fbpx
วิกิพีเดีย

โมเมนตัม

โมเมนตัม หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งมีค่าเท่ากับผลคูณระหว่างมวลและความเร็วของวัตถุ มวลเป็นปริมาณสเกลาร์ แต่ความเร็วเป็นปริมาณเวกเตอร์ เมื่อนำปริมาณทั้งสองเข้าคูณด้วยกัน ถือว่าปริมาณใหม่เป็นปริมาณเวกเตอร์เสมอ ฉะนั้นโมเมนตัมจึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ คือมีทั้งขนาดและทิศทาง

โมเมนตัมในกลศาสตร์ดั้งเดิม

ถ้าวัตถุเคลื่อนที่อยู่ในกรอบอ้างอิงใด ๆ ก็ตาม วัตถุนั้นจะมีโมเมนตัมอยู่ในกรอบอ้างอิงนั้น ๆ ค่าของโมเมนตัมของวัตถุจะขึ้นอยู่กับสองตัวแปร คือมวลกับความเร็วดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ความสัมพันธ์ของตัวแปรทั้งสองเขียนได้เป็น:

โมเมนตัม = มวล × ความเร็ว

ในวิชาฟิสิกส์ สัญลักษณ์ของโมเมนตัมคือตัวอักษร p ดังนั้นอาจเขียนสมการข้างบนใหม่ได้เป็น:

 

โดยที่ m แทนมวล และ v แทนความเร็ว หน่วยเอสไอของโมเมนตัม คือ กิโลกรัม เมตรต่อวินาที (kg m/s) ความเร็วของวัตถุจะให้ทั้งขนาด (อัตราเร็ว) และทิศทาง โมเมนตัมของวัตถุขึ้นอยู่กับความเร็ว จึงทำให้เป็นปริมาณเวกเตอร์

การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของวัตถุ เราเรียกว่า การดล ซึ่งหาได้จาก มวล × การเปลี่ยนแปลงความเร็ว หรือ แรงที่กระทำต่อวัตถุ × เวลาที่แรงนั้นกระทำ

 
ก็จะได้ว่า Mometum (kg.m/s) = mass(kg) x velocity(m/s) หรือ Momentum = มวลของวัตถุ x ความเร็วของวัตถุ

กฎการอนุรักษ์โมเมนตัม และการชน

กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมมีใจความว่า "ถ้าไม่มีแรงภายนอกกระทำต่อระบบแล้วโมเมนตัมของระบบจะมีค่าคงตัว" ในกรณีวัตถุสองก้อนขึ้นไปเคลื่อนที่มาชนกัน หรือเคลื่อนที่แยกจากกัน กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมก็ยังคงเป็นจริงเสมอ อาจเขียนเป็นลักษณะสมการได้ว่า ผลรวมโมเมนตัมของวัตถุก่อนชนเท่ากับผลรวมโมเมนตัมของวัตถุหลังชน กล่าวคือ เมื่ออยู่ในระบบปิด คือ ไม่มีการแลกเปลี่ยนพลังงานระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งก็คือโมเมนตัมจะถูกอนุรักษ์อยู่เสมอ (ไม่เพิ่มขึ้น และในขณะเดียวกันก็ไม่ลดหายไป) แม้แต่ในการชน พลังงานจลน์นั้นจะไม่ถูกอนุรักษ์ในการชน ถ้าการชนนั้นเป็นการชนแบบไม่ยืดหยุ่น เนื่องจากการคงตัวของโมเมนตัมที่กล่าวมาแล้ว จึงทำให้สามารถนำไปคำนวณความเร็วที่ไม่ทราบค่าภายหลังการชนได้

ปัญหาในวิชาฟิสิกส์ที่จะต้องใช้ความจริงที่กล่าวมานี้ ก็คือการชนกันของสองอนุภาค โดยผลรวมของโมเมนตัมก่อนการชนจะต้องเท่ากับผลรวมของโมเมนตัมหลังการชนเสมอ

 

โดยที่ตัวห้อย i แสดงถึงก่อนการชน และตัวห้อย f แสดงถึงหลังการชน

โดยปกติ เราจะทราบเพียงความเร็วก่อนการชน หรือหลังการชน ไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่ง และต้องการที่จะทราบความเร็วอีกตัวหนึ่ง การแก้ไขปัญหานี้อย่างถูกต้องจะทำให้เราทราบว่าการชนนั้นเป็นอย่างไร การชนนั้นมีสองประเภท ดังต่อไปนี้

  • การชนแบบยืดหยุ่น เป็นการชนที่อนุรักษ์พลังงาน
  • การชนแบบไม่ยืดหยุ่นเป็นการชนที่ไม่อนุรักษ์พลังงาน

การชนทั้งสองประเภทที่ได้กล่าวมานี้ เป็นการชนที่อนุรักษ์โมเมนตัมทั้งหมด

การชนแบบยืดหยุ่น

การชนกันของลูกสนุ้กเกอร์สองลูก เป็นตัวอย่างหนึ่งของการชนแบบยืดหยุ่น นอกเหนือจากที่โมเมนตัมรวมกันก่อนชนต้องเท่ากับโมเมนตัมรวมกันหลังชนแล้ว ผลรวมของพลังงานจลน์ก่อนการชนจะต้องเท่ากับผลรวมของพลังงานจลน์หลังการชนด้วย

 

เนื่องจากตัวประกอบ 1/2 มีอยู่แล้วทุก ๆ พจน์ จึงสามารถนำออกไปได้เป็น

 
การชนแบบพุ่งตรง (การชนในหนึ่งมิติ)
 
Elastic collision of equal masses
 
Elastic collision of unequal masses

พิจารณาการชนกันของวัตถุ 2 วัตถุ กำหนดให้ วัตถุหนึ่งมีมวล   เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว   เข้าชนวัตถุมวล   ซึ่งกำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว   และหลังชนวัตถุทั้งสองมีความเร็วเป็น   และ   ตามลำดับ

ในกรณีที่วัตถุพุ่งเข้าชนกันแบบเต็ม ๆ เป็นทางตรง เราสามารถหาความเร็วหลังการชนได้เป็น

 


 

ถ้ามวลของวัตถุทั้งสองเท่ากัน (m1 = m2) จะได้ความเร็วหลังชนของวัตถุทั้งสองเป็น   และ   ซึ่งหมายความว่าวัตถุมีการแลกเปลี่ยนความเร็วกัน

ถ้าให้วัตถุที่สองหยุดนิ่ง จะได้   สมการความเร็วหลังชนจะกลายเป็น

 


 

ถ้ามวลของวัตถุที่หนึ่งมากกว่ามวลของวัตถุที่สอง และวัตถุที่สองหยุดนิ่ง เราจะเห็นว่า หลังการชน วัตถุทั้งสองจะเคลื่อนที่ไปในทิศเดียวกัน แต่วัตถุที่หนึ่งมีความเร็วลดลง ถ้ามวลของวัตถุที่สองมากกว่ามวลของวัตถุที่หนึ่ง และวัตถุที่สองหยุดนิ่ง เราจะเห็นว่า หลังการชน วัตถุที่หนึ่งจะกระเด็นกลับ ส่วนวัตถุที่สองจะเคลื่อนที่ไปในทิศเดียวกับวัตถุที่หนึ่งก่อนชน

จากสมการพลังงานจลน์สามารถเขียนใหม่ได้เป็น

 

แยกตัวประกอบของทั้งสองข้างของสมการนี้จะได้

 

และแยกเทอมที่เป็นตัวประกอบร่วมของสมการโมเมนตัม จะได้

 

จากสองสมการข้างต้นจะได้

 

เราจะได้สมการความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วก่อนชนและหลังชนของวัตถุทั้งสองเป็น

 

แสดงว่าอัตราเร็วสัมพันธ์ของวัตถุทั้งสองก่อนการชน   มีค่าเท่ากับค่าลบของอัตราเร็วสัมพันธ์ของวัตถุทั้งสองหลังการชน  

ตัวอย่าง ก่อนชน ลูกบอลลูกที่หนึ่งมวล 3 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 4 m/s เข้าชนลูกบอลมวล 5 kg เคลื่อนที่กำลังด้วยความเร็ว 6 m/s ในทิศตรงข้ามกับลูกบอลลูกที่หนึ่ง หลังชน ลูกบอลลูกที่หนึ่งกระเด็นกลับด้วยความเร็ว 8.5 m/s ลูกบอลลูกที่สองกระเด็นกลับด้วยความเร็ว 1.5 m/s

การชนแบบไม่ยืดหยุ่น

ตัวอย่างที่พบเห็นได้ของการชนแบบไม่ยืดหยุ่น คือการที่วัตถุชนแล้วติดกัน (ไถลไปด้วยกัน) สมการต่อไปนี้จะแสดงการอนุรักษ์โมเมนตัม

เมื่อชนแล้ววัตถุจะติดกันไปโมเมนตัมก่อนชน = หลังชน ส่วนพลังงานจลน์ไม่เท่ากัน เช่น รถยนต์ชนกัน

 
 การเคลื่อนที่ของจุดศูนย์กลางมวล
เมื่อวัตถุคู่หนึ่งวิ่งเข้าหากัน หรือวิ่งออกจากกันจุดศูนย์กลางของมวลของวัตถุคู่นั้นย่อมมีการเคลื่อนที่ไปด้วย การศึกษาการชนกันของวัตถุอาจพิจารณาถึงจุดศูนย์กลางมวลได้เช่นกัน ความเร็วของจุดศูนย์กลางของมวลจะเป็นไปตามสมการ

การประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องโมเมนตัม

โมเมนตัมเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทิศทางตามทิศของความเร็ว มีหน่วยเป็น กิโลกรัม-เมตรต่อนาที (kg.m/s) เนื่องจากโมเมนตัมเป็นปริมาณเวกเตอร์ ดังนั้นโมเมนตัมสามารถแตกเข้าสู่แกน X และ Y ได้ และมีวิธีการรวมตามหลักของเวกเตอร์โดยทั่วไป จากความหมายของโมเมนตัมพบว่า ค่าของโมเมนตัมขึ้นอยู่กับมวลและความเร็ว ถ้าวัตถุกำลังเคลื่อนที่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วผลคือ โมเมนตัมก็จะมีการเปลี่ยนแปลงด้วย และสิ่งที่ทำให้ความเร็วของวัตถุเปลี่ยนแปลงคือแรง ดังนั้นแรงจึงเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้ความเร็วและโมเมนตัมของวัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลง หรืออาจกล่าวได้ว่า “แรงทำให้โมเมนตัมของวัตถุเปลี่ยนแปลง” 

การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม

ในกลศาสตร์ดั้งเดิม การดลจะเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของวัตถุ โดยการดลมีหน่วยและมิติเหมือนโมเมนตัมทุกประการ หน่วยเอสไอของการดลนั้นเหมือนกับหน่วยของโมเมนตัม (กิโลกรัม เมตร/วินาที) การดลสามารถคำนวณได้จากปริพันธ์ของแรงกับเวลา

 

โดยที่

I แทนการดล หน่วยเป็นกิโลกรัม เมตรต่อวินาที
F แทนแรง หน่วยเป็นนิวตัน
t เป็นเวลา หน่วยเป็นวินาที

หากมีแรงคงตัว การดลมักจะเขียนเป็น

 

โดยที่

  เป็นเวลาที่แรง F กระทำ

จากนิยามของแรง

 
 
 

ทำให้ได้ว่าการดลคือการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม

การชน

การชน ( Collision ) การชน หมายถึง การที่วัตถุหนึ่งกระทบกับอีกวัตถุหนึ่งในช่วงเวลาสั้นๆ ( การชนกันของรถ การ กระทบกันของลูกตุ้ม กับเสาเข็ม การตีเทนนิส ตีปิงปอง ตีกอล์ฟ การเตะลูกบอล )หรือในบางครั้งวัตถุอาจ ไม่ต้องกระทบกัน แต่มีแรงมากระทำต่อวัตถุแล้วให้ผลเหมือนกับการชน ( การระเบิดของวัตถุระเบิด การ ยิงปืน ) ในการชนของวัตถุโดยมากมักจะมีแรงภายนอกมากระทำต่อวัตถุ ซึ่งขนาดของแรงจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับลักษณะการชนของวัตถุ และในการชนอาจมีการสูญเสียค่าโมเมนตัมมากหรือน้อย หรือไม่สูญเสีย เลยก็ได้ 1. เมื่อโมเมนตัมของระบบมีค่าคงที่

เป็นการชนที่ขณะชนมีแรงภายนอกมากระทำน้อยมากๆ เมื่อ เทียบกับขนาดของแรงดลที่เกิดขึ้น หรือแรงภายนอกเป็นศูนย์ เช่น การชนกันของลูกบิดเลียด การชนของ รถยนต์ การยิงปืน เป็นต้น 

2. เมื่อโมเมนตัมของระบบไม่คงที่

เป็นการชนที่ขณะชนมีแรงภายนอกมากระทำมากกว่าแรงดลที่ เกิดกับวัตถุขณะชนกัน เช่นลูกบอลตกกระทบพื้น รถยนต์ชนกับต้นไม้ เป็นต้น ในที่นี้ เราจะกล่าวถึงการชนของวัตถุ เมื่อไม่มีแรงภายนอกมากระทำต่อระบบ ซึ่งจะเป็นผลให้ โมเมนตัมของระบบมีค่าคงที่ พิสูจน์ได้จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 3 ของนิวตัน เมื่อวัตถุชนกันจะเกิดแรงกระทำซึ่งกันและกันด้วยขนาดที่เท่ากันแต่ทิศตรงกันข้าม 

1. การชนแบบยืดหยุ่น เป็นการชนที่พลังงานจลน์ของระบบไม่เปลี่ยน พิจารณาการชนกันของวัตถุสองก้อน ที่มีความเร็วอยู่ในแนวผ่านจุดศูนย์กลางมวล  2. การชนแบบไม่ยืดหยุ่น เป็นการชนของวัตถุแล้วรูปร่างมีการเปลี่ยนแปลง หรือมีการเคลื่อนที่ติดกันไป พลังงานจลน์ไม่คงที่ พลังงานจลน์หลังชนมีค่าน้อยกว่าหลังงานจลน์ก่อนชนเพราะว่าพลังงานจลน์บางส่วนน าไปใช้ในการ เปลี่ยนรูปร่างวุตถุให้ยุบ, บุบ หรือเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานเสียง แต่โมเมนตัมรวมก่อนการชนเท่ากับหลังการ ชนวัตถุ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • Halliday, David (1960–2007). Fundamentals of Physics. John Wiley & Sons. Chapter 9. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)CS1 maint: date format (link)
  • Serway, Raymond; Jewett, John (2003). Physics for Scientists and Engineers (6 ed.). Brooks Cole. ISBN 0-534-40842-7
  • Stenger, Victor J. (2000). Timeless Reality: Symmetry, Simplicity, and Multiple Universes. Prometheus Books. Chpt. 12 in particular.
  • Tipler, Paul (1998). Physics for Scientists and Engineers: Vol. 1: Mechanics, Oscillations and Waves, Thermodynamics (4th ed.). W. H. Freeman. ISBN 1-57259-492-6
  • Hand, Louis N.; Finch, Janet D. Analytical Mechanics. Cambridge University Press. Chapter 4.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Conservation of momentum - A chapter from an online textbook

โมเมนต, หมายถ, ความสามารถในการเคล, อนท, ของว, ตถ, งม, าเท, าก, บผลค, ณระหว, างมวลและความเร, วของว, ตถ, มวลเป, นปร, มาณสเกลาร, แต, ความเร, วเป, นปร, มาณเวกเตอร, เม, อนำปร, มาณท, งสองเข, าค, ณด, วยก, อว, าปร, มาณใหม, เป, นปร, มาณเวกเตอร, เสมอ, ฉะน, นจ, งเป, นปร,. omemntm hmaythung khwamsamarthinkarekhluxnthikhxngwtthu sungmikhaethakbphlkhunrahwangmwlaelakhwamerwkhxngwtthu mwlepnprimanseklar aetkhwamerwepnprimanewketxr emuxnaprimanthngsxngekhakhundwykn thuxwaprimanihmepnprimanewketxresmx channomemntmcungepnprimanewketxr khuxmithngkhnadaelathisthangenuxha 1 omemntminklsastrdngedim 1 1 kdkarxnurksomemntm aelakarchn 1 1 1 karchnaebbyudhyun 1 1 1 1 karchnaebbphungtrng karchninhnungmiti 1 1 2 karchnaebbimyudhyun 2 karprayuktichkhwamrueruxngomemntm 3 karepliynaeplngomemntm 4 karchn 5 duephim 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunomemntminklsastrdngedim aekikhthawtthuekhluxnthixyuinkrxbxangxingid ktam wtthunncamiomemntmxyuinkrxbxangxingnn khakhxngomemntmkhxngwtthucakhunxyukbsxngtwaepr khuxmwlkbkhwamerwdngthiidklawmaaelw khwamsmphnthkhxngtwaeprthngsxngekhiynidepn omemntm mwl khwamerwinwichafisiks sylksnkhxngomemntmkhuxtwxksr p dngnnxacekhiynsmkarkhangbnihmidepn p m v displaystyle mathbf p m mathbf v odythi m aethnmwl aela v aethnkhwamerw hnwyexsixkhxngomemntm khux kiolkrm emtrtxwinathi kg m s khwamerwkhxngwtthucaihthngkhnad xtraerw aelathisthang omemntmkhxngwtthukhunxyukbkhwamerw cungthaihepnprimanewketxrkarepliynaeplngomemntmkhxngwtthu eraeriykwa kardl sunghaidcak mwl karepliynaeplngkhwamerw hrux aerngthikrathatxwtthu ewlathiaerngnnkratha m D v F D t displaystyle m Delta mathbf v mathbf F Delta t kcaidwa Mometum kg m s mass kg x velocity m s hrux Momentum mwlkhxngwtthu x khwamerwkhxngwtthukdkarxnurksomemntm aelakarchn aekikh kdkarxnurksomemntmmiickhwamwa thaimmiaerngphaynxkkrathatxrabbaelwomemntmkhxngrabbcamikhakhngtw inkrniwtthusxngkxnkhunipekhluxnthimachnkn hruxekhluxnthiaeykcakkn kdkarxnurksomemntmkyngkhngepncringesmx xacekhiynepnlksnasmkaridwa phlrwmomemntmkhxngwtthukxnchnethakbphlrwmomemntmkhxngwtthuhlngchn klawkhux emuxxyuinrabbpid khux immikaraelkepliynphlngnganrahwangrabbkbsingaewdlxm sungkkhuxomemntmcathukxnurksxyuesmx imephimkhun aelainkhnaediywknkimldhayip aemaetinkarchn phlngnganclnnncaimthukxnurksinkarchn thakarchnnnepnkarchnaebbimyudhyun enuxngcakkarkhngtwkhxngomemntmthiklawmaaelw cungthaihsamarthnaipkhanwnkhwamerwthiimthrabkhaphayhlngkarchnidpyhainwichafisiksthicatxngichkhwamcringthiklawmani kkhuxkarchnknkhxngsxngxnuphakh odyphlrwmkhxngomemntmkxnkarchncatxngethakbphlrwmkhxngomemntmhlngkarchnesmx m 1 v 1 i m 2 v 2 i m 1 v 1 f m 2 v 2 f displaystyle m 1 mathbf v 1 i m 2 mathbf v 2 i m 1 mathbf v 1 f m 2 mathbf v 2 f dd odythitwhxy i aesdngthungkxnkarchn aelatwhxy f aesdngthunghlngkarchnodypkti eracathrabephiyngkhwamerwkxnkarchn hruxhlngkarchn imxyangidkxyanghnung aelatxngkarthicathrabkhwamerwxiktwhnung karaekikhpyhanixyangthuktxngcathaiherathrabwakarchnnnepnxyangir karchnnnmisxngpraephth dngtxipni karchnaebbyudhyun epnkarchnthixnurksphlngngan karchnaebbimyudhyunepnkarchnthiimxnurksphlngngankarchnthngsxngpraephththiidklawmani epnkarchnthixnurksomemntmthnghmd karchnaebbyudhyun aekikh karchnknkhxngluksnukekxrsxngluk epntwxyanghnungkhxngkarchnaebbyudhyun nxkehnuxcakthiomemntmrwmknkxnchntxngethakbomemntmrwmknhlngchnaelw phlrwmkhxngphlngnganclnkxnkarchncatxngethakbphlrwmkhxngphlngnganclnhlngkarchndwy 1 2 m 1 v 1 i 2 1 2 m 2 v 2 i 2 1 2 m 1 v 1 f 2 1 2 m 2 v 2 f 2 displaystyle begin matrix frac 1 2 end matrix m 1 v 1 i 2 begin matrix frac 1 2 end matrix m 2 v 2 i 2 begin matrix frac 1 2 end matrix m 1 v 1 f 2 begin matrix frac 1 2 end matrix m 2 v 2 f 2 dd enuxngcaktwprakxb 1 2 mixyuaelwthuk phcn cungsamarthnaxxkipidepn m 1 v 1 i 2 m 2 v 2 i 2 m 1 v 1 f 2 m 2 v 2 f 2 displaystyle m 1 v 1 i 2 m 2 v 2 i 2 m 1 v 1 f 2 m 2 v 2 f 2 dd karchnaebbphungtrng karchninhnungmiti aekikh Elastic collision of equal masses Elastic collision of unequal masses phicarnakarchnknkhxngwtthu 2 wtthu kahndih wtthuhnungmimwl m 1 displaystyle m 1 ekhluxnthidwykhwamerw v 1 i displaystyle v 1 i ekhachnwtthumwl m 2 displaystyle m 2 sungkalngekhluxnthidwykhwamerw v 2 i displaystyle v 2 i aelahlngchnwtthuthngsxngmikhwamerwepn v 1 f displaystyle v 1 f aela v 2 f displaystyle v 2 f tamladbinkrnithiwtthuphungekhachnknaebbetm epnthangtrng erasamarthhakhwamerwhlngkarchnidepn v 1 f m 1 m 2 m 1 m 2 v 1 i 2 m 2 m 1 m 2 v 2 i displaystyle v 1 f left frac m 1 m 2 m 1 m 2 right v 1 i left frac 2m 2 m 1 m 2 right v 2 i dd v 2 f 2 m 1 m 1 m 2 v 1 i m 2 m 1 m 1 m 2 v 2 i displaystyle v 2 f left frac 2m 1 m 1 m 2 right v 1 i left frac m 2 m 1 m 1 m 2 right v 2 i dd thamwlkhxngwtthuthngsxngethakn m1 m2 caidkhwamerwhlngchnkhxngwtthuthngsxngepn v 1 f v 2 i displaystyle v 1 f v 2 i aela v 2 f v 1 i displaystyle v 2 f v 1 i sunghmaykhwamwawtthumikaraelkepliynkhwamerwknthaihwtthuthisxnghyudning caid v 2 i 0 displaystyle v 2 i 0 smkarkhwamerwhlngchncaklayepn v 1 f m 1 m 2 m 1 m 2 v 1 i displaystyle v 1 f left frac m 1 m 2 m 1 m 2 right v 1 i dd v 2 f 2 m 1 m 1 m 2 v 1 i displaystyle v 2 f left frac 2m 1 m 1 m 2 right v 1 i dd thamwlkhxngwtthuthihnungmakkwamwlkhxngwtthuthisxng aelawtthuthisxnghyudning eracaehnwa hlngkarchn wtthuthngsxngcaekhluxnthiipinthisediywkn aetwtthuthihnungmikhwamerwldlng thamwlkhxngwtthuthisxngmakkwamwlkhxngwtthuthihnung aelawtthuthisxnghyudning eracaehnwa hlngkarchn wtthuthihnungcakraednklb swnwtthuthisxngcaekhluxnthiipinthisediywkbwtthuthihnungkxnchncaksmkarphlngnganclnsamarthekhiynihmidepn m 1 v 1 f 2 v 1 i 2 m 2 v 2 i 2 v 2 f 2 displaystyle m 1 left v 1 f 2 v 1 i 2 right m 2 left v 2 i 2 v 2 f 2 right aeyktwprakxbkhxngthngsxngkhangkhxngsmkarnicaid m 1 v 1 f v 1 i v 1 f v 1 i m 2 v 2 i v 2 f v 2 i v 2 f displaystyle m 1 left v 1 f v 1 i right left v 1 f v 1 i right m 2 left v 2 i v 2 f right left v 2 i v 2 f right aelaaeykethxmthiepntwprakxbrwmkhxngsmkaromemntm caid m 1 v 1 f v 1 i m 2 v 2 i v 2 f displaystyle m 1 v 1 f v 1 i m 2 v 2 i v 2 f caksxngsmkarkhangtncaid v 1 f v 1 i v 2 i v 2 f displaystyle v 1 f v 1 i v 2 i v 2 f eracaidsmkarkhwamsmphnthrahwangkhwamerwkxnchnaelahlngchnkhxngwtthuthngsxngepn v 1 i v 2 i v 1 f v 2 f displaystyle v 1 i v 2 i left v 1 f v 2 f right aesdngwaxtraerwsmphnthkhxngwtthuthngsxngkxnkarchn v 1 i v 2 i displaystyle v 1 i v 2 i mikhaethakbkhalbkhxngxtraerwsmphnthkhxngwtthuthngsxnghlngkarchn v 1 f v 2 f displaystyle left v 1 f v 2 f right twxyang kxnchn lukbxllukthihnungmwl 3 kg ekhluxnthidwykhwamerw 4 m s ekhachnlukbxlmwl 5 kg ekhluxnthikalngdwykhwamerw 6 m s inthistrngkhamkblukbxllukthihnung hlngchn lukbxllukthihnungkraednklbdwykhwamerw 8 5 m s lukbxllukthisxngkraednklbdwykhwamerw 1 5 m s karchnaebbimyudhyun aekikh twxyangthiphbehnidkhxngkarchnaebbimyudhyun khuxkarthiwtthuchnaelwtidkn ithlipdwykn smkartxipnicaaesdngkarxnurksomemntmemuxchnaelwwtthucatidknipomemntmkxnchn hlngchn swnphlngnganclnimethakn echn rthyntchnkn m 1 v 1 i m 2 v 2 i m 1 m 2 v f displaystyle m 1 mathbf v 1 i m 2 mathbf v 2 i left m 1 m 2 right mathbf v f dd karekhluxnthikhxngcudsunyklangmwl dd emuxwtthukhuhnungwingekhahakn hruxwingxxkcakkncudsunyklangkhxngmwlkhxngwtthukhunnyxmmikarekhluxnthiipdwy karsuksakarchnknkhxngwtthuxacphicarnathungcudsunyklangmwlidechnkn khwamerwkhxngcudsunyklangkhxngmwlcaepniptamsmkar dd karprayuktichkhwamrueruxngomemntm aekikhomemntmepnprimanewketxr mithisthangtamthiskhxngkhwamerw mihnwyepn kiolkrm emtrtxnathi kg m s enuxngcakomemntmepnprimanewketxr dngnnomemntmsamarthaetkekhasuaekn X aela Y id aelamiwithikarrwmtamhlkkhxngewketxrodythwip cakkhwamhmaykhxngomemntmphbwa khakhxngomemntmkhunxyukbmwlaelakhwamerw thawtthukalngekhluxnthimikarepliynaeplngkhwamerwphlkhux omemntmkcamikarepliynaeplngdwy aelasingthithaihkhwamerwkhxngwtthuepliynaeplngkhuxaerng dngnnaerngcungepntwkarsakhythithaihkhwamerwaelaomemntmkhxngwtthuekidkarepliynaeplng hruxxacklawidwa aerngthaihomemntmkhxngwtthuepliynaeplng dd karepliynaeplngomemntm aekikhinklsastrdngedim kardlcaepliynaeplngomemntmkhxngwtthu odykardlmihnwyaelamitiehmuxnomemntmthukprakar hnwyexsixkhxngkardlnnehmuxnkbhnwykhxngomemntm kiolkrm emtr winathi kardlsamarthkhanwnidcakpriphnthkhxngaerngkbewla I F d t displaystyle mathbf I int mathbf F dt odythi I aethnkardl hnwyepnkiolkrm emtrtxwinathiF aethnaerng hnwyepnniwtnt epnewla hnwyepnwinathihakmiaerngkhngtw kardlmkcaekhiynepn I F D t displaystyle mathbf I mathbf F Delta t odythi D t displaystyle Delta t epnewlathiaerng F krathacakniyamkhxngaerng I d p d t d t displaystyle mathbf I int frac d mathbf p dt dt I d p displaystyle mathbf I int d mathbf p I D p displaystyle mathbf I Delta mathbf p thaihidwakardlkhuxkarepliynaeplngomemntmkarchn aekikhkarchn Collision karchn hmaythung karthiwtthuhnungkrathbkbxikwtthuhnunginchwngewlasn karchnknkhxngrth kar krathbknkhxngluktum kbesaekhm kartiethnnis tipingpxng tikxlf karetalukbxl hruxinbangkhrngwtthuxac imtxngkrathbkn aetmiaerngmakrathatxwtthuaelwihphlehmuxnkbkarchn karraebidkhxngwtthuraebid kar yingpun inkarchnkhxngwtthuodymakmkcamiaerngphaynxkmakrathatxwtthu sungkhnadkhxngaerngcamakhruxnxy khunxyukblksnakarchnkhxngwtthu aelainkarchnxacmikarsuyesiykhaomemntmmakhruxnxy hruximsuyesiy elykid 1 emuxomemntmkhxngrabbmikhakhngthi epnkarchnthikhnachnmiaerngphaynxkmakrathanxymak emux ethiybkbkhnadkhxngaerngdlthiekidkhun hruxaerngphaynxkepnsuny echn karchnknkhxnglukbideliyd karchnkhxng rthynt karyingpun epntn 2 emuxomemntmkhxngrabbimkhngthi epnkarchnthikhnachnmiaerngphaynxkmakrathamakkwaaerngdlthi ekidkbwtthukhnachnkn echnlukbxltkkrathbphun rthyntchnkbtnim epntn inthini eracaklawthungkarchnkhxngwtthu emuximmiaerngphaynxkmakrathatxrabb sungcaepnphlih omemntmkhxngrabbmikhakhngthi phisucnidcakkdkarekhluxnthikhxthi 3 khxngniwtn emuxwtthuchnkncaekidaerngkrathasungknaelakndwykhnadthiethaknaetthistrngknkham 1 karchnaebbyudhyun epnkarchnthiphlngnganclnkhxngrabbimepliyn phicarnakarchnknkhxngwtthusxngkxn thimikhwamerwxyuinaenwphancudsunyklangmwl 2 karchnaebbimyudhyun epnkarchnkhxngwtthuaelwruprangmikarepliynaeplng hruxmikarekhluxnthitidknip phlngnganclnimkhngthi phlngnganclnhlngchnmikhanxykwahlngnganclnkxnchnephraawaphlngnganclnbangswnn aipichinkar epliynruprangwutthuihyub bub hruxepliynrupepnphlngnganesiyng aetomemntmrwmkxnkarchnethakbhlngkar chnwtthuduephim aekikhomemntmechingmum kdkarxnurks khwamerwxangxing aekikhHalliday David 1960 2007 Fundamentals of Physics John Wiley amp Sons Chapter 9 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help CS1 maint date format link Serway Raymond Jewett John 2003 Physics for Scientists and Engineers 6 ed Brooks Cole ISBN 0 534 40842 7 Stenger Victor J 2000 Timeless Reality Symmetry Simplicity and Multiple Universes Prometheus Books Chpt 12 in particular Tipler Paul 1998 Physics for Scientists and Engineers Vol 1 Mechanics Oscillations and Waves Thermodynamics 4th ed W H Freeman ISBN 1 57259 492 6 Hand Louis N Finch Janet D Analytical Mechanics Cambridge University Press Chapter 4 aehlngkhxmulxun aekikh wikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa momentum Conservation of momentum A chapter from an online textbook bthkhwamekiywkbfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy fisiksekhathungcak https th wikipedia org w index php title omemntm amp oldid 9411282, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม