fbpx
วิกิพีเดีย

กฎหมายตราสามดวง

กฎหมายตราสามดวง คือ ประมวลกฎหมายในรัชกาลที่ 1 เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชำระกฎหมายเก่าที่มีมาแต่ครั้งโบราณ แล้วรวบรวมขึ้นเมื่อจุลศักราช 1166 ตรงกับ สมุหนายก) 1 ตราพระคชสีห์ (สำหรับตำแหน่งสมุหพระกลาโหม) 1 และตราบัวแก้ว (สำหรับตำแหน่งโกษาธิบดี หมายถึงพระคลัง ซึ่งดูแลรวมทั้งกิจการด้านต่างประเทศ) ไว้ทุกเล่มเก็บไว้ ณ ห้องเครื่องชุดหนึ่ง หอหลวงชุดหนึ่ง และศาลหลวงอีกชุดหนึ่ง

กฎหมายตราสามดวง
ตราประจำตำแหน่ง 3 ดวงที่ประทับในกฎหมายตราสามดวง

กฎหมายตราสามดวงนี้ ได้ใช้อาลักษณ์หลายท่านเขียนขึ้น โดยแยกเป็น “ฉบับหลวง” และ “ฉบับรองทรง” โดยสันนิษฐานว่า สำหรับฉบับหลวง ชุดหนึ่งเป็นสมุดไทย 41 เล่ม เมื่อรวม 3 ชุด จึงมีทั้งสิ้น 123 เล่ม แต่เท่าที่พบ ในปัจจุบันเหลืออยู่เพียง 79 เล่ม โดยเก็บไว้ที่กระทรวงยุติธรรม 37 เล่ม และที่หอสมุดแห่งชาติ 41 เล่ม ส่วนอีก 44 เล่ม ไม่ทราบว่าขาดหายไปด้วยประการใด ส่วน ฉบับรองทรง นั้น ก็คือ กฎหมายตราสามดวงที่อาลักษณ์ชุดเดียวกับที่เขียนฉบับหลวง ได้เขียนขึ้น โดยเขียนในเวลาไล่เลี่ยกัน โดยฉบับหลวง เขียนในปีฉลู จ.ศ.1167 (พ.ศ. 2348) ส่วนฉบับรองทรงเขียนขึ้นในปีเถาะ จ.ศ. 1169 (พ.ศ. 2350) ข้อแตกต่างระหว่าง ฉบับหลวง และฉบับรองทรง ก็คือ ฉบับรองทรงจะไม่มีตราสามดวงประทับไว้ และฉบับหลวงจะมีอาลักษณ์สอบทาน 3 คนส่วนฉบับรองทรงมีอาลักษณ์สอบทานเพียง 2 คน สำหรับกฎหมายตราสามดวง ฉบับรองทรงนี้ ปัจจุบันนี้พบเพียง 18 เล่ม โดยเก็บรักษาไว้ที่ หอสมุดแห่งชาติ 17 เล่มและที่พิพิธภัณฑ์อัยการไทย สำนักงานอัยการสูงสุด 1 เล่ม


มูลเหตุของการชำระกฎหมายตราสามดวง

กฎหมายที่ใช้กันอยู่ในระยะแรกของกรุงรัตนโกสินทร์นั้นก็คือกฎหมายที่ใช้อยู่เมื่อครั้ง กรุงศรีอยุธยา โดยอาศัยความจำ และการคัดลอกมาตามเอกสารที่หลงเหลือ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้ทรงทำการวินิจฉัยเรื่องต่างๆ โดยอาศัยมูลอำนาจอธิปไตยของ พระองค์เองบ้าง อาศัยหลักฐานที่ได้จากการสืบสวน ฟังคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่บ้างจนกระทั่งได้เกิดคดีขึ้นคดีหนึ่งและมีการทูลเกล้าฯถวายฎีกา คดีที่เกิดขึ้นนี้แม้เป็นคดีฟ้องหย่าของชาวบ้านธรรมดา แต่ที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์กฎหมาย ก็คือผลจากคดีนี้เป็นต้นเหตุให้นำมา ซึ่งการชำระสะสางกฎหมายในสมัยนั้น เป็นคดีที่อำแดงป้อม ฟ้องหย่านายบุญศรี ช่างเหล็กหลวง ทั้งๆ ที่ตนได้ทำชู้ กับ นายราชาอรรถ และศาลได้พิพากษาให้หย่าได้ตามที่อำแดงป้อมฟ้อง โดยอาศัยการพิจารณาคดีตามบทกฎหมาย ที่มีความว่า “ชายหาผิดมิได้ หญิงขอหย่า ท่านว่าเป็นหญิงหย่าชาย หย่าได้”

เมื่อผลของคดีเป็นเช่นนี้ นายบุญศรีจึงได้นำเรื่องขึ้นทูลเกล้าถวายฎีกา ต่อพระเจ้าแผ่นดิน พระองค์ทรงเห็นด้วยกับฎีกาว่าคำพิพากษาของศาลนั้น ขัดหลักความยุติธรรม ทรงสงสัยว่าการพิจารณาพิพากษาคดีจะถูกต้องตรงตามตัวฉบับกฎหมายหรือไม่ จึงมีพระบรมราชโองการ ให้เทียบกฎหมายทั้ง 3 ฉบับ คือ ฉบับที่ศาลใช้กับฉบับที่หอหลวงและที่ห้องเครื่อง แต่ก็ปรากฏ ข้อความที่ตรงกัน เมื่อเป็นดังนี้ จึงมีพระราชดำริว่ากฎหมายนั้นไม่เหมาะสม อาจมีความคลาดเคลื่อนจากการคัดลอก สมควรที่จะจัดให้มีการชำระสะสางกฎหมายใหม่ เหมือนการสังคายนา พระไตรปิฎกจากคดีอำแดงป้อมดังกล่าวข้างต้น ได้แสดงให้เห็นหลักกฎหมายสำคัญประการหนึ่งเกี่ยวกับความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมายที่ว่าแม้แต่พระมหากษัตริย์ก็ต้องให้ความสำคัญและปฏิบัติตามไม่มีพระราชอำนาจที่จะแก้ไข เปลี่ยนแปลงกฎหมาย ตามอำเภอใจ

ในคดีนี้แม้จะทรงเห็นว่าคำตัดสินนั้นไม่สอดคล้องกับความยุติธรรม อันอาจเนื่องมาจากการคัดลอกกฎหมายมาผิด ก็ชอบที่จะจัดให้มีการชำระสะสางกฎหมายให้กลับไปสู่ความถูกต้องเหมือนการสังคายนาพระไตรปิฎก ดังพระราชปรารภที่ว่า “ให้กรรมการชำระพระราชกำหนดบทพระอายการ อันมีอยู่ในหอหลวง ตั้งแต่พระธรรมศาสตร์ไปให้ถูกถ้วน ตามบาฬีและเนื้อความ มิให้ผิดเพี้ยนซ้ำกัน ได้จัดเป็นหมวด เป็นเหล่าเข้าไว้ แล้วทรงอุตสาห ทรงชำระดัดแปลง ซึ่งบทอันวิปลาดนั้นให้ชอบโดยยุติธรรมไว้”

ความสำคัญของกฎหมายตราสามดวง

  • กฎหมายตราสามดวงมีลักษณะเป็นกฎหมายของนักกฎหมาย (Juristenrecht) กล่าวคือ กฎเกณฑ์ส่วนใหญ่ของกฎหมายตราสามดวงโดยเฉพาะในส่วนที่เป็นพระธรรมศาสตร์ ที่มีลักษณะทั่วไปและมีฐานะสูงกว่าจารีตประเพณี มีการจัดระบบกฎหมายที่เป็นระบบและมีการใช้เหตุผลของนักกฎหมายปรุงแต่ง
  • กฎหมายตราสามดวงมีลักษณะที่เป็นกฎหมายธรรมชาติ ทุกคนแม้แต่พระมหากษัตริย์ก็ต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย
  • ไม่มีการบัญญัติโดยแท้ บทกฎหมายใหม่นี้จึงเป็นผลงานของ นักกฎหมาย อันได้แก่ ศาลและพระมหากษัตริย์ ซึ่งทรงเป็นนักกฎหมายด้วย ไม่ใช่กฎหมาย ที่บัญญัติขึ้นด้วยเหตุผลทางเทคนิค โดยกระบวนการนิติบัญญัติอย่างปัจจุบัน
  • มีความนับถือตัวบทกฎหมาย เชื่อว่าไม่มีใครสามารถแก้กฎหมายได้เพราะกฎหมายไม่ใช่สิ่งที่คนสร้างขึ้น แม้แต่กษัตริย์ก็แก้ไม่ได้ หากเห็นว่ากฎหมายนั้นไม่เหมาะสมจะใช้การชำระสะสางไม่ใช่ยกร่างขึ้นใหม่หรือแก้ไขกฎหมายเดิม
  • ไม่ใช่ประมวลกฎหมายที่มีเนื้อหาครอบคลุมทุกด้านเพราะเป็นที่รวมของบทกฎหมายที่ปรุงแต่งโดยนักกฎหมายและจารีตประเพณีที่สำคัญเท่านั้น การเรียกว่าประมวลกฎหมายตราสามดวงนั้นเป็นเพียงการใช้คำว่าประมวลเพื่อยกย่องเท่านั้น
  • เป็นกฎหมายที่ใช้เป็นคู่มือในการชี้ขาดตัดสินคดีเพราะเป็นกฎหมายที่เกิดขึ้นจากการพิจารณาพิพากษาคดี และใช้ในการพิจารณาพิพากษาคดีเป็นหลัก ไม่ใช่กฎหมายที่เขียนขึ้นในลักษณะตำรากฎหมาย

ประวัติการพิมพ์เผยแพร่กฎหมายตราสามดวง

จากอดีตจนถึงปัจจุบัน กฎหมายตราสามดวงได้เคยถูกพิมพ์เผยแพร่มาแล้วอย่างน้อย 10 ครั้งดังนี้

  1. พิมพ์ครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 3 ปีระกา จุลศักราช 1211 พ.ศ. 2392 พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล) ได้นำตีพิมพ์ไว้เพียงเล่ม 1 ยังไม่จบ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่โปรด กริ้วว่า นำกฎหมายหลวงมาพิมพ์เผยแพร่ จึงยึดไปเผาทำลายเกือบทั้งหมด (อาจมีเหตุผลว่าในสมัยโบราณถือว่าบรรดาความรู้คือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นของหลวงหวงห้าม จะรู้ได้เฉพาะชนชั้นปกครองเท่านั้น)
  2. พิมพ์ครั้งที่สอง ในสมัยรัชกาลที่ 4 พ.ศ. 2406 หมอบรัดเลย์ได้ตีพิมพ์จำหน่ายรวม 2 เล่ม เรียกชื่อว่า กฎหมายเมืองไทย 2 เล่ม หรือ กฎหมายหมอบรัดเลย์
  3. พิมพ์ครั้งที่สาม พิมพ์ก่อนปี พ.ศ. 2444 แต่ไม่ระบุว่าเป็นปี พ.ศ.ใด หลวงดำรงธรรมสาร ผู้พิพากษาศาลอาญาจัดพิมพ์ขึ้น เรียกชื่อว่า กฎหมายเก่าใหม่
  4. พิมพ์ครั้งที่สี่ ใน ร.ศ. 120 พ.ศ. 2444 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงจัดบทใหม่ อธิบายเหตุผลในหัวข้อกฎหมายให้เข้าใจง่ายขึ้น เพื่อใช้ประโยชน์สำหรับผู้พิพากษา และเป็นคู่มือทนายว่าความเรียกว่ากฎหมายราชบุรี มี 2 เล่ม
  5. พิมพ์ครั้งที่ห้า พ.ศ. 2473 โรงพิมพ์นิติสาสน์ ได้ถ่ายทำแม่พิมพ์จากสมุดไทย พิมพ์เผยแพร่ไว้ในชุด "ประชุมกฎหมายไทย"
  6. พิมพ์ครั้งที่หก พ.ศ. 2474 ราชบัณฑิตยสภาจัดพิมพ์ เฉพาะลักษณ์อาชญาหลวงและลักษณะอาชญาราษฎร์ ในงานพระราชทานเพลิงศพมหาอำมาตย์ตรี พระยาลพะนรินทร์ เรืองศักดิ์
  7. พิมพ์ครั้งที่เจ็ด ระหว่าง พ.ศ. 2481–2482 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองได้ให้ ร.แลงกาต์ ดอกเตอร์กฎหมายฝรั่งเศสเป็นผู้ชำระใหม่และจัดพิมพ์เป็นหนังสือ 3 เล่ม เรียกว่า ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1 จุลศักราช 1166 พิมพ์ตามฉบับหลวงตรา 3 ดวง
  8. พิมพ์ครั้งที่แปด หลังจากการพิมพ์ครั้งที่เจ็ดเล็กน้อย นายร้อยตำรวจโทเสถียร ลายลักษณ์ ได้พิมพ์บทกฎหมายตราสามดวงในหนังสือ ประชุมกฎหมายประจำศก ซึ่งมีจำนวน 69 เล่ม โดยกฎหมายตราสามดวงอยู่ในเล่มที่ 3 และ 4
  9. ในยุคปัจจุบันนี้ มีการจัดพิมพ์กฎหมายตราสามดวงอีกสามครั้ง คือ องค์การค้าของคุรุสภา 2 ครั้ง ใน พ.ศ. 2505 และ พ.ศ. 2515 และของกรมศิลปากร 1 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2521 โดยในการพิมพ์ยุคปัจจุบันได้ยึดต้นฉบับของ ร.แลงกาต์ ซึ่งถือว่าสมบูรณ์ที่สุดเป็นบรรทัดฐาน
  10. ล่าสุดเมื่อปี พ.ศ. 2548 สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ จัดพิมพ์ กฎหมายตราสามดวง โดยใช้ชื่อหนังสือชุดนี้ว่า "กฎหมายตรา 3 ดวง : ฉบับพิมพ์มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง แก้ไขปรับปรุงใหม่" ซึ่งมี 3 เล่ม ใน 1 ชุด โดยยึดเอา "ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1 จุลศักราช 1166" ฉบับปี พ.ศ. 2481 เป็นหลัก เพราะ ถือว่าเป็นกฎหมายตราสามดวงฉบับพิมพ์ที่ดีที่สุดแล้ว

การเลิกกฎหมายตราสามดวง

กฎหมายตราสามดวงได้เป็นกฎหมายหลักของประเทศที่ใช้บังคับมาตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกจนถึงแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นระยะเวลานานถึง 103 ปี จนกระทั่งมีการปฏิรูประบบกฎหมายและการศาลตามแบบประเทศมหาอำนาจยุโรป จึงได้เลิกใช้กฎหมายตราสามดวง[ต้องการอ้างอิง]

แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม

หนังสือและบทความ

  • กำธร เลี้ยงสัจธรรม (บรรณาธิการ), กฎหมายตรา 3 ดวง : ฉบับพิมพ์มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง แก้ไขปรับปรุงใหม่, สถาบันปรีดี พนมยงค์, 2548
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. หยดเลือด จารึก และแท่นพิมพ์: ว่าด้วยความรู้/ความจริงของชนชั้นนำสยาม พ.ศ. 2325-2411. กรุงเทพฯ: Illuminations Editions, 2561. ISBN 9786169313823

กฎหมายตราสามดวง, บทความน, ได, บแจ, งให, ปร, บปร, งหลายข, กร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความ, หร, ออภ, ปรายป, ญหาท, หน, าอภ, ปราย, บทความน, องการพ, จน, กษร, อาจเป, นด, านการใช, ภาษา, การสะกด, ไวยากรณ, ปแบบการเข, ยน, หร, อการแปลจากภาษาอ, บทความน, งขาดแหล, งอ, างอ, งเพ,. bthkhwamniidrbaecngihprbprunghlaykhx krunachwyprbprungbthkhwam hruxxphipraypyhathihnaxphipray bthkhwamnitxngkarphisucnxksr xacepndankarichphasa karsakd iwyakrn rupaebbkarekhiyn hruxkaraeplcakphasaxun bthkhwamniyngkhadaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkdhmaytrasamdwng khux pramwlkdhmayinrchkalthi 1 enuxngcakphrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkmharachidthrngphrakrunaoprdekla ihcharakdhmayekathimimaaetkhrngobran aelwrwbrwmkhunemuxculskrach 1166 trngkb smuhnayk 1 traphrakhchsih sahrbtaaehnngsmuhphraklaohm 1 aelatrabwaekw sahrbtaaehnngoksathibdi hmaythungphrakhlng sungduaelrwmthngkickardantangpraeths iwthukelmekbiw n hxngekhruxngchudhnung hxhlwngchudhnung aelasalhlwngxikchudhnungkdhmaytrasamdwng trapracataaehnng 3 dwngthiprathbinkdhmaytrasamdwng kdhmaytrasamdwngni idichxalksnhlaythanekhiynkhun odyaeykepn chbbhlwng aela chbbrxngthrng odysnnisthanwa sahrbchbbhlwng chudhnungepnsmudithy 41 elm emuxrwm 3 chud cungmithngsin 123 elm aetethathiphb inpccubnehluxxyuephiyng 79 elm odyekbiwthikrathrwngyutithrrm 37 elm aelathihxsmudaehngchati 41 elm swnxik 44 elm imthrabwakhadhayipdwyprakarid swn chbbrxngthrng nn kkhux kdhmaytrasamdwngthixalksnchudediywkbthiekhiynchbbhlwng idekhiynkhun odyekhiyninewlaileliykn odychbbhlwng ekhiyninpichlu c s 1167 ph s 2348 swnchbbrxngthrngekhiynkhuninpiethaa c s 1169 ph s 2350 khxaetktangrahwang chbbhlwng aelachbbrxngthrng kkhux chbbrxngthrngcaimmitrasamdwngprathbiw aelachbbhlwngcamixalksnsxbthan 3 khnswnchbbrxngthrngmixalksnsxbthanephiyng 2 khn sahrbkdhmaytrasamdwng chbbrxngthrngni pccubnniphbephiyng 18 elm odyekbrksaiwthi hxsmudaehngchati 17 elmaelathiphiphithphnthxykarithy sanknganxykarsungsud 1 elm enuxha 1 mulehtukhxngkarcharakdhmaytrasamdwng 2 khwamsakhykhxngkdhmaytrasamdwng 3 prawtikarphimphephyaephrkdhmaytrasamdwng 4 karelikkdhmaytrasamdwng 5 aehlngkhnkhwaephimetim 5 1 hnngsuxaelabthkhwammulehtukhxngkarcharakdhmaytrasamdwng aekikhkdhmaythiichknxyuinrayaaerkkhxngkrungrtnoksinthrnnkkhuxkdhmaythiichxyuemuxkhrng krungsrixyuthya odyxasykhwamca aelakarkhdlxkmatamexksarthihlngehlux phrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkmharachidthrngthakarwinicchyeruxngtang odyxasymulxanacxthipitykhxng phraxngkhexngbang xasyhlkthanthiidcakkarsubswn fngkhabxkelakhxngphuethaphuaekbangcnkrathngidekidkhdikhunkhdihnungaelamikarthuleklathwaydika khdithiekidkhunniaemepnkhdifxnghyakhxngchawbanthrrmda aetthimikhwamsakhyinthangprawtisastrkdhmay kkhuxphlcakkhdiniepntnehtuihnama sungkarcharasasangkdhmayinsmynn epnkhdithixaaedngpxm fxnghyanaybuysri changehlkhlwng thng thitnidthachu kb nayrachaxrrth aelasalidphiphaksaihhyaidtamthixaaedngpxmfxng odyxasykarphicarnakhditambthkdhmay thimikhwamwa chayhaphidmiid hyingkhxhya thanwaepnhyinghyachay hyaid emuxphlkhxngkhdiepnechnni naybuysricungidnaeruxngkhunthuleklathwaydika txphraecaaephndin phraxngkhthrngehndwykbdikawakhaphiphaksakhxngsalnn khdhlkkhwamyutithrrm thrngsngsywakarphicarnaphiphaksakhdicathuktxngtrngtamtwchbbkdhmayhruxim cungmiphrabrmrachoxngkar ihethiybkdhmaythng 3 chbb khux chbbthisalichkbchbbthihxhlwngaelathihxngekhruxng aetkprakt khxkhwamthitrngkn emuxepndngni cungmiphrarachdariwakdhmaynnimehmaasm xacmikhwamkhladekhluxncakkarkhdlxk smkhwrthicacdihmikarcharasasangkdhmayihm ehmuxnkarsngkhayna phraitrpidkcakkhdixaaedngpxmdngklawkhangtn idaesdngihehnhlkkdhmaysakhyprakarhnungekiywkbkhwamskdisiththikhxngkdhmaythiwaaemaetphramhakstriyktxngihkhwamsakhyaelaptibtitamimmiphrarachxanacthicaaekikh epliynaeplngkdhmay tamxaephxicinkhdiniaemcathrngehnwakhatdsinnnimsxdkhlxngkbkhwamyutithrrm xnxacenuxngmacakkarkhdlxkkdhmaymaphid kchxbthicacdihmikarcharasasangkdhmayihklbipsukhwamthuktxngehmuxnkarsngkhaynaphraitrpidk dngphrarachprarphthiwa ihkrrmkarcharaphrarachkahndbthphraxaykar xnmixyuinhxhlwng tngaetphrathrrmsastripihthukthwn tambaliaelaenuxkhwam miihphidephiynsakn idcdepnhmwd epnehlaekhaiw aelwthrngxutsah thrngcharaddaeplng sungbthxnwipladnnihchxbodyyutithrrmiw khwamsakhykhxngkdhmaytrasamdwng aekikhkdhmaytrasamdwngmilksnaepnkdhmaykhxngnkkdhmay Juristenrecht klawkhux kdeknthswnihykhxngkdhmaytrasamdwngodyechphaainswnthiepnphrathrrmsastr thimilksnathwipaelamithanasungkwacaritpraephni mikarcdrabbkdhmaythiepnrabbaelamikarichehtuphlkhxngnkkdhmayprungaetng kdhmaytrasamdwngmilksnathiepnkdhmaythrrmchati thukkhnaemaetphramhakstriyktxngxyuphayitkdhmay immikarbyytiodyaeth bthkdhmayihmnicungepnphlngankhxng nkkdhmay xnidaek salaelaphramhakstriy sungthrngepnnkkdhmaydwy imichkdhmay thibyytikhundwyehtuphlthangethkhnikh odykrabwnkarnitibyytixyangpccubn mikhwamnbthuxtwbthkdhmay echuxwaimmiikhrsamarthaekkdhmayidephraakdhmayimichsingthikhnsrangkhun aemaetkstriykaekimid hakehnwakdhmaynnimehmaasmcaichkarcharasasangimichykrangkhunihmhruxaekikhkdhmayedim imichpramwlkdhmaythimienuxhakhrxbkhlumthukdanephraaepnthirwmkhxngbthkdhmaythiprungaetngodynkkdhmayaelacaritpraephnithisakhyethann kareriykwapramwlkdhmaytrasamdwngnnepnephiyngkarichkhawapramwlephuxykyxngethann epnkdhmaythiichepnkhumuxinkarchikhadtdsinkhdiephraaepnkdhmaythiekidkhuncakkarphicarnaphiphaksakhdi aelaichinkarphicarnaphiphaksakhdiepnhlk imichkdhmaythiekhiynkhuninlksnatarakdhmayprawtikarphimphephyaephrkdhmaytrasamdwng aekikhcakxditcnthungpccubn kdhmaytrasamdwngidekhythukphimphephyaephrmaaelwxyangnxy 10 khrngdngni phimphkhrngaerkinsmyrchkalthi 3 piraka culskrach 1211 ph s 2392 phrayakrasapnkicoksl ohmd xmatykul idnatiphimphiwephiyngelm 1 yngimcb phrabathsmedcphranngeklaecaxyuhwimoprd kriwwa nakdhmayhlwngmaphimphephyaephr cungyudipephathalayekuxbthnghmd xacmiehtuphlwainsmyobranthuxwabrrdakhwamrukhuxsingskdisiththi epnkhxnghlwnghwngham caruidechphaachnchnpkkhrxngethann phimphkhrngthisxng insmyrchkalthi 4 ph s 2406 hmxbrdelyidtiphimphcahnayrwm 2 elm eriykchuxwa kdhmayemuxngithy 2 elm hrux kdhmayhmxbrdely phimphkhrngthisam phimphkxnpi ph s 2444 aetimrabuwaepnpi ph s id hlwngdarngthrrmsar phuphiphaksasalxayacdphimphkhun eriykchuxwa kdhmayekaihm phimphkhrngthisi in r s 120 ph s 2444 phraecabrmwngsethx krmhlwngrachburidierkvththi thrngcdbthihm xthibayehtuphlinhwkhxkdhmayihekhaicngaykhun ephuxichpraoychnsahrbphuphiphaksa aelaepnkhumuxthnaywakhwameriykwakdhmayrachburi mi 2 elm phimphkhrngthiha ph s 2473 orngphimphnitisasn idthaythaaemphimphcaksmudithy phimphephyaephriwinchud prachumkdhmayithy phimphkhrngthihk ph s 2474 rachbnthitysphacdphimph echphaalksnxachyahlwngaelalksnaxachyarasdr innganphrarachthanephlingsphmhaxamatytri phrayalphanrinthr eruxngskdi phimphkhrngthiecd rahwang ph s 2481 2482 mhawithyalythrrmsastraelakaremuxngidih r aelngkat dxketxrkdhmayfrngessepnphucharaihmaelacdphimphepnhnngsux 3 elm eriykwa pramwlkdhmayrchkalthi 1 culskrach 1166 phimphtamchbbhlwngtra 3 dwng phimphkhrngthiaepd hlngcakkarphimphkhrngthiecdelknxy nayrxytarwcothesthiyr laylksn idphimphbthkdhmaytrasamdwnginhnngsux prachumkdhmaypracask sungmicanwn 69 elm odykdhmaytrasamdwngxyuinelmthi 3 aela 4 inyukhpccubnni mikarcdphimphkdhmaytrasamdwngxiksamkhrng khux xngkhkarkhakhxngkhuruspha 2 khrng in ph s 2505 aela ph s 2515 aelakhxngkrmsilpakr 1 khrng inpi ph s 2521 odyinkarphimphyukhpccubnidyudtnchbbkhxng r aelngkat sungthuxwasmburnthisudepnbrrthdthan lasudemuxpi ph s 2548 sthabnpridi phnmyngkh id cdphimph kdhmaytrasamdwng odyichchuxhnngsuxchudniwa kdhmaytra 3 dwng chbbphimphmhawithyalywichathrrmsastraelakaremuxng aekikhprbprungihm sungmi 3 elm in 1 chud odyyudexa pramwlkdhmayrchkalthi 1 culskrach 1166 chbbpi ph s 2481 epnhlk ephraa thuxwaepnkdhmaytrasamdwngchbbphimphthidithisudaelwkarelikkdhmaytrasamdwng aekikhkdhmaytrasamdwngidepnkdhmayhlkkhxngpraethsthiichbngkhbmatngaetaephndinphrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkcnthungaephndinphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw epnrayaewlananthung 103 pi cnkrathngmikarptiruprabbkdhmayaelakarsaltamaebbpraethsmhaxanacyuorp cungidelikichkdhmaytrasamdwng txngkarxangxing aehlngkhnkhwaephimetim aekikhhnngsuxaelabthkhwam aekikh kathr eliyngscthrrm brrnathikar kdhmaytra 3 dwng chbbphimphmhawithyalywichathrrmsastraelakaremuxng aekikhprbprungihm sthabnpridi phnmyngkh 2548 elm1 ISBN 9744096527 elm2 ISBN 9744096535 elm3 ISBN 9744096543 thwiskdi ephuxksm hydeluxd caruk aelaaethnphimph wadwykhwamru khwamcringkhxngchnchnnasyam ph s 2325 2411 krungethph Illuminations Editions 2561 ISBN 9786169313823 bthkhwamekiywkbkdhmayniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title kdhmaytrasamdwng amp oldid 9306107, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม