fbpx
วิกิพีเดีย

โอวาทปาติโมกข์

สำหรับความหมายอื่น ดูที่ ปาติโมกข์

โอวาทปาฏิโมกข์ เป็นหลักคำสอนสำคัญของพระพุทธศาสนา เป็น "ปาติโมกข์" ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงตลอดปฐมโพธิกาล คือ 20 พรรษาแรก เฉพาะครั้งแรกในวันเพ็ญเดือนมาฆะ (เดือน 3) หลังจากตรัสรู้แล้ว 9 เดือน เป็นการแสดงปาติโมกข์ที่ประกอบด้วยองค์ 4 เรียกว่า จาตุรงคสันนิบาต ซึ่งมีเพียงครั้งเดียวในพระศาสนาของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่งๆ โอวาทปาฏิโมกข์นั้นถ้าเปรียบในสมัยนี้คงเปรียบได้กับการกำหนดพันธกิจขององค์กรต่างๆ จึงอาจกล่าวได้ว่าเป็นการกำหนดพันธกิจให้กับพระสงฆ์สาวกทั้งปวงหรือจะเรียกว่าเป็นการประกาศตั้งศาสนา(แนวทางการปฏิบัติ)ก็ได้ (อรรถกถาแสดงไว้ว่า พระพุทธเจ้าทรงแสดง "โอวาทปาติโมกข์" นี้ ด้วยพระองค์เอง ท่ามกลางที่ประชุมสงฆ์ผู้ศีลบริสุทธิ์ตลอด 20 พรรษาแรก ในครั้งสุดท้าย มีภิกษุผู้ทุศีล เข้าร่วมประชุม พระพุทธเจ้าทรงประกาศให้ออกจากที่ประชุม ภิกษุผู้ทุศีลไม่ยอมออกจากที่ประชุม พระโมคคัลลาฯจึงบังคับให้ออกจากที่ประชุม หลังจากนั้นทรงบัญญัติให้พระสงฆ์แสดง "อาณาปาติโมกข์","ภิกษุปาฏิโมกข์" กันเอง โดยพระองค์ไม่ทรงเข้าร่วมอีก)

พระพุทธรูปปางทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ ที่วัดเวฬุวันมหาวิหาร

บทโอวาทปาติโมกข์

สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง, การไม่ทำบาปทั้งปวง

กุสะลัสสูปะสัมปะทา, การทำกุศลให้ถึงพร้อม,

สะจิตตะปะริโยทะปะนัง, การชำระจิตของตนให้ขาวรอบ,

เอตัง พุทธานะสาสะนัง, ธรรม ๓ อย่างนี้ เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย,

ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา, ขันติ คือความอดกลั้น เป็นธรรมเครื่องเผากิเลสอย่างยิ่ง,

นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา, ผู้รู้ทั้งหลาย กล่าวพระนิพพานว่าเป็นธรรมอันยิ่ง,

นะ หิ ปัพพะชิโต ปะรูปะฆาตี, ผู้กำจัดสัตว์อื่นไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิตเลย,

สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต, ผู้ทำลายสัตว์อื่นให้ลำบากอยู่ ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะเลย,

อะนูปะวาโท อะนูปะฆาโต, การไม่พูดร้าย, การไม่ทำร้าย,

ปาติโมกเข จะ สังวะโร, การสำรวมในปาติโมกข์,

มัตตัญญุตา จะ ภัตตัสมิง, ความเป็นผู้รู้ประมาณในการบริโภค,

ปันตัญจะ สะยะนาสะนัง, การนอน การนั่ง ในที่อันสงัด,

อะธิจิตเต จะ อาโยโค, ความหมั่นประกอบในการทำจิตให้ยิ่ง,

เอตัง พุทธานะสาสะนัง, ธรรม ๖ อย่างนี้ เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย,

ความหมายของโอวาทปาฎิโมกข์

โอวาทปาติโมกข์มักถูกกล่าวถึงในแง่หลักธรรม 3 อย่างเพียงเรื่องเดียวว่าเป็น(หัวใจของพระพุทธศาสนา) อย่างไรก็ตามพระพุทธพจน์ 3 คาถากึ่ง อาจสรุปใจความได้เป็นสามส่วน คือ หลักการ 3 อุดมการณ์ 4 และวิธีการ 6 ดังนี้

พระพุทธพจน์คาถาแรก

ทรงกล่าวถึง "หลักการอันเป็นหัวใจสำคัญเพื่อเข้าถึงจุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนาแก่พุทธบริษัททั้งปวงโดยย่อ" หรือ หลักการ 3 กล่าวกันว่าเป็นการสรุปรวบยอดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาอันเป็นแนวทางที่พุทธบริษัทพึงปฏิบัติ ได้แก่

1.การไม่ทำบาปทั้งปวง(ศีล)

2.การทำกุศลให้ถึงพร้อม(ทาน)

3.การทำจิตใจให้บริสุทธิ์(ภาวนา,ปัญญา)

ทั้งหมดต้องปฏิบัติไปพร้อมกัน(หลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวกัน) ศีลที่แท้จริงจะเกิดขึ้นไม่ได้ หากไม่มีอภัยทาน(ให้ความไม่เป็นภัยเป็นทาน) อภัยทานที่แท้จริงจะเกิดขึ้นไม่ได้ หากไม่มีปัญญาที่แท้จริง ปัญญาที่แท้จริงจะเกิดขึ้นไม่ได้ หากไม่มีศีลที่แท้จริง ขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่ง สิ่งที่เกี่ยวข้องก็เกิดขึ้นไม่ได้

มีผู้อธิบายว่าทั้งสามข้อนี้อาจอนุมานเข้ากับ ศีล สมาธิ และปัญญา

พระพุทธพจน์คาถาที่สอง

ทรงกล่าวถึงอุดมการณ์อันสูงสุดของพระภิกษุและบรรพชิตในพระพุทธศาสนานี้ อันมีลักษณะที่แตกต่างจากศาสนาอื่น อันอาจเรียกได้ว่า อุดมการณ์ 4 ของพระพุทธศาสนา ได้แก่
  1. ความอดทนอดกลั้นเป็นสิ่งที่นักบวชในศาสนานี้พึงยึดถือและเป็นสิ่งที่ต้องใช้เมื่อประสบกับสิ่งที่ไม่ชอบใจทุกอย่างที่ต้องเจอในชีวิตนักบวช เช่น ประสงค์ร้อนได้เย็น ประสงค์เย็นได้ร้อน
  2. การมุ่งให้ถึงพระนิพพานเป็นเป้าหมายหลักของผู้ออกบวช มิใช่สิ่งอื่นนอกจากพระนิพพาน
  3. พระภิกษุและบรรพชิตในพระธรรมวินัยนี้(เช่นภิกษุณี สามเณร สามเณรี สิกขมานา)ไม่พึงทำผู้อื่นให้ลำบากด้วยการเบียดเบียนทำความทุกข์กายหรือทุกข์ทางใจไม่ว่าจะในกรณีใดๆ
  4. พึงเป็นผู้มีจิตใจสงบจากอกุศลวิตกทั้งหลายมีความโลภ โกรธ หลง เป็นต้น

พระพุทธพจน์คาถาที่สาม

หมายถึงวิธีการที่ธรรมทูตผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาถือเป็นกลยุทธ พระภิกษุที่ออกเผยแผ่พระพุทธศาสนาซึ่งมีเป็นจำนวนมากให้ใช้วิธีการเหมือนกันเพื่อจะได้เป็นไปในแนวทางเดียวกันและถูกต้องเป็นธรรม ได้แก่ วิธีการทั้ง 6

  1. การไม่กล่าวร้าย (เผยแผ่ศาสนาด้วยการไม่กล่าวร้ายโจมตีดูถูกความเชื่อผู้อื่น)
  2. การไม่ทำร้าย (เผยแผ่ศาสนาด้วยการไม่ใช้กำลังบังคับข่มขู่ด้วยวิธีการต่างๆ)
  3. ความสำรวมในพระปาฏิโมกข์ (รักษาความประพฤติให้น่าเลื่อมใส)
  4. ความเป็นผู้รู้จักประมาณในการบริโภค (เสพปัจจัยสี่อย่างรู้ประมาณพอเพียง)
  5. นั่งนอนในที่อันสงัด (สันโดษไม่คลุกคลีด้วยหมู่คณะ)
  6. ความเพียรในอธิจิต (พัฒนาจิตใจให้ยิ่งด้วยสมถะและวิปัสสนาเสมอ มิใช่ว่าเอาแต่สอนแต่ตนเองไม่กระทำตามที่สอน)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. พระสุตตันตปิฎก เล่ม 2 ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปทานสูตร
  2. อรรถกถา มหาปทานสูตร
  1. http://www.paisarn.com/makhabucha.html วันมาฆบูชา
  2. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ). คัมภีร์วิสุทธิมรรค พระพุทธโฆสเถระ รจนา. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ธนาเพรส. ๒๕๕๑

โอวาทปาต, โมกข, สำหร, บความหมายอ, ปาต, โมกข, โอวาทปาฏ, โมกข, เป, นหล, กคำสอนสำค, ญของพระพ, ทธศาสนา, เป, ปาต, โมกข, พระพ, ทธองค, ทรงแสดงตลอดปฐมโพธ, กาล, พรรษาแรก, เฉพาะคร, งแรกในว, นเพ, ญเด, อนมาฆะ, เด, อน, หล, งจากตร, สร, แล, เด, อน, เป, นการแสดงปาต, โมกข, ประ. sahrbkhwamhmayxun duthi patiomkkh oxwathpatiomkkh epnhlkkhasxnsakhykhxngphraphuththsasna epn patiomkkh thiphraphuththxngkhthrngaesdngtlxdpthmophthikal khux 20 phrrsaaerk echphaakhrngaerkinwnephyeduxnmakha eduxn 3 hlngcaktrsruaelw 9 eduxn epnkaraesdngpatiomkkhthiprakxbdwyxngkh 4 eriykwa caturngkhsnnibat sungmiephiyngkhrngediywinphrasasnakhxngphraphuththecaxngkhhnung oxwathpatiomkkhnnthaepriybinsmynikhngepriybidkbkarkahndphnthkickhxngxngkhkrtang cungxacklawidwaepnkarkahndphnthkicihkbphrasngkhsawkthngpwnghruxcaeriykwaepnkarprakastngsasna aenwthangkarptibti kid xrrthkthaaesdngiwwa phraphuththecathrngaesdng oxwathpatiomkkh ni dwyphraxngkhexng thamklangthiprachumsngkhphusilbrisuththitlxd 20 phrrsaaerk inkhrngsudthay miphiksuphuthusil ekharwmprachum phraphuththecathrngprakasihxxkcakthiprachum phiksuphuthusilimyxmxxkcakthiprachum phraomkhkhllacungbngkhbihxxkcakthiprachum hlngcaknnthrngbyytiihphrasngkhaesdng xanapatiomkkh phiksupatiomkkh knexng odyphraxngkhimthrngekharwmxik phraphuththruppangthrngaesdngoxwathpatiomkkh thiwdewluwnmhawihar enuxha 1 bthoxwathpatiomkkh 2 khwamhmaykhxngoxwathpadiomkkh 2 1 phraphuththphcnkhathaaerk 2 2 thrngklawthung hlkkarxnepnhwicsakhyephuxekhathungcudmunghmaykhxngphraphuththsasnaaekphuththbrisththngpwngodyyx hrux hlkkar 3 klawknwaepnkarsruprwbyxdhlkthrrmthangphraphuththsasnaxnepnaenwthangthiphuththbristhphungptibti idaek 2 3 1 karimthabapthngpwng sil 2 4 2 karthakuslihthungphrxm than 2 5 3 karthaciticihbrisuththi phawna pyya 2 6 phraphuththphcnkhathathisxng 2 7 phraphuththphcnkhathathisam 3 duephim 4 xangxingbthoxwathpatiomkkh aekikhsphphapapssa xakaranng karimthabapthngpwngkusalssupasmpatha karthakuslihthungphrxm sacittaparioythapanng karcharacitkhxngtnihkhawrxb extng phuththanasasanng thrrm 3 xyangni epnkhasngsxnkhxngphraphuththecathnghlay khnti paramng taop titikkha khnti khuxkhwamxdkln epnthrrmekhruxngephakielsxyangying niphphanng paramng wathnti phuththa phuruthnghlay klawphraniphphanwaepnthrrmxnying na hi pphphachiot parupakhati phukacdstwxunimchuxwaepnbrrphchitely samaon ohti parng wiehthaynot phuthalaystwxunihlabakxyu imchuxwaepnsmnaely xanupawaoth xanupakhaot karimphudray karimtharay patiomkekh ca sngwaor karsarwminpatiomkkh mttyyuta ca phttsming khwamepnphurupramaninkarbriophkh pntyca sayanasanng karnxn karnng inthixnsngd xathicitet ca xaoyokh khwamhmnprakxbinkarthacitihying extng phuththanasasanng thrrm 6 xyangni epnkhasngsxnkhxngphraphuththecathnghlay khwamhmaykhxngoxwathpadiomkkh aekikhoxwathpatiomkkhmkthukklawthunginaenghlkthrrm 3 xyangephiyngeruxngediywwaepn hwickhxngphraphuththsasna xyangirktamphraphuththphcn 3 khathakung xacsrupickhwamidepnsamswn 1 khux hlkkar 3 xudmkarn 4 aelawithikar 6 dngni phraphuththphcnkhathaaerk aekikh thrngklawthung hlkkarxnepnhwicsakhyephuxekhathungcudmunghmaykhxngphraphuththsasnaaekphuththbrisththngpwngodyyx hrux hlkkar 3 klawknwaepnkarsruprwbyxdhlkthrrmthangphraphuththsasnaxnepnaenwthangthiphuththbristhphungptibti idaek aekikh 1 karimthabapthngpwng sil aekikh 2 karthakuslihthungphrxm than aekikh 3 karthaciticihbrisuththi phawna pyya aekikh thnghmdtxngptibtiipphrxmkn hlxmrwmepnhnungediywkn silthiaethcringcaekidkhunimid hakimmixphythan ihkhwamimepnphyepnthan xphythanthiaethcringcaekidkhunimid hakimmipyyathiaethcring pyyathiaethcringcaekidkhunimid hakimmisilthiaethcring khadsingidsinghnung singthiekiywkhxngkekidkhunimid miphuxthibaywathngsamkhxnixacxnumanekhakb sil smathi aelapyya 2 phraphuththphcnkhathathisxng aekikh thrngklawthungxudmkarnxnsungsudkhxngphraphiksuaelabrrphchitinphraphuththsasnani xnmilksnathiaetktangcaksasnaxun xnxaceriykidwa xudmkarn 4 khxngphraphuththsasna idaekkhwamxdthnxdklnepnsingthinkbwchinsasnaniphungyudthuxaelaepnsingthitxngichemuxprasbkbsingthiimchxbicthukxyangthitxngecxinchiwitnkbwch echn prasngkhrxnideyn prasngkheynidrxn karmungihthungphraniphphanepnepahmayhlkkhxngphuxxkbwch miichsingxunnxkcakphraniphphan phraphiksuaelabrrphchitinphrathrrmwinyni echnphiksuni samenr samenri sikkhmana imphungthaphuxunihlabakdwykarebiydebiynthakhwamthukkhkayhruxthukkhthangicimwacainkrniid phungepnphumiciticsngbcakxkuslwitkthnghlaymikhwamolph okrth hlng epntnphraphuththphcnkhathathisam aekikh hmaythungwithikarthithrrmthutphuephyaephphraphuththsasnathuxepnklyuthth phraphiksuthixxkephyaephphraphuththsasnasungmiepncanwnmakihichwithikarehmuxnknephuxcaidepnipinaenwthangediywknaelathuktxngepnthrrm idaek withikarthng 6 karimklawray ephyaephsasnadwykarimklawrayocmtiduthukkhwamechuxphuxun karimtharay ephyaephsasnadwykarimichkalngbngkhbkhmkhudwywithikartang khwamsarwminphrapatiomkkh rksakhwampraphvtiihnaeluxmis khwamepnphuruckpramaninkarbriophkh esphpccysixyangrupramanphxephiyng nngnxninthixnsngd snodsimkhlukkhlidwyhmukhna khwamephiyrinxthicit phthnaciticihyingdwysmthaaelawipssnaesmx miichwaexaaetsxnaettnexngimkrathatamthisxn duephim aekikhwnmakhbucha wnthiphraphuththecathrngaesdngoxwathpatiomkkhxangxing aekikhphrasuttntpidk elm 2 thikhnikay mhawrrkh mhapthansutr xrrthktha mhapthansutr http www paisarn com makhabucha html wnmakhbucha smedcphraphuthacary xac xasphmhaethra khmphirwisuththimrrkh phraphuththokhsethra rcna krungethph sankphimphthnaephrs 2551 bthkhwamekiywkbsasnaphuththniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phraphuththsasnaekhathungcak https th wikipedia org w index php title oxwathpatiomkkh amp oldid 9492908, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม