fbpx
วิกิพีเดีย

การแผ่รังสีจากนิวตรอน

การแผ่รังสีจากนิวตรอน (อังกฤษ: Neutron radiation) เป็น การแผ่รังสีโดยการแตกตัวเป็นไอออน ชนิดหนึ่งซึ่งประกอบด้วยกลุ่มนิวตรอนอิสระที่เป็นผลมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันหรือปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน ปฏิกิริยาดังกล่าวจะทำให้มีการปลดปล่อยนิวตรอนอิสระจากอะตอม นิวตรอนอิสระเหล่านี้จะทำปฏิกิริยากับนิวเคลียสของอะตอมอื่น ๆ เพื่อก่อตัวเป็นไอโซโทปใหม่ซึ่งอาจเป็นผลให้มีการผลิตรังสี

แหล่งที่มา

บทความหลัก: แหล่งนิวตรอน

ดูเพิ่มเติม: หมวดหมู่: แหล่งนิวตรอน

นิวตรอนอาจถูกปล่อยออกมาจากนิวเคลียร์ฟิวชันหรือนิวเคลียร์ฟิชชัน หรือจาก ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ที่แตกต่างกันใด ๆ เช่นจาก การสลายให้กัมมันตรังสี หรือปฏิกิริยาจากการปฏิสัมพันธ์กันของอนุภาค (เช่นจากรังสีคอสมิกหรือเครื่องเร่งอนุภาค) แหล่งนิวตรอนขนาดใหญ่เป็นของหายากและมักจะจำกัดอยู่ในอุปกรณ์ขนาดใหญ่เช่น เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ หรือ เครื่องเร่งอนุภาค (เช่นแหล่งที่มาของนิวตรอนแบบ Spallation)

การแผ่รังสีจากนิวตรอนถูกค้นพบเป็นผลมาจากการสังเกตนิวเคลียสของเบริลเลียมที่ทำปฏิกิริยากับอนุภาคแอลฟา จึงเป็นการแปลงไปเป็นนิวเคลียสของคาร์บอนและปลดปล่อยนิวตรอนออกมาหนึ่งตัว, Be(α,n)C หรือ (Be + α = n + C) การรวมกันของตัวปล่อยอนุภาคแอลฟาและไอโซโทปที่มีความน่าจะเป็นของปฏิกิริยานิวเคลียร์ (α,n) ขนาดใหญ่ยังคงเป็นแหล่งที่มาของนิวตรอนที่พบบ่อย

รังสีนิวตรอนจากฟิชชัน

นิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จะมีการแบ่งประเภทโดยทั่วไปเป็นนิวตรอนช้า (นิวตรอนความร้อน) หรือเป็น นิวตรอนเร็ว ขึ้นอยู่กับพลังงานของมัน นิวตรอนความร้อนจะมีการกระจายพลังงาน (การกระจายแบบ Maxwell-Boltzmann) ที่คล้ายกับกันก๊าซที่อยู่ในภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์ แต่จะถูกจับยึดได้ง่ายโดยนิวเคลียสของอะตอมและเป็นวิธีการเบื้องต้นที่องค์ประกอบทั้งหลายจะมีการกลายพันธ์ของอะตอม

เพื่อให้บรรลุปฏิกิริยาลูกโซ่ฟิวชั่นที่มีประสิทธิภาพ นิวตรอนที่ถูกผลิตในระหว่างฟิชชันจะต้องถูกจับยึดโดยนิวเคลียสที่ทำฟิชชันได้ จากนั้นก็ทำการแยกนิวเคลียสออก แล้วก็ปลดปล่อยนิวตรอนมากขึ้นไปอีก ในการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์แบบฟิชชันส่วนมาก เชื้อเพลิงนิวเคลียร์จะไม่ถูกกลั่นให้ดีพอที่จะสามารถที่จะดูดซับนิวตรอนเร็วที่จะยืดยาวปฏิกิริยาลูกโซ่ฟิชชันให้ดำเนินการต่อไป และเนื่องจากมีการลดลงของ ภาคตัดขวาง ของนิวตรอนพลังงานสูง ดังนั้น ตัวหน่วงนิวตรอน จะต้องถูกนำมาใช้เพื่อชะลอความเร็วของนิวตรอนเร็วลงไปที่ความเร็วของนิวตรอนความร้อนเพื่อที่จะเปิดให้มีการดูดซึมที่เพียงพอ ตัวหน่วงนิวตรอนที่พบบ่อยได้แก่ แกรไฟท์, น้ำเบา (น้ำทั่วไป), และน้ำหนัก เครื่องปฏิกรณ์ไม่กี่ตัว (เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบนิวตรอนเร็ว) และ อาวุธนิวเคลียร์ ทั้งหมดจะต้องพึ่งพานิวตรอนเร็ว ซึ่งจำเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงบางอย่างในการออกแบบและในเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ใช้ องค์ประกอบของสาร เบริลเลียม จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งเนื่องจากความสามารถของมันในการทำหน้าที่เป็นตัวเบี่ยงเบนนิวตรอนหรือเลนส์ มันยอมให้มีการใช้วัสดุฟิสไซล์ในปริมาณที่น้อยกว่าและเป็นเบื้องต้นของการพัฒนาทางเทคนิคที่นำไปสู่​​การสร้าง ระเบิดนิวตรอน

นิวตรอนจากรังสีคอสมิก

นิวตรอนจากรังสีคอสมิก (อังกฤษ: Cosmogenic neutrons) เป็นนิวตรอนที่ผลิตจากรังสีคอสมิกในชั้นบรรยากาศหรือพื้นผิวของโลก และพวกที่ถูกผลิตในเครื่องเร่งอนุภาคสามารถมีพลังงานที่สูงอย่างมีนัยสำคัญกว่าพวกที่พบในเครื่องปฏิกรณ์ ส่วนใหญ่ของพวกมันจะกระตุ้นนิวเคลียสก่อนที่จะถึงพื้นดิน; ไม่กี่ตัวจะทำปฏิกิริยากับนิวเคลียสในอากาศ ปฏิกิริยากับ ไนโตรเจน-14 นำไปสู่การก่อตัวของ คาร์บอน-14 ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายใน การหาอายุจากรังสีคาร์บอน

ประโยชน์

อ้างอิง

  1. ต้นกำเนิดนิวตรอนแบบสปอลเลชัน, เป็นต้นกำเนิดนิวตรอนรุ่นใหม่ จัดเป็นเครื่องผลิตนิวตรอนพลังงานสูงชนิดหนึ่ง มีหลักการทำงานคือ เมื่อยิงโปรตรอนพลังงานสูง (มากกว่า 100 ล้าน อิเล็กตรอนโวลต์) เข้าไปในเป้าซึ่งเป็นธาตุหนัก เช่น แทนทาลัม ทังสเตน และยูเรเนียม จะทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบสปอลเลชั่น และมีการปลดปล่อยนิวตรอน พร้อมทั้งอนุภาคชนิดอื่นๆ เช่นโปรตรอน และเกิดปฏิกิริยาต่อเนื่องหลั่นกันไป (cascade) ต้นกำเนิดนิวตรอนชนิดนี้ ให้นิวตรอนพลังงานเฉลี่ยประ มาณ 1 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ จำนวนประมาณ 10-30 เท่าของการยิงโปรตรอน 1 อนุภาค นิวตรอนที่ผลิตขึ้นนี้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในงานวิจัยด้านต่างๆ ต้นกำเนิดนิวตรอนแบบ สปอลเลชันเครื่องแรกมีชื่อว่า KENSตั้งอยู่ที่สถาบัน KEK (National Laboratory for High Energy Physics) ประเทศญี่ปุ่น เริ่มใช้งานครั้งแรกในปี พ.ศ.2523 สำหรับต้นกำเนิดนิวตรอนแบบสปอลเลชัน ที่ให้นิวตรอนเข้มข้นสูงสุดในปัจจุบันคือ ISIS ของ Rutherford Appleton Laboratory ประเทศอังกฤษ เริ่มเดินเครื่องในปี พ.ศ. 2527 และให้นิวตรอนฟลักซ์เฉลี่ยประมาณ 1015นิวตรอน/ ตร.ซม.-วินาที และมีฟลักซ์สูงสุดมากกว่า 40 เท่าของฟลักซ์เฉลี่ย [พลังงาน]

การแผ, งส, จากน, วตรอน, งกฤษ, neutron, radiation, เป, การแผ, งส, โดยการแตกต, วเป, นไอออน, ชน, ดหน, งซ, งประกอบด, วยกล, มน, วตรอนอ, สระท, เป, นผลมาจากปฏ, ยาน, วเคล, ยร, ชช, นหร, อปฏ, ยาน, วเคล, ยร, วช, ปฏ, ยาด, งกล, าวจะทำให, การปลดปล, อยน, วตรอนอ, สระจากอะตอม,. karaephrngsicakniwtrxn xngkvs Neutron radiation epn karaephrngsiodykaraetktwepnixxxn chnidhnungsungprakxbdwyklumniwtrxnxisrathiepnphlmacakptikiriyaniwekhliyrfichchnhruxptikiriyaniwekhliyrfiwchn ptikiriyadngklawcathaihmikarpldplxyniwtrxnxisracakxatxm niwtrxnxisraehlanicathaptikiriyakbniwekhliyskhxngxatxmxun ephuxkxtwepnixosothpihmsungxacepnphlihmikarphlitrngsi enuxha 1 aehlngthima 1 1 rngsiniwtrxncakfichchn 1 2 niwtrxncakrngsikhxsmik 2 praoychn 3 xangxingaehlngthima aekikhbthkhwamhlk aehlngniwtrxnduephimetim hmwdhmu aehlngniwtrxnniwtrxnxacthukplxyxxkmacakniwekhliyrfiwchnhruxniwekhliyrfichchn hruxcak ptikiriyaniwekhliyr thiaetktangknid echncak karslayihkmmntrngsi hruxptikiriyacakkarptismphnthknkhxngxnuphakh echncakrngsikhxsmikhruxekhruxngerngxnuphakh aehlngniwtrxnkhnadihyepnkhxnghayakaelamkcacakdxyuinxupkrnkhnadihyechn ekhruxngptikrnniwekhliyr hrux ekhruxngerngxnuphakh echnaehlngthimakhxngniwtrxnaebb Spallation 1 karaephrngsicakniwtrxnthukkhnphbepnphlmacakkarsngektniwekhliyskhxngebrileliymthithaptikiriyakbxnuphakhaexlfa cungepnkaraeplngipepnniwekhliyskhxngkharbxnaelapldplxyniwtrxnxxkmahnungtw Be a n C hrux Be a n C karrwmknkhxngtwplxyxnuphakhaexlfaaelaixosothpthimikhwamnacaepnkhxngptikiriyaniwekhliyr a n khnadihyyngkhngepnaehlngthimakhxngniwtrxnthiphbbxy rngsiniwtrxncakfichchn aekikh niwtrxninekhruxngptikrnniwekhliyrcamikaraebngpraephthodythwipepnniwtrxncha niwtrxnkhwamrxn hruxepn niwtrxnerw khunxyukbphlngngankhxngmn niwtrxnkhwamrxncamikarkracayphlngngan karkracayaebb Maxwell Boltzmann thikhlaykbknkasthixyuinphawasmdulthangxunhphlsastr aetcathukcbyudidngayodyniwekhliyskhxngxatxmaelaepnwithikarebuxngtnthixngkhprakxbthnghlaycamikarklayphnthkhxngxatxmephuxihbrrluptikiriyalukosfiwchnthimiprasiththiphaph niwtrxnthithukphlitinrahwangfichchncatxngthukcbyudodyniwekhliysthithafichchnid caknnkthakaraeykniwekhliysxxk aelwkpldplxyniwtrxnmakkhunipxik inkarxxkaebbekhruxngptikrnaebbfichchnswnmak echuxephlingniwekhliyrcaimthukklnihdiphxthicasamarththicadudsbniwtrxnerwthicayudyawptikiriyalukosfichchnihdaeninkartxip aelaenuxngcakmikarldlngkhxng phakhtdkhwang khxngniwtrxnphlngngansung dngnn twhnwngniwtrxn catxngthuknamaichephuxchalxkhwamerwkhxngniwtrxnerwlngipthikhwamerwkhxngniwtrxnkhwamrxnephuxthicaepidihmikardudsumthiephiyngphx twhnwngniwtrxnthiphbbxyidaek aekrifth naeba nathwip aelanahnk ekhruxngptikrnimkitw ekhruxngptikrnniwekhliyraebbniwtrxnerw aela xawuthniwekhliyr thnghmdcatxngphungphaniwtrxnerw sungcaepntxngmikarepliynaeplngbangxyanginkarxxkaebbaelainechuxephlingniwekhliyrthiich xngkhprakxbkhxngsar ebrileliym caepnpraoychnxyangyingenuxngcakkhwamsamarthkhxngmninkarthahnathiepntwebiyngebnniwtrxnhruxelns mnyxmihmikarichwsdufisislinprimanthinxykwaaelaepnebuxngtnkhxngkarphthnathangethkhnikhthinaipsu karsrang raebidniwtrxn niwtrxncakrngsikhxsmik aekikh niwtrxncakrngsikhxsmik xngkvs Cosmogenic neutrons epnniwtrxnthiphlitcakrngsikhxsmikinchnbrryakashruxphunphiwkhxngolk aelaphwkthithukphlitinekhruxngerngxnuphakhsamarthmiphlngnganthisungxyangminysakhykwaphwkthiphbinekhruxngptikrn swnihykhxngphwkmncakratunniwekhliyskxnthicathungphundin imkitwcathaptikiriyakbniwekhliysinxakas ptikiriyakb inotrecn 14 naipsukarkxtwkhxng kharbxn 14 thiichknxyangaephrhlayin karhaxayucakrngsikharbxnpraoychn aekikhxangxing aekikh tnkaenidniwtrxnaebbspxlelchn epntnkaenidniwtrxnrunihm cdepnekhruxngphlitniwtrxnphlngngansungchnidhnung mihlkkarthangankhux emuxyingoprtrxnphlngngansung makkwa 100 lan xielktrxnowlt ekhaipinepasungepnthatuhnk echn aethnthalm thngsetn aelayuereniym cathaihekidptikiriyaniwekhliyraebbspxlelchn aelamikarpldplxyniwtrxn phrxmthngxnuphakhchnidxun echnoprtrxn aelaekidptikiriyatxenuxnghlnknip cascade tnkaenidniwtrxnchnidni ihniwtrxnphlngnganechliypra man 1 lanxielktrxnowlt canwnpraman 10 30 ethakhxngkaryingoprtrxn 1 xnuphakh niwtrxnthiphlitkhunni samarthnaipichpraoychninnganwicydantang tnkaenidniwtrxnaebb spxlelchnekhruxngaerkmichuxwa KENStngxyuthisthabn KEK National Laboratory for High Energy Physics praethsyipun erimichngankhrngaerkinpi ph s 2523 sahrbtnkaenidniwtrxnaebbspxlelchn thiihniwtrxnekhmkhnsungsudinpccubnkhux ISIS khxng Rutherford Appleton Laboratory praethsxngkvs erimedinekhruxnginpi ph s 2527 aelaihniwtrxnflksechliypraman 1015niwtrxn tr sm winathi aelamiflkssungsudmakkwa 40 ethakhxngflksechliy phlngngan ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karaephrngsicakniwtrxn amp oldid 6384444, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม