fbpx
วิกิพีเดีย

การลดขั้ว

ในชีววิทยา การลดขั้ว (อังกฤษ: depolarization) เป็นความเปลี่ยนแปลงของศักย์เยื่อหุ้มเซลล์ โดยความเป็นขั้วบวกมากขึ้น หรือเป็นขั้วลบน้อยลง ในเซลล์ประสาทหรือเซลล์อย่างอื่นบางอย่าง และถ้าการลดขั้วมีระดับที่สูงพอ ก็จะทำให้เกิดศักยะงานในเซลล์ได้ การเพิ่มขั้ว (Hyperpolarization) เป็นขบวนการตรงข้ามกับการลดขั้ว เป็นการยับยั้งหรือห้ามการเกิดขึ้นของศักยะงาน

กลไก

ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเซลล์มีศักย์พัก (resting potential) ที่ -70 มิลลิโวลต์ เมื่อศักย์เยื่อหุ้มเซลล์ลดลงไปถึง -50 มิลลิโวลต์ นั่นเรียกว่า เซลล์มีการลดขั้วลงแล้ว การลดขั้วบ่อยครั้งเกิดจากการไหลเข้าของแคตไอออน เช่น Na+ ผ่านประตูโซเดียม+, หรือ Ca2+ ผ่าน ประตูแคลเซียม2+

โดยนัยตรงกันข้าม การไหลออกของ K+ ผ่าน ประตูโปแทสเซียม+ ยับยั้งการลดขั้ว และการไหลเข้าของ Cl- (แอนไอออนประเภทหนึ่ง) ผ่าน ประตูคลอไรด์- ก็เช่นกัน ถ้าเซลล์มีกระแสไฟฟ้า K+ หรือ Cl- ไหลเข้าหรือไหลออกที่ศักย์พัก (resting potential) การเข้าไปห้ามกระแสไฟฟ้านั้นก็จะเป็นการลดขั้วเช่นกัน

เพราะว่าการลดขั้วเป็นความเปลี่ยนแปลงของความต่างศักย์ของเยื่อหุ้มเซลล์ นักสรีรวิทยาไฟฟ้าวัดกระบวนการนั้นโดยใช้เทคนิค voltage clamp คือ ถ้ากระแสไฟฟ้าขาเข้าเพิ่มขึ้น หรือกระแสไฟฟ้าขาออกลดลง กระแสไฟฟ้าผ่านเยื่อหุ้มเซลล์นั้นก็จะทำให้เกิดการลดขั้ว

สารหยุดการลดขั้ว

มียาประเภทหนึ่งเรียกว่า สารหยุดการลดขั้ว (depolarization blocking agents) ซึ่งก่อให้เกิดการลดขั้วเป็นระยะเวลานานโดยเปิดประตู (channel) ที่ก่อให้เกิดการลดขั้วและห้ามการปิดประตูนั้น เป็นการห้ามเยื่อหุ้มเซลล์ไม่ให้มีศักย์กลับไปที่ศักย์พักในขณะที่ยากำลังออกฤทธิ์ ตัวอย่างของยาก็คือยาประเภท nicotinic agonist เช่น suxamethonium และ decamethonium

หมายเหตุและอ้างอิง

  1. nicotinic agonist เป็นประเภทของยาที่มีฤทธิ์เหมือนกับสาร acetylcholine ต่อ nicotinic acetylcholine receptor ซึ่งเป็นหน่วยรับความรู้สึกที่มีปฏิกิริยากับสาร acetylcholine
  2. Rang, H. P. (2003). Pharmacology. Edinburgh: Churchill Livingstone. ISBN 0-443-07145-4. Page 149

แหล่งข้อมูลอื่นๆ

  • Purves D, Augustine GJ, Fitzpatrick D; และคณะ, บ.ก. (2001). Neuroscience (2. ed.). Sunderland, Mass: Sinauer Assoc. ISBN 0-87893-742-0. Explicit use of et al. in: |editor= (help)CS1 maint: multiple names: editors list (link)
  • "ภาพเคลื่อนการลดขั้ว". Psychology Department, Hanover College. สืบค้นเมื่อ 18 May 2013.

การลดข, ในช, วว, ทยา, งกฤษ, depolarization, เป, นความเปล, ยนแปลงของศ, กย, เย, อห, มเซลล, โดยความเป, นข, วบวกมากข, หร, อเป, นข, วลบน, อยลง, ในเซลล, ประสาทหร, อเซลล, อย, างอ, นบางอย, าง, และถ, าม, ระด, บท, งพอ, จะทำให, เก, ดศ, กยะงานในเซลล, ได, การเพ, มข, hyperp. inchiwwithya karldkhw xngkvs depolarization epnkhwamepliynaeplngkhxngskyeyuxhumesll odykhwamepnkhwbwkmakkhun hruxepnkhwlbnxylng inesllprasathhruxesllxyangxunbangxyang aelathakarldkhwmiradbthisungphx kcathaihekidskyanganinesllid karephimkhw Hyperpolarization epnkhbwnkartrngkhamkbkarldkhw epnkarybynghruxhamkarekidkhunkhxngskyangan enuxha 1 klik 2 sarhyudkarldkhw 3 hmayehtuaelaxangxing 4 aehlngkhxmulxunklik aekikhyktwxyangechn thaesllmiskyphk resting potential thi 70 milliowlt emuxskyeyuxhumesllldlngipthung 50 milliowlt nneriykwa esllmikarldkhwlngaelw karldkhwbxykhrngekidcakkarihlekhakhxngaekhtixxxn echn Na phanpratuosediym hrux Ca2 phan pratuaekhlesiym2 odynytrngknkham karihlxxkkhxng K phan pratuopaethsesiym ybyngkarldkhw aelakarihlekhakhxng Cl aexnixxxnpraephthhnung phan pratukhlxird kechnkn thaesllmikraaesiffa K hrux Cl ihlekhahruxihlxxkthiskyphk resting potential karekhaiphamkraaesiffannkcaepnkarldkhwechnknephraawakarldkhwepnkhwamepliynaeplngkhxngkhwamtangskykhxngeyuxhumesll nksrirwithyaiffawdkrabwnkarnnodyichethkhnikh voltage clamp khux thakraaesiffakhaekhaephimkhun hruxkraaesiffakhaxxkldlng kraaesiffaphaneyuxhumesllnnkcathaihekidkarldkhwsarhyudkarldkhw aekikhmiyapraephthhnungeriykwa sarhyudkarldkhw depolarization blocking agents sungkxihekidkarldkhwepnrayaewlananodyepidpratu channel thikxihekidkarldkhwaelahamkarpidpratunn epnkarhameyuxhumesllimihmiskyklbipthiskyphkinkhnathiyakalngxxkvththi twxyangkhxngyakkhuxyapraephth nicotinic agonist 1 echn suxamethonium aela decamethonium 2 hmayehtuaelaxangxing aekikh nicotinic agonist epnpraephthkhxngyathimivththiehmuxnkbsar acetylcholine tx nicotinic acetylcholine receptor sungepnhnwyrbkhwamrusukthimiptikiriyakbsar acetylcholine Rang H P 2003 Pharmacology Edinburgh Churchill Livingstone ISBN 0 443 07145 4 Page 149aehlngkhxmulxun aekikhPurves D Augustine GJ Fitzpatrick D aelakhna b k 2001 Neuroscience 2 ed Sunderland Mass Sinauer Assoc ISBN 0 87893 742 0 Explicit use of et al in editor help CS1 maint multiple names editors list link phaphekhluxnkarldkhw Psychology Department Hanover College subkhnemux 18 May 2013 bthkhwamekiywkbchiwwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title karldkhw amp oldid 5604724, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม