fbpx
วิกิพีเดีย

การคลอดลำบาก

การคลอดลำบาก (อังกฤษ: Dystocia) เป็นความผิดปกติของการคลอดหรือการเจ็บครรภ์ที่ช้าหรือยากกว่าปกติ ประมาณการณ์ว่าทุก 1 ใน 5 ของการเจ็บครรภ์คลอดเป็นการคลอดลำบาก ภาวะนี้อาจเกิดจากการทำงานไม่สัมพันธ์กันของกล้ามเนื้อมดลูก ทารกอยู่ในท่าหรือส่วนนำที่ผิดปกติ สัดส่วนของศีรษะทารกและเชิงกรานมารดาไม่ได้สัดส่วนกัน หรือที่พบน้อยมากคือเนื้องอกของทารกในครรภ์ขนาดใหญ่เช่นเนื้องอกวิรูปบริเวณก้นกบร่วมกระเบนเหน็บ (sacrococcygeal teratoma)

การคลอดลำบาก
(Dystocia)
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
DiseasesDB4025
eMedicinemed/3280
MeSHD004420

ออกซีโทซิน (Oxytocin) มักใช้เป็นยาเพื่อแก้ไขการทำงานไม่สัมพันธ์กันของกล้ามเนื้อมดลูก อย่างไรก็ตามการตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนอย่างการคลอดลำบากมักจบลงด้วยการใช้อุปกรณ์ช่วยคลอดเช่นคีม เครื่องดูดสุญญากาศ หรือการผ่าท้องทำคลอด ภาวะแทรกซ้อนที่อาจพบได้ในการคลอดลำบากได้แก่ทารกเสียชีวิต การกดการหายใจของทารก โรคสมองขาดเลือด (Hypoxic Ischaemic Encephalopathy; HIE) และเส้นประสาทในข่ายประสาทแขนบาดเจ็บ ภาวะที่สัมพันธ์กับการเพิ่มความเสี่ยงของการคลอดลำบากคือ ระยะห่างระหว่างการตั้งครรภ์แต่ละครั้งยาวนานผิดปกติ (prolonged interval between pregnancies), หญิงมีครรภ์แรก, และการตั้งครรภ์แฝด

การคลอดไหล่ยาก (Shoulder dystocia) เป็นการคลอดยากชนิดหนึ่งซึ่งไหล่หน้าของทารกไม่สามารถผ่านแนวประสานกระดูกหัวหน่าว (pubic symphysis) หรือต้องอาศัยการดึงอย่างมากเพื่อให้ไหล่ผ่านใต้แนวประสานกระดูกหัวหน่าว

อ้างอิง

  1. Zhu, BP (2006). "Labor dystocia and its association with interpregnancy interval". American Journal of Obstetrics and Gynecology. 85: 810–814. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)

การคลอดลำบาก, งกฤษ, dystocia, เป, นความผ, ดปกต, ของการคลอดหร, อการเจ, บครรภ, าหร, อยากกว, าปกต, ประมาณการณ, าท, ใน, ของการเจ, บครรภ, คลอดเป, ภาวะน, อาจเก, ดจากการทำงานไม, มพ, นธ, นของกล, ามเน, อมดล, ทารกอย, ในท, าหร, อส, วนนำท, ดปกต, ดส, วนของศ, รษะทารกและเช, . karkhlxdlabak xngkvs Dystocia epnkhwamphidpktikhxngkarkhlxdhruxkarecbkhrrphthichahruxyakkwapkti pramankarnwathuk 1 in 5 khxngkarecbkhrrphkhlxdepnkarkhlxdlabak phawanixacekidcakkarthanganimsmphnthknkhxngklamenuxmdluk tharkxyuinthahruxswnnathiphidpkti sdswnkhxngsirsatharkaelaechingkranmardaimidsdswnkn hruxthiphbnxymakkhuxenuxngxkkhxngtharkinkhrrphkhnadihyechnenuxngxkwirupbriewnknkbrwmkraebnehnb sacrococcygeal teratoma karkhlxdlabak Dystocia bychicaaenkaelalingkipphaynxkDiseasesDB4025eMedicinemed 3280MeSHD004420xxksiothsin Oxytocin mkichepnyaephuxaekikhkarthanganimsmphnthknkhxngklamenuxmdluk xyangirktamkartngkhrrphthimiphawaaethrksxnxyangkarkhlxdlabakmkcblngdwykarichxupkrnchwykhlxdechnkhim ekhruxngdudsuyyakas hruxkarphathxngthakhlxd phawaaethrksxnthixacphbidinkarkhlxdlabakidaektharkesiychiwit karkdkarhayickhxngthark orkhsmxngkhadeluxd Hypoxic Ischaemic Encephalopathy HIE aelaesnprasathinkhayprasathaekhnbadecb phawathismphnthkbkarephimkhwamesiyngkhxngkarkhlxdlabakkhux rayahangrahwangkartngkhrrphaetlakhrngyawnanphidpkti prolonged interval between pregnancies hyingmikhrrphaerk aelakartngkhrrphaefd 1 karkhlxdihlyak Shoulder dystocia epnkarkhlxdyakchnidhnungsungihlhnakhxngtharkimsamarthphanaenwprasankradukhwhnaw pubic symphysis hruxtxngxasykardungxyangmakephuxihihlphanitaenwprasankradukhwhnawxangxing aekikh Zhu BP 2006 Labor dystocia and its association with interpregnancy interval American Journal of Obstetrics and Gynecology 85 810 814 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karkhlxdlabak amp oldid 4700716, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม