fbpx
วิกิพีเดีย

ภาวะไม่ทนต่อแล็กโทส

ภาวะไม่ทนต่อแล็กโทส (อังกฤษ: lactose intolerance) หรือนิยมเรียกแบบไม่เป็นทางการว่าการแพ้นม เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถสลายแล็กโทส เนื่องจากการขาดเอนไซม์แล็กเทสที่จำเป็นในระบบย่อยอาหาร มีการประมาณว่าผู้ใหญ่ทั่วโลกราว 75% มีการผลิตแล็กเทสลดลงในวัยผู้ใหญ่ ความถี่ของการลดการผลิตแล็กเทสมีแตกต่างกันตั้งแต่ 5% ในยุโรปเหนือ ไปจนถึง 71% ในซิซิลี และมากกว่า 90% ในบางประเทศทวีปแอฟริกาและเอเชีย

ภาวะไม่ทนต่อแล็กโทส
(Lactose intolerance)
ชื่ออื่นLactase deficiency, hypolactasia, alactasia, lactose challenged
น้ำตาลแลกโตส ประกอบขึ้นจากน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวสองชนิด
สาขาวิชาวิทยาทางเดินอาหาร
อาการปวดท้อง, แน่นท้อง, ถ่ายเหลว, ท้องอืด, คลื่นไส้
ภาวะแทรกซ้อนDoes not cause damage to the GI tract
การตั้งต้น30-120 นาที หลังกินผลิตภัณฑ์นม
สาเหตุการสูญเสียความสามารถในการย่อยแลกโตส อาจมาจากพันธุกรรม หรือจากการบาดเจ็บต่อลำไส้เล็ก
วิธีวินิจฉัยวินิจฉัยจากอาการ อาการดีขึ้นหลังงดกินแลกโตส
โรคอื่นที่คล้ายกันIrritable bowel syndrome, celiac disease, inflammatory bowel disease, milk allergy
การรักษาDecreasing lactose in the diet, lactase supplements, treat the underlying cause
ความชุก~65% of people (less common in Europeans)
ระวังสับสนกับ การแพ้นมวัว

น้ำตาลโมเลกุลคู่ไม่สามารถถูกดูดซึมผ่านผนังของลำไส้เล็กเข้าไปยังกระแสเลือดได้ ดังนั้น ในการขาดแล็กเทส แล็กโทสซึ่งมีอยู่ในผลิตภัณฑ์นมที่ย่อยแล้วจะไม่ถูกทำให้แตกตัวและผ่านไปจนถึงลำไส้ใหญ่โดยไม่มีการย่อยสลาย โอเปอร์รอนของแบคทีเรียในลำไส้จะเข้ามาสลายแล็กโทสอย่างรวดเร็ว และส่งผลให้เกิดการหมักภายในร่างกายสิ่งมีชีวิต และผลิตแก๊สออกมาในปริมาณมาก (ได้แก่ ไฮโดรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และมีเทนผสมกัน) ซึ่งอาจก่อให้เกิดอาการบริเวณท้องได้หลายอย่าง รวมทั้ง ท้องเป็นตะคริว คลื่นไส้ เรอบ่อย กรดไหลย้อน และผายลม นอกเหนือจากนั้น แล็กโทส เช่นเดียวกับน้ำตาลที่ไม่ถูกดูดซึมอื่น ๆ (อย่างเช่น ซอร์บิทอล แมนนิทอล และไซลิทอล) การมีของแล็กโทสและผลิตภัณฑ์จากการหมักจะเพิ่มแรงดันออสโมติกในลำไส้ใหญ่

เนื่องจากภาวะไม่ทนต่อแล็กโทสเกิดจากการที่ร่างกายย่อยแล็กโทสไม่ได้ จึงถือว่าไม่ได้เกิดจากกระบวนการภูมิแพ้ ไม่ถือเป็นโรคภูมิแพ้อาหาร และเป็นคนละโรคกับการแพ้โปรตีนนมวัว (cow's milk protein allergy)

ชีววิทยาแล็กเทส

สภาวะปกติของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมสำหรับตัวอ่อนของสปีชีส์เพื่อรับมือกับการผลิตแล็กเทสที่ลดลงในช่วงปลายระยะหย่านม (ซึ่งเป็นระยะเวลาที่แตกต่างกันไปในแต่ละสปีชีส์) ในมนุษย์ สังคมที่ไม่บริโภคนม การผลิตแล็กเทสมักจะลดลงถึง 90% ในช่วงสี่ปีแรกของชีวิต ถึงแม้ว่าค่าการลดลงที่แม่นยำมีความแตกต่างกันอย่างมาก

อย่างไรก็ตาม ประชากรมนุษย์บางส่วนมีการกลายพันธุ์บนโครโมโซม 2 ซึ่งกำจัดการปิดการผลิตแล็กเทส ทำให้สมาชิกของประชากรเหล่านี้สามารถบริโภคนมสดและผลิตภัณฑ์จากนมได้ตลอดชีวิตโดยไม่ประสบกับความยากลำบากต่อไปได้ ซึ่งเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสมัยปัจจุบันที่มีการบริโภคนม และได้เกิดขึ้นแยกต่างหากในทั้งยุโรปเหนือและแอฟริกาตะวันออกในหมู่ประชากรที่เคยมีวิถีชีวิตด้วยการเลี้ยงปศุสัตว์ การผลิตแล็กเทสได้ตลอดชีวิต ทำให้การย่อยแล็กโทสสามารถดำเนินต่อไปได้จนกระทั่งเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ เป็นแอลลีลเด่น ทำให้ภาวะไม่ทนต่อแล็กโทสเป็นลักษณะพันธุกรรมด้อย

บางวัฒนธรรม อย่างเช่น ญี่ปุ่น ที่ซึ่งมีการบริโภคนมเพิ่มมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบการกินอาหารแต่เดิม แสดงให้เห็นว่าการแพ้แล็กโทสมีความชุกลดลง ถึงแม้ว่าจะมีความโน้มเอียงรับโรคตามพันธุกรรมก็ตาม

ภาวะไม่ทนต่อแล็กโทสในด้านพยาธิวิทยาสามารถเกิดได้จากการแพ้กลูเตน ซึ่งสร้างความเสียหายแก่วิลลัสในลำไส้เล็กซึ่งผลิตแล็กเทส ภาวะไม่ทนต่อแล็กโทสประเภทนี้จะเกิดขึ้นชั่วคราวเท่านั้น ภาวะไม่ทนต่อแล็กโทสที่เกิดขึ้นจากการแพ้กลูเตนจะหายจากอาการหลังจากผู้ป่วยงดรับประทานอาหารที่มีกลูเตนเป็นระยะเวลาเพียงพอให้วิลลิสฟื้นฟู

สำหรับคนบางคนผู้ซึ่งรายงานปัญหาเกี่ยวกับการบริโภคแล็กโทสไม่ได้มีภาวะไม่ทนต่อแล็กโทสอย่างแท้จริง ในการศึกษาผู้ใหญ่ชาวซิซิลี 323 คน Carroccio et al. (1998) พบว่ามีเพียง 4% ซึ่งมีทั้งภาวะไม่ทนต่อแล็กโทสและการย่อยแล็กโทสผิดปกติ ในขณะที่ 32.2% เป็นผู้ที่มีการย่อยแล็กโทสผิดปกติ แต่ไม่ได้มีผลสรุปออกมาว่าแพ้แล็กโทส อย่างไรก็ตาม Burgio et al. (1984) พบว่า 72% ของชาวซิซิลี 100 คน มีภาวะไม่ทนต่อแล็กโทสในการศึกษา และชาวอิตาลีตอนเหนือ 106 คน จาก 208 คน (51%) มีภาวะไม่ทนต่อแล็กโทส

อ้างอิง

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NIH2014Dig
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Heyman2006
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Stat2020
  4. บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับประเทศไทย (อังกฤษ-ไทย) ฉบับปี 2009. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2552.
  5. "Improved lactose digestion and intolerance among African-American adolescent girls fed a dairy-rich diet". Journal of the American Dietetic Association. 2000. สืบค้นเมื่อ 2009-02-03. Approximately 75% of the world's population loses the ability to completely digest a physiological dose of lactose after infancy
  6. Bulhões, A.C.; Goldani, H.A.S.; Oliveira, F.S.; Matte, U.S.; Mazzuca, R.B.; Silveira, T.R. (2007). "Correlation between lactose absorption and the C/T-13910 and G/A-22018 mutations of the lactase-phlorizin hydrolase (LCT) gene in adult-type hypolactasia". Brazilian Journal of Medical and Biological Research. 40 (11): 1441–6. doi:10.1590/S0100-879X2007001100004. PMID 17934640.
  7. Soy and Lactose Intolerance Wayback: Soy Nutrition
  8. Coles Harriet (2007-01-20). "The lactase gene in Africa: Do you take milk?". The Human Genome, Wellcome Trust. สืบค้นเมื่อ 2008-07-18.
  9. Yoshida Y, Sasaki G, Goto S, Yanagiya S, Takashina K (1975). "Studies on the etiology of milk intolerance in Japanese adults". Gastroenterol. Jpn. 10 (1): 29–34. PMID 1234085.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  10. BMJ Textbook of Gastroenterology, Chapter 11, Celiac Disease, Dr.Jamie Gregor & Dr. Diamond Sherin Alidina

แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
V · T · D
  • ICD-10: E73
  • ICD-9-CM: 271.3
  • OMIM: 223100
  • MeSH: D007787
  • DiseasesDB: 7238
ทรัพยากรภายนอก
  • MedlinePlus: 000276
  • eMedicine: med/3429 ped/1270
  • Patient UK: ภาวะไม่ทนต่อแล็กโทส

ภาวะไม, ทนต, อแล, กโทส, งกฤษ, lactose, intolerance, หร, อน, ยมเร, ยกแบบไม, เป, นทางการว, าการแพ, นม, เป, นภาวะท, างกายไม, สามารถสลายแล, กโทส, เน, องจากการขาดเอนไซม, แล, กเทสท, จำเป, นในระบบย, อยอาหาร, การประมาณว, าผ, ใหญ, วโลกราว, การผล, ตแล, กเทสลดลงในว, ยผ, . phawaimthntxaelkoths 4 xngkvs lactose intolerance hruxniymeriykaebbimepnthangkarwakaraephnm epnphawathirangkayimsamarthslayaelkoths enuxngcakkarkhadexnismaelkethsthicaepninrabbyxyxahar mikarpramanwaphuihythwolkraw 75 mikarphlitaelkethsldlnginwyphuihy 5 khwamthikhxngkarldkarphlitaelkethsmiaetktangkntngaet 5 inyuorpehnux ipcnthung 71 insisili aelamakkwa 90 inbangpraethsthwipaexfrikaaelaexechiy 6 phawaimthntxaelkoths Lactose intolerance chuxxunLactase deficiency hypolactasia alactasia lactose challengednatalaelkots prakxbkhuncaknatalomelkulediywsxngchnidsakhawichawithyathangedinxaharxakarpwdthxng aennthxng thayehlw thxngxud khlunis 1 phawaaethrksxnDoes not cause damage to the GI tract 2 kartngtn30 120 nathi hlngkinphlitphnthnm 1 saehtukarsuyesiykhwamsamarthinkaryxyaelkots xacmacakphnthukrrm hruxcakkarbadecbtxlaiselk 1 withiwinicchywinicchycakxakar xakardikhunhlngngdkinaelkots 1 orkhxunthikhlayknIrritable bowel syndrome celiac disease inflammatory bowel disease milk allergy 1 karrksaDecreasing lactose in the diet lactase supplements treat the underlying cause 1 khwamchuk 65 of people less common in Europeans 3 rawngsbsnkb karaephnmww natalomelkulkhuimsamarththukdudsumphanphnngkhxnglaiselkekhaipyngkraaeseluxdid dngnn inkarkhadaelkeths aelkothssungmixyuinphlitphnthnmthiyxyaelwcaimthukthaihaetktwaelaphanipcnthunglaisihyodyimmikaryxyslay oxepxrrxnkhxngaebkhthieriyinlaiscaekhamaslayaelkothsxyangrwderw aelasngphlihekidkarhmkphayinrangkaysingmichiwit aelaphlitaeksxxkmainprimanmak idaek ihodrecn kharbxnidxxkisd aelamiethnphsmkn sungxackxihekidxakarbriewnthxngidhlayxyang rwmthng thxngepntakhriw khlunis erxbxy krdihlyxn aelaphaylm nxkehnuxcaknn aelkoths echnediywkbnatalthiimthukdudsumxun xyangechn sxrbithxl aemnnithxl aelaislithxl karmikhxngaelkothsaelaphlitphnthcakkarhmkcaephimaerngdnxxsomtikinlaisihyenuxngcakphawaimthntxaelkothsekidcakkarthirangkayyxyaelkothsimid cungthuxwaimidekidcakkrabwnkarphumiaeph imthuxepnorkhphumiaephxahar aelaepnkhnlaorkhkbkaraephoprtinnmww cow s milk protein allergy chiwwithyaaelkeths aekikhsphawapktikhxngstweliynglukdwynanmsahrbtwxxnkhxngspichisephuxrbmuxkbkarphlitaelkethsthildlnginchwngplayrayahyanm sungepnrayaewlathiaetktangknipinaetlaspichis inmnusy sngkhmthiimbriophkhnm karphlitaelkethsmkcaldlngthung 90 inchwngsipiaerkkhxngchiwit thungaemwakhakarldlngthiaemnyamikhwamaetktangknxyangmak 7 xyangirktam prachakrmnusybangswnmikarklayphnthubnokhromosm 2 sungkacdkarpidkarphlitaelkeths thaihsmachikkhxngprachakrehlanisamarthbriophkhnmsdaelaphlitphnthcaknmidtlxdchiwitodyimprasbkbkhwamyaklabaktxipid sungepnkarprbtwihekhakbsmypccubnthimikarbriophkhnm aelaidekidkhunaeyktanghakinthngyuorpehnuxaelaaexfrikatawnxxkinhmuprachakrthiekhymiwithichiwitdwykareliyngpsustw 8 karphlitaelkethsidtlxdchiwit thaihkaryxyaelkothssamarthdaenintxipidcnkrathngekhasuwyphuihy epnaexlliledn thaihphawaimthntxaelkothsepnlksnaphnthukrrmdxybangwthnthrrm xyangechn yipun thisungmikarbriophkhnmephimmakkhunemuxepriybethiybkbrupaebbkarkinxaharaetedim aesdngihehnwakaraephaelkothsmikhwamchukldlng thungaemwacamikhwamonmexiyngrborkhtamphnthukrrmktam 9 phawaimthntxaelkothsindanphyathiwithyasamarthekididcakkaraephkluetn sungsrangkhwamesiyhayaekwillsinlaiselksungphlitaelkeths phawaimthntxaelkothspraephthnicaekidkhunchwkhrawethann phawaimthntxaelkothsthiekidkhuncakkaraephkluetncahaycakxakarhlngcakphupwyngdrbprathanxaharthimikluetnepnrayaewlaephiyngphxihwillisfunfu 10 sahrbkhnbangkhnphusungraynganpyhaekiywkbkarbriophkhaelkothsimidmiphawaimthntxaelkothsxyangaethcring inkarsuksaphuihychawsisili 323 khn Carroccio et al 1998 phbwamiephiyng 4 sungmithngphawaimthntxaelkothsaelakaryxyaelkothsphidpkti inkhnathi 32 2 epnphuthimikaryxyaelkothsphidpkti aetimidmiphlsrupxxkmawaaephaelkoths xyangirktam Burgio et al 1984 phbwa 72 khxngchawsisili 100 khn miphawaimthntxaelkothsinkarsuksa aelachawxitalitxnehnux 106 khn cak 208 khn 51 miphawaimthntxaelkothsxangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux NIH2014Dig xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Heyman2006 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Stat2020 bychicaaenkorkhrahwangpraeths chbbpraethsithy xngkvs ithy chbbpi 2009 sanknoybayaelayuththsastr sanknganpldkrathrwngsatharnsukh 2552 Improved lactose digestion and intolerance among African American adolescent girls fed a dairy rich diet Journal of the American Dietetic Association 2000 subkhnemux 2009 02 03 Approximately 75 of the world s population loses the ability to completely digest a physiological dose of lactose after infancy Bulhoes A C Goldani H A S Oliveira F S Matte U S Mazzuca R B Silveira T R 2007 Correlation between lactose absorption and the C T 13910 and G A 22018 mutations of the lactase phlorizin hydrolase LCT gene in adult type hypolactasia Brazilian Journal of Medical and Biological Research 40 11 1441 6 doi 10 1590 S0100 879X2007001100004 PMID 17934640 Soy and Lactose Intolerance Wayback Soy Nutrition Coles Harriet 2007 01 20 The lactase gene in Africa Do you take milk The Human Genome Wellcome Trust subkhnemux 2008 07 18 Yoshida Y Sasaki G Goto S Yanagiya S Takashina K 1975 Studies on the etiology of milk intolerance in Japanese adults Gastroenterol Jpn 10 1 29 34 PMID 1234085 CS1 maint multiple names authors list link BMJ Textbook of Gastroenterology Chapter 11 Celiac Disease Dr Jamie Gregor amp Dr Diamond Sherin Alidinaaehlngkhxmulxun aekikhkarcaaenkorkhV T DICD 10 E73ICD 9 CM 271 3OMIM 223100MeSH D007787DiseasesDB 7238thrphyakrphaynxkMedlinePlus 000276eMedicine med 3429 ped 1270Patient UK phawaimthntxaelkothsekhathungcak https th wikipedia org w index php title phawaimthntxaelkoths amp oldid 9474014, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม