbkhxngewketxrkhlunsungkahndkhwamyawkhlun l aelathisthangkhxngkaraephrkracaykhxngmn oftxnkhuxekcobsxnsahrbaerngaemehlkiffa aeladngnncanwnkhwxntmxun thnghmdkhxngoftxn echncanwnelptxn lepton number canwnaebrixxn baryon number aelacanwneflewxrkhwxntm flavour quantum numbers cungepnsunyoftxncathukpldplxyxxkmainkrabwnkarthangthrrmchatimakmayhmayehtu aekikh mwlkhxngoftxnechuxwacaepnsunyxyangchdecntamthimikarthdlxngaelakarphucarnathangthvsdithiidxthibayiwinbthkhwamni bangaehlngkhxmulyngklawthunghlkkar mwlekhluxnthismphnth sungepnaekhphlngnganthimikhnadepnhnwykhxngmwl sahrboftxnthimikhwamyawkhlun l hruxphlngngan E niepn h lc hrux E c2 khanisahrb mwl imthukichknthwipindanwithyasastrxiktxip khxmulephimetim What is the mass of a photon http math ucr edu home baez physics ParticleAndNuclear photon mass htmlxangxing aekikh Kobychev V V 2005 Constraints on the photon charge from observations of extragalactic sources Astronomy Letters 31 3 147 151 arXiv hep ph 0411398 Bibcode 2005AstL 31 147K doi 10 1134 1 1883345 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help bthkhwamekiywkbfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy fisiksekhathungcak https th wikipedia org w index php title oftxn amp oldid 8896593, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม